เอกสารตติยภูมิ[เทคโนโลยีการศึกษา]
โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์[เทคโนโลยีการศึกษา]
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ[เทคโนโลยีการศึกษา]
แหล่งสารสนเทศ[เทคโนโลยีการศึกษา]
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ[เทคโนโลยีการศึกษา]
แหล่งข้อมูลที่กำหนด, Example:ในการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือ บรรณารักษ์จะต้องทราบว่า จะสามารถหาข้อมูลได้จากแหล่งที่ได้มีการกำหนดร่วมกันซึ่งเป็นหลักการของการลงรายการ ซึ่งหมายถึง แหล่งสำคัญของข้อมูล สำหรับเอกสารตีพิมพ์นั้น แหล่งสำคัญของข้อมูล คือ หน้าปกใน ถ้าไม่มีหน้าปกใน ให้ใช้แหล่งในตัวเล่มซึ่งใช้แทนหน้าปกใน สำหรับเอกสารตีพิมพ์ออกมาโดยไม่มีหน้าปกใน หรือไม่มีหน้าปกในที่ให้รายละเอียดได้ทั้งหมด ให้ใช้ส่วนอื่นของเล่มที่ให้ข้อมูลสมบูรณ์ที่สุด ไม่ว่าส่วนนั้นจะเป็นหน้าปก (ไม่่รวมใบหุ้มปกที่แยกต่างหากออกจากตัวเล่ม) หน้าชื่อเรื่อง (half title page) ชื่อนำเนื้อเรื่อง (caption) การแจ้งตอนท้ายเล่มซึ่งให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ ปีที่พิมพ์ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือรายอย่างและอาจจะรวมถึงรายละเอียดอื่นๆ ด้วย ชื่อเรื่องประจำหน้า (running titole) หรือส่วนอื่น ถ้าไม่มีส่วนใดในตัวเล่มให้ข้อมูลที่จะสามารถใช้เป็นหลักในการลงรายการ ให้ใช้ข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งอื่นที่มี ถ้าข้อมูลที่ควรจะปรากฏอยู่ในหน้าปกในไปปรากฏอยู่ในหน้าติดกัน (facing pages) หรือในหน้าถัดๆ ไป จะซ้ำักันหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าหน้าเหล่านี้เป็นหน้าปกใน ให้ใช้การแจ้งตอนท้ายเล่ม (colophon)เป็นแหล่งสำคัญของข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ทรัพยากรสารสนเทศ, Example:<p>ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้ในการบันทึกสารสนเทศและความรู้ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) 2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) และ 3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) <p>1. ทรัพยากรสารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตเป็นสิ่งพิมพ์ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น ตำรา หนังสืออ้างอิง รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ นวนิยายและเรื่องสั้น นิตยสารและวารสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น <p>2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Non-printed materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่นำเสนอความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตาเป็นหลัก ซึ่งไม่ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุย่อส่วน <p>3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic materials) หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการอ่านหรือฟัง โดยมีชุดคำสั่งระบบจัดการฐานข้อมูล ทำหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดี-รอม และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ, Example:<p>แหล่งข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ <p>แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source หรือ Primary data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่เก็บจากต้นแหล่งแท้ครั้งแรก ซึ่งอาจจะได้มาจากหลากหลายวิธี เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การทดลองในห้องทดลอง หรือการจดบันทึก <p>ข้อมูลปฐมภูมิ ยังรวมถึง งานต้นฉบับ ผลงานศิลปะ สถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้าง การแกะสลัก การเขียนบันทึกตัวหนังสือ รูปภาพ เรื่องราวลงบนวัตถุต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณ <p>ข้อมูลปฐมภูมิที่สำคัญ คือ ผลงานวิจัยต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเอกสารประเภทสิทธิบัตร รายงานประชุม เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เอกสารตติยภูมิ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ซอฟต์แวร์เปิดเผยรหัส[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
แหล่งพลังงานทดแทน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทรัพยากรชีวภาพ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เชื้อพันธุ์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เชื้อพันธุ์พืช[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เชื้อพันธุ์สัตว์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ยูอาร์แอล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
แหล่งกำเนิดแสง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ก๊าซธรรมชาติที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์, Example:ก๊าซธรรมชาติที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์ปนอยู่ในปริมาณมากเกินเกณฑ์มาตรฐานการซื้อขาย ซึ่งจะให้มีได้ประมาณ 0.25 กรัม/100 ลูกบาศก์ฟุต หรือ 4 ppm sour gas จะมีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่าและมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเป็นอันตรายต่ออุปกรณ์การเจาะและการผลิต โดยทั่วไปจะใช้สาร alkanolamine เพื่อกำจัดธาตุกำมะถันก่อนที่จะนำก๊าซมาใช้หรือก่อนการขนส่ง [ปิโตรเลี่ยม]
น้ำมันดิบที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์, Example:น้ำมันดิบที่มีไฮโดรเจนซัลไฟล์ปนอยู่ ซึ่งปริมาณขั้นต่ำของกำมะถันที่อนุญาตให้มีได้ในน้ำมัน จะแตกต่างกันไปแล้วแต่โรงกลั่นและกฎระเบียบของแต่ละประเทศ แต่โดยทั่วไปมากกว่า 1% โดยน้ำหนัก[ปิโตรเลี่ยม]
หินต้นกำเนิดปิโตรเลียม, Example:หินชั้นหรือหินตะกอน (Sedimentary rock) ที่มีสารอินทรีย์มาก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาพทางธรณีวิทยา ภายใต้ความร้อนและความกดดัน สารอินทรีย์เหล่านี้ก็จะเปลี่ยนแปลงและสลายตัวให้ปิโตรเลียม หินต้นกำเนิดปิโตรเลียมจะต้องมีปริมาณของสารอินทรีย์อย่างน้อย 0.5% และโดยทั่วไปควรจะมากกว่า 1.5% สารอินทรีย์ชนิด Type II จะให้น้ำมันดิบ (crude oil) Type III จะให้ก๊าซ ปริมาณของไฮโดรเจนในสารอินทรีย์ควรจะมากกว่า 7% โดยน้ำหนัก สำหรับการเกิดน้ำมัน หินดินดานสีเทาดำหรือดำ และพวก reef limestone ส่วนใหญ่จะเป็นหินต้นกำเนิดปิโตรเลียมที่ดี[ปิโตรเลี่ยม]
ทรัพยากรที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ , ทรัพยากรที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้, Example:ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสามารถเกิดขึ้นมาใหม่ได้ด้วยตัวเองโดยธรรมชาติ เช่น ปลา ป่าไม้ เป็นต้น หรืออาจเกิดขึ้นและแพร่ขยายให้ได้ผลิตผลมากขึ้นโดยการกระทำของมนุษย์[ปิโตรเลี่ยม]
ทรัพยากรการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
พลังงาน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทางเลือกแหล่งเงินทุน[เศรษฐศาสตร์]
แหล่งทรัพยากรของงบประมาณ[เศรษฐศาสตร์]
ทรัพยากรในประเทศ[เศรษฐศาสตร์]
การระดมทรัพยากรในประเทศ[เศรษฐศาสตร์]
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ[เศรษฐศาสตร์]
การเคลื่อนย้ายทรัพยากร[เศรษฐศาสตร์]
การใช้ประโยชน์ทรัพยากร[เศรษฐศาสตร์]
การอนุรักษ์ทรัพยากรทะเล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน้ำ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การอนุรักษ์แร่[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เช่น วัสดุกัมมันตรังสีไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะหรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจาย หกเปรอะเปื้อน ซึมรั่ว ออกจากภาชนะที่บรรจุได้[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชัน, เครื่องผลิตนิวตรอนชนิดหนึ่ง โดยการเร่งโปรตอนพลังงานสูงกว่า 100 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เข้าชนเป้าซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น แทนทาลัม ทังสเตน หรือ ยูเรเนียม ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่มีการปลดปล่อยนิวตรอนพลังงานเฉลี่ย 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ต้นกำเนิดนิวตรอนแบบสปอลเลชันเครื่องแรกมีชื่อว่า KENS ตั้งอยู่ที่สถาบัน KEK (Ko Enerugi Kenkyujo) ประเทศญี่ปุ่น เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสี, แหล่งกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ, Example: [นิวเคลียร์]
การพัฒนาบุคลากร[การจัดการความรู้]
การเฝ้าสังเกตต้นกำเนิดรังสี, การตรวจติดตามกัมมันตภาพที่ปลดปล่อยจากวัสดุกัมมันตรังสีสู่สิ่งแวดล้อม หรืออัตราปริมาณรังสีจากต้นกำเนิดรังสีในสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์]
วัสดุต้นกำลัง, วัสดุใด ๆ ที่มียูเรเนียม ทอเรียม หรือทั้งสองอย่างรวมกัน เป็นองค์ประกอบ ร้อยละ 0.05 ขึ้นไป ยกเว้นวัสดุนิวเคลียร์พิเศษ, Example: [นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งปิดผนึกอย่างถาวรในปลอกหุ้ม หรือห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตภาพรังสีในสภาวะการใช้งานปกติ รวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้[นิวเคลียร์]
ต้นกำเนิดรังสี, วัสดุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถแผ่รังสีชนิดก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ เช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ[นิวเคลียร์]
ทรัพยากร, Example:โปรแกรม ข้อมูล หรืออุปกรณ์ที่เราใช้ได้[คอมพิวเตอร์]
รหัสต้นฉบับ, Example:คำสั่งและโปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาระดับสูงเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องสำหรับใช้งาน[คอมพิวเตอร์]
ต้นกำเนิดรังสีตามธรรมชาติ, ต้นกำเนิดรังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงต้นกำเนิดรังสีจากพื้นโลก และรังสีคอสมิก <br>(ดู primordial radionuclide ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์]