แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
355 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ยุติธรรม*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ยุติธรรม, -ยุติธรรม-
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม
clerk to the juristic 6
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(adv)fairlySee Also:impartially, honestly, neutrallySyn.เป็นธรรม, เป็นกลางAnt.อยุติธรรม, อคติ, เข้าข้าง, ลำเอียงExample:เจ้าหน้าที่ควบคุมการเลือกตั้งให้เป็นไปอย่างยุติธรรม ไม่มีการซื้อเสียงThai Definition:อย่างเที่ยงธรรม, อย่างชอบธรรม, อย่างชอบด้วยเหตุผล
(adj)neutralSee Also:impartial, fair, unprejudiced, unbiased, equitableSyn.เป็นธรรม, เป็นกลางAnt.อยุติธรรม, อคติ, เข้าข้าง, ลำเอียงExample:ทุกฝ่ายพอใจกับคำตัดสินที่ยุติธรรมของผู้พิพากษาThai Definition:ที่มีความเที่ยงธรรม, ที่ชอบธรรม, ที่ชอบด้วยเหตุผล
(adj)unjustSee Also:unfair, partialSyn.ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงตรง, ไม่เป็นกลางAnt.ยุติธรรมExample:เจ้านายของเธอเป็นคนอยุติธรรมมากๆ ใครจะยอมเคารพนับถือ
(n)injusticeSee Also:partialitySyn.ความอยุติธรรมAnt.ยุติธรรมExample:เขามีอยุติธรรมในตัวเองอย่างมากThai Definition:ความไม่เป็นธรรม, ความไม่เป็นกลาง
(n)Court of justiceSyn.ศาลUnit:ศาล
(n)Court of JusticeExample:เจ้าพนักงานจะจับกุมพระมหากษัตริย์มิได้ เพราะศาลยุติธรรมจะไม่รับฟ้องUnit:ศาลThai Definition:องค์การฝ่ายตุลาการที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมNotes:(กฎหมาย)
(n)justiceSee Also:fairnessSyn.ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้วยเหตุผล, ความถูกต้องAnt.ความอยุติธรรมExample:สัจจะและความยุติธรรมเป็นสิ่งมีค่าสูงสุดที่ชาวอเมริกันทุกคนแสวงหา
(n)injusticeSee Also:iniquity, partiality, unfairnessExample:นักศึกษาเป็นคนหนุ่มคนสาวมีความคิดเร่าร้อน รักความเป็นธรรม และเกลียดชังความอยุติธรรม
(adv)fairlySee Also:justly, reasonablySyn.โดยยุติธรรมExample:รัฐบาลสร้างตลาดของสินค้าเกษตรเพื่อให้เกิดการกระจายรายได้ลงไปสู่เกษตรกรอย่างยุติธรรม
(n)Ministry of JusticeUnit:กระทรวง
(n)court of justiceSyn.ศาลยุติธรรมExample:ผมเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม และศาลสถิตยุติธรรมThai Definition:สถานที่ที่พิจารณาพิพากษาอรรถคดีให้ความเที่ยงธรรมแก่คู่ความ
(n)process of judgementSee Also:process of equityExample:คุณภาพงานสอบสวนถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการยุติธรรมขั้นต้นThai Definition:วิธีดำเนินการให้ความคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และให้ความเป็นธรรมในทางกฎหมายแก่บุคคลโดยบุคลากรและองค์กรหรือสถาบันต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่บริหารงานยุติธรรม
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ขั้นตอนและวิธีดำเนินการในการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่ออำนวยความยุติธรรม คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล.
น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรศาลยุติธรรม และกำหนดอำนาจศาล ตลอดจนเขตอำนาจของศาลยุติธรรมต่าง ๆ.
น. ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้วยเหตุผล, เช่น ศาลย่อมทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศาลยุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี.
ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, ชอบด้วยเหตุผล, เช่น ราคายุติธรรม กรรมการตัดสินอย่างยุติธรรม.
น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร.
น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น.
น. เป็นคำรวมที่ใช้เรียกศาลยุติธรรมทั้งปวง.
แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็นกระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์).
ก. ฟ้องเป็นคดีความที่ศาลยุติธรรม.
น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมผู้เป็นหัวหน้าในศาลหัวเมืองต่าง ๆ, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล.
น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมตำแหน่งปลัดนั่งศาลหรือราชปลัดนั่งศาลต่าง ๆ ในราชธานี อาทิ กรมกลาโหมมีขุนประชาเสพราชปลัดนั่งศาลอาชญานอก กรมวังมีขุนอินอาญาปลัดนั่งศาลอาชญาวัง, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล เช่น กฎให้แก่ขุนโรงขุนศาลผู้พิจารณาเนื้อความทุกหมู่ทุกกรมในกรุงนอกกรุงจงทั่ว (สามดวง), ขุนสาน หรือ ขุนสาร ก็ว่า.
น. บุคคลซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมแต่งตั้งโดยเฉพาะตัว หรือโดยตำแหน่งหน้าที่ ให้ปฏิบัติหน้าที่พิทักษ์ทรัพย์สิน และจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย.
น. ส่วนราชการที่หน่วยงานย่อยหรือหน่วยงานอื่นสังกัดอยู่ เช่น กระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าสังกัดของกรมราชทัณฑ์ สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นเจ้าสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
ก. เชื่อโดยไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เขาเชื่อมั่นในความยุติธรรมของศาล.
บ. คำสำหรับนำหน้านามที่เป็นผู้ถูกกระทำ เช่น รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม.
ชื่อศาลยุติธรรมสูงสุดของประเทศไทย ซึ่งเรียกว่า ศาลฎีกา
ว. เรียกผู้ที่หารายได้โดยรับจ้างเขียนคำร้อง กรอกเอกสารบางอย่าง เป็นต้น ตามศาลยุติธรรม ว่า พวกตีนโรงตีนศาล.
ว. ตั้งตรงไม่เอนเอียง, ยุติธรรม.
ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม
น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร เช่น ธรรมนูญศาลทหาร พระธรรมนูญศาลยุติธรรม.
(ทำมา-) น. ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
(ทำมา-) น. ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม, ความระลึกตามธรรม.
(ทำมา-) ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม.
น. ผู้ได้รับประกาศนียบัตรทางวิชากฎหมายของโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม, ผู้สอบได้ตามหลักสูตรของสำนักศึกษาอบรมกฎหมายของเนติบัณฑิตยสภา.
น. การที่ฝูงชนกลุ้มรุมทำร้าย เป็นการลงโทษบุคคลที่ตนเข้าใจหรือนึกว่ามีความผิด โดยไม่ดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม.
น. ยุติธรรม.
น. เรียกผู้ชายที่มีความยุติธรรม ความซื่อสัตย์ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และมีความรับผิดชอบ เป็นต้น.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีผู้พิพากษาเป็นองค์คณะคนเดียว และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอันจำกัดกว่าศาลชั้นต้นอื่น.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่ตั้งประจำในแต่ละจังหวัดหรือในบางอำเภอ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ.
น. ศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด คำสั่งและคำพิพากษาของศาลฎีกาย่อมเป็นที่สุด.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาอื่น รวมทั้งกิจการเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศบางเรื่อง.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลแพ่งมีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลแพ่ง ศาลแพ่งอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับภาษีอากร.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในคดีอาญาที่มีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดและคดีครอบครัว.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย.
น. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ.
น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลอาญา มีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานครนอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลอาญา ศาลอาญาอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้.
น. ศาลยุติธรรมชั้นสูงถัดจากศาลฎีกาลงมา.
น.เป็นคำย่อ ใช้เรียกสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็กและเยาวชน เช่น สืบเสาะเรื่องราวบุคคล และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระทำความผิด ควบคุมและฝึกอบรมเด็กและเยาวชน .
น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายพลเรือน รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองฝ่ายเหนือ.
น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาสนาบดีฝ่ายทหาร ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายทหาร รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองปักษ์ใต้.
น. การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง.
ภาวะ, ความมีความเป็น, เช่น สิ่งที่มีคุณค่าในสังคมอย่างหนึ่งคือ ความยุติธรรม, อย่าง, อัน, เช่น ในกระเป๋ามีของกี่สิ่ง.
(อะทำ) ว. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม.
(-ทำ, -ทัน, -ทันมิก, -ทันมึก) ว. ชั่ว, ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
สิทธิตามกระบวนการยุติธรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ยุติธรรมแบบกวี[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม (ไทย)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมเพื่อสนองตอบ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมในการลงโทษ, การลงโทษเพื่อความยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สิทธิตามกระบวนการยุติธรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ศาลยุติธรรมสูงสุด (อังกฤษ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมทางสังคม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. อธิบดีกรมอัยการ (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน)๓. ที่ปรึกษากฎหมายแห่งมลรัฐ (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. อัยการแผ่นดิน (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การบริหารงานยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมในการจัดสรร[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมเพื่อสนองตอบ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมในการลงโทษ, การลงโทษเพื่อความยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมทางประโยชน์นิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความยุติธรรม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การทำให้เสื่อมเสียความยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมแห่งประชาคมยุโรป (ศาลประชาคมยุโรป)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมสูงสุดฝรั่งเศส[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมสูงสุดฝรั่งเศส[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมในการจัดสรร[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การไม่ให้ความยุติธรรม, การปฏิเสธความยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ให้เป็นไปตามความยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
นอกกระบวนการยุติธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมแห่งประชาคมยุโรป (ศาลประชาคมยุโรป)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมแห่งประชาคมยุโรป (ศาลประชาคมยุโรป)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [ ดู world court ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมตามธรรมชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยุติธรรมทางประโยชน์นิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลโลก, ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [ ดู International Court of Justice ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998)[TU Subject Heading]
บุคลากรทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา[TU Subject Heading]
การบริหารงานยุติธรรมทางอาญา[TU Subject Heading]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ[TU Subject Heading]
ดะโต๊ะยุติธรรม[TU Subject Heading]
ความยุติธรรม[TU Subject Heading]
การบริหารงานยุติธรรม[TU Subject Heading]
การบริหารงานยุติธรรมด้านเยาวชน[TU Subject Heading]
ความยุติธรรมในองค์การ[TU Subject Heading]
การชดใช้ค่าเสียหาย ((งานยุติธรรมทางอาญา)[TU Subject Heading]
การบริหารงานยุติธรรมเชิงสมานฉันท์[TU Subject Heading]
การลงโทษเพื่อความยุติธรรม[TU Subject Heading]
อาสาสมัครในงานบริหารงานยุติธรรมทางอาญา[TU Subject Heading]
ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา[การทูต]
การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง[การทูต]
บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations)[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์[การทูต]
องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[การทูต]
องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา[การทูต]
การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946[การทูต]
ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง[การทูต]
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ[การทูต]
การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย[การทูต]
วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น[การทูต]
งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก[การทูต]
ราคาตลาดยุติธรรม[การบัญชี]
ราคายุติธรรม[การบัญชี]
มูลค่ายุติธรรม[การบัญชี]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
อาบูบอกว่า มันไม่ยุติธรรมAladdin (1992)
ยุติธรรมดีนี่ เอาล่ะ พร 3 ข้อของข้า ข้าต้องการให้มันเยี่ยมAladdin (1992)
โอ้ กฏหมายโง่ๆ นั่น นี่มันไม่ยุติธรรมเลย ฉันรักเธอAladdin (1992)
"ยุติธรรม" หมายถึงคุณไม่กล้า พอจะจู่โจมเขาWuthering Heights (1992)
คงไม่ยุติธรรมถ้าจะยกภาระทั้งหมดให้เธอThe Cement Garden (1993)
คำถามยุติธรรมดีCool Runnings (1993)
ด้วยสิทธิและความยุติธรรม แก่จาไมก้าและ เฮล เซลาสซี่Cool Runnings (1993)
ในนามของความยุติธรรมIn the Name of the Father (1993)
มันไม่ยุติธรรม กระโปรงจะครอบคลุมรอยแตกของพวกเขาIn the Name of the Father (1993)
ก็ได้ ถ้าคุณคิดว่าผมไม่ยุติธรรม เราก็จ่ายเงินค่ากำจัดเห็บทั้งคู่ก็แล้วกันThe Joy Luck Club (1993)
ความยุติธรรม...Schindler's List (1993)
มันจะไม่เกิดขึ้น ฉันรู้ว่ามันไม่ยุติธรรมสำหรับนายJunior (1994)
มันไม่ยุติธรรมเลยJunior (1994)
สิ่งที่คุณทำมันไม่ยุติธรรม ไม่ยุติธรรมอย่างมากเลยJunior (1994)
ยุติธรรมเพียงพอ ตอนนี้ผมขับรถ fuckin จริง 'อย่างรวดเร็วเพื่อให้ทันPulp Fiction (1994)
"'ธรรมชาติไม่ยุติธรรมกับเจ้า'Wild Reeds (1994)
ยุติธรรมเพียงพอThe Shawshank Redemption (1994)
ใช่ ฉันคิดว่ามันจะยุติธรรมที่จะบอกว่า ...The Shawshank Redemption (1994)
ผมเเค่อยากจะเห็นความยุติธรรมเกิดขึ้นRebecca (1940)
ที่ฟังดูยุติธรรม ทุกคนเห็นพ้องกัน?12 Angry Men (1957)
คุณทุกคนมาที่นี่ด้วยหัวใจของคุณ bleedin 'เกี่ยวกับเด็กสลัมและความอยุติธรรม12 Angry Men (1957)
การป้องกันที่เรามีความยุติธรรม ความภาคภูมิใจในประเทศนี้สำหรับ นิ้วใช่มั้ย?Help! (1965)
ถ้าโลกนี้ยังมีความยุติธรรม สัปเหร่อจะได้เงินนั่นไปThe Good, the Bad and the Ugly (1966)
ยุติธรรมบ้าเเล้วBeneath the Planet of the Apes (1970)
แล้วผมพูดกับภรรยาของฉัน "สำหรับความยุติธรรมที่เราจะต้องไป Don Corleone".The Godfather (1972)
"Don Corleone ให้ฉันยุติธรรม".The Godfather (1972)
ฉันขอให้คุณเพื่อความยุติธรรมThe Godfather (1972)
ที่ไม่ยุติธรรม ลูกสาวของคุณยังมีชีวิตอยู่The Godfather (1972)
แต่จนถึงวันที่ ยอมรับความยุติธรรมนี้เป็นของขวัญในวันแต่งงานของลูกสาวของฉันThe Godfather (1972)
ไม่ยุติธรรมนี่ นายอยู่ห่างเป็นไมล์Blazing Saddles (1974)
ที่ที่ผู้คนร่ำไห้หาความยุติธรรมBlazing Saddles (1974)
ทางนี้ที่เรา'จะได้ยุติธรรม, ไม่ สิ่งที่สร้างพื้นฐานเราดูSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
เราตัดสินใจว่า เราควรจะยุติธรรมกับคุณ และด้วยเพราะความสงสัยของเรา เรายอมให้คุณนำหลักฐานมาแสดงกับเราOh, God! (1977)
เริ่มต้นอีกครั้ง ไม่มีการผลักดัน เกมที่ยุติธรรมนะI Spit on Your Grave (1978)
กัปตัน มคแอฟี ในขบวน จากศาลไปยังห้องโถงแห่ง ความยุติธรรมMad Max (1979)
เพียงแค่คุณและผม เราจะแก้ไขนี้ ยุติธรรมเพียงพอไหมFirst Blood (1982)
เราเชื่อมั่นว่าความยุติธรรมจะต้องเกิดขึ้นGandhi (1982)
มันใช้เวลา แต่ต้องทำอย่างยุติธรรมGandhi (1982)
เราไม่ต้องการสร้างความไม่ยุติธรรม เพียงเพราะคานธี ละเมิดกฎหมายของเราGandhi (1982)
มีกฎหมายที่ไม่ยุติธรรม พอๆ กับมีคนที่ไม่ยุติธรรมGandhi (1982)
ความเจ็บปวดของเรา จะทำให้เขาเห็น ความอยุติธรรมของตัวเองGandhi (1982)
เราจะปฏิบัติต่อชายที่ฝ่าฝืน กฎหมายอยุติธรรม โดยไม่ต่อสู้ แต่ไม่ยอมรับอย่างไรGandhi (1982)
ที่ใดที่มีความอยุติธรรม ผมเชื่อว่าเราต้องต่อสู้Gandhi (1982)
เราไม่สามารถ รับความอยุติธรรม จากฮิตเลอร์หรือใครได้Gandhi (1982)
เราต้องทำให้ความอยุติธรรม เป็นที่ประจักษ์Gandhi (1982)
ฉันคิดว่ามันไม่ยุติธรรมบางคนโทรหาฉัน...Idemo dalje (1982)
การฆ่าตัวตายของภรรยาผม มันทำให้ผมคิดได้ และทำให้ผมรู้สึกถึงความไม่ยุติธรรมClue (1985)
ข้าว่ามันก็ยุติธรรมดีนี่ และข้าคิดว่ามันถูกต้องแล้วReturn to Oz (1985)
ไม่ยุติธรรม ก็พวกเขามีดาบ จะให้เราทำไงได้?Spies Like Us (1985)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[ayuttitham] (n) EN: injustice ; partiality  FR: injustice [ f ] ; partialité [ f ]
[ayuttitham] (adj) EN: unjust ; unfair ; partial ; prejudicial  FR: injuste ; partial
[dōi yutitham] (adv) EN: fairly
[hai khwām yuttitham] (v, exp) EN: administer justice
[kān khaengkhan thī yuttitham] (n, exp) EN: fair competition
[kān khaengkhan yāng yuttitham] (n, exp) EN: fair competition ; heavy competition
[kān khatkhwāng krabūankān yutitham] (n, exp) EN: obstruction of justice  FR: obstruction à la justice [ f ]
[khwām ayuttitham] (n) EN: injustice
[khwām mai yutitham] (n, exp) EN: inequity ; unfairness
[khwām yuttitham] (n) EN: justice ; fairness  FR: justice [ f ]
[khwām yuttitham thāng sangkhom] (n, exp) EN: social justice  FR: justice sociale [ f ]
[kotmāi mai yuttitham] (n, exp) FR: loi injuste [ f ]
[krabūankān yutitham] (n, exp) EN: judicial administration
[Krasūang Yuttitham] (org) EN: Ministry of Justice  FR: ministère de la Justice [ m ]
[mai yuttitham] (adj) EN: unfair ; injust ; inequitable ; injustified  FR: inéquitable ; injuste
[pheūa khwām yuttitham] (xp) EN: for the sake of justice
[phrathammanūn sān yuttitham] (n, exp) EN: law on court oranization ; basic law on the judiciary
[rākhā talāt yutitham] (n, exp) EN: fair market price ; fair market value
[sān yuttitham] (n, exp) EN: Court of justice ; law court  FR: cour de justice [ f ]
[Sān Yuttitham Haeng Yurōp] (org) EN: European Court of Justice (ECJ)  FR: Cour de justice européenne [ f ] ; Cour de justice de l'Union européenne (CJUE) [ f ]
[yāng yutitham] (adj) EN: fairly
[yutitham] (n) EN: justice ; fair play ; fairness ; impartiality  FR: fair-play [ m ]
[yutitham] (adj) EN: just ; fair ; impartial ; neutral  FR: impartial
[yutitham] (adv) EN: fairly ; impartially ; honestly ; neutrally
[yuttitham] (n) EN: justice ; fair play ; fairness ; impartiality  FR: justice [ f ] ; fair-play [ m ] ; impartialité [ f ] ; équité [ f ]
[yuttitham] (adj) EN: just ; fair ; impartial ; neutral ; unprejudiced ; unbiased; equitable  FR: juste ; impartial ; équitable
[yuttitham] (adv) EN: fairly ; impartially ; honestly ; neutrally
Longdo Approved EN-TH
(org)สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science)
(n)รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม (ของสหรัฐฯ)
(n, name, org, uniq)ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html
(n)การบริหารงานยุติธรรม, กระบวนการยุติธรรม เช่น It aims to render accessible, fair, speedy and cost-effective administration of justice in the interest of a safer and more secure country.
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(phrv)ทำให้จ่ายเงินอย่างไม่ยุติธรรมหรือโดนโกง (คำไม่เป็นทางการ)
(n)คุณสมบัติของคนที่น่าเคารพอย่างมาก (ฉลาดรอบคอบ, ยุติธรรม, การควบคุมอารมณ์, ความอดทน)
(adj)ยุติธรรมSyn.fair
(phrv)ปฏิบัติต่อ (บางคน) อย่างไม่ยุติธรรมSyn.discriminate between
(phrv)ทำให้พ่ายแพ้ (โดยวิธีที่ไม่ยุติธรรม)
(phrv)ปฏิบัติกับ...อย่างยุติธรรมSee Also:ยุติธรรมกับ
(idm)ยุติธรรม (คำไม่เป็นทางการ)
(adj)ยุติธรรมSee Also:เที่ยงตรง, ถูกต้องSyn.fair, impartial, just
(adv)อย่างยุติธรรมSee Also:อย่างเที่ยงธรรม, ถูกต้องตามกฎ
(adj)คดโกง (ทางกีฬา)See Also:ไม่สะอาด, ไม่ยุติธรรม
(n)การให้และรับอย่างยุติธรรม (คำไม่เป็นทางการ)See Also:การให้และรับอย่างสมยอมทั้งสองฝ่ายSyn.compromise, balance
(idm)ได้รับการปฏิบัติไม่ดีSee Also:ได้รับการปฏิบัติที่ไม่ยุติธรรม
(idm)โปร่งใสSee Also:ยุติธรรมSyn.above-boardAnt.above-board
(idm)เล่นอย่างยุติธรรมSee Also:ทำตามกติกา
(idm)ทำด้วยความยุติธรรม
(idm)ครึ่งต่อครึ่งSee Also:เท่าเทียมกัน, ยุติธรรม
(idm)การแลกเปลี่ยนที่ยุติธรรม
(adv)อย่างยุติธรรมSee Also:อย่างกลางๆ, อย่างเสมอภาคSyn.equally, fairAnt.unequally, unfair
(adj)ซึ่งไม่เป็นธรรมSee Also:ซึ่งอยุติธรรมSyn.unfair, unjustAnt.fair
(adv)อย่างไม่เป็นธรรมSee Also:อย่างอยุติธรรมSyn.unfairly, unjustlyAnt.unprejudicedly, justly
(n)ความไม่เสมอภาคSee Also:ความอยุติธรรมSyn.injustice, unfairnessAnt.justice, equity, fairness
(adj)ซึ่งไม่ยุติธรรมSee Also:อยุติธรรมSyn.unfair, wicked, immoralAnt.pure, moral
(n)ความอยุติธรรมSee Also:ความชั่วช้าSyn.wickedness, injustice, wrong, immoralityAnt.kindness
(n)ความอยุติธรรมSyn.favoritism, prejudice, unfairnessAnt.right, fairness, just
(adj)เกี่ยวกับศาลยุติธรรม
(n)ระบบศาลยุติธรรม
(adj)ยุติธรรมSee Also:เที่ยงธรรม, ชอบธรรมSyn.fair, upright, impartialAnt.partial, unfair
(adv)อย่างเป็นธรรมSee Also:อย่างยุติธรรมSyn.fairly, honestlyAnt.unfairly
(n)ผู้ครอบครองที่ดิน (โดยไม่ยุติธรรม)See Also:ผู้ยึดที่ดิน
(adj)ไม่ลำเอียงSee Also:ยุติธรรมSyn.unbiased, impartial, fairAnt.partial, unfair
(adj)ลำเอียงSee Also:ไม่ยุติธรรมSyn.prejudiced, partialAnt.unbiased, impartial
(adj)ซึ่งไม่ยุติธรรมSee Also:ซึ่งมีอคติ, ซึ่งไม่เที่ยงธรรม
(phrv)บอกให้เลิก (อย่างไม่ยุติธรรม) (คำไม่เป็นทางการ)Syn.thrust out
(n)ความเที่ยงธรรมSee Also:ความถูกต้อง, ความยุติธรรมSyn.probity, uprightness
(adj)เป็นธรรมSee Also:ยุติธรรม, ชอบธรรมSyn.equitable, fair, just
Hope Dictionary
(แอสทรี'อะ) n. เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม (goddess of justice)
(แคน'เดอะ) n. ภาวะเปิดเผย, ภาวะตรงไปตรงมา, ความยุติธรรม, สีขาว, ความบริสุทธิ์, ความใจดีSyn.opennessAnt.bias
(แคน'เดอะ) n. ภาวะเปิดเผย, ภาวะตรงไปตรงมา, ความยุติธรรม, สีขาว, ความบริสุทธิ์, ความใจดีSyn.opennessAnt.bias
(คริค'คิท) n. จิ้งหรีด, กีฬาคริคเก็ต, การเล่นที่ยุติธรรม, ความประพฤติของสุภาพของสุภาพบุรุษ vi.
(ดิว) adj. เหมาะสม, สมควร, พอเพียง, พอควร, ครบกำหนด, ถึงกำหนด, ถูกต้อง, ถูกทำนองคลองธรรม, ตรง, หลีกเลี่ยงไม่ได้. n. สิทธิที่ควรได้รับ, หนี้, เงินที่พึงชำระ, ค่าธรรมเนียม, ความยุติธรรม. -adv. โดยตรง, แน่นอน. -Phr. (due to เนื่องจาก, เนื่องด้วย, เพราะ) .See Also:d
(อี'เวิน) adj. เรียบ, ราบ, สม่ำเสมอ, ซึ่งหารด้วยเลข2ได้ลงตัว, ได้สมดุล, ยุติธรรม, พอดี, ไม่ขาดไม่เกิน, เงียบสงบ -adv. อย่างราบเรียบ, ยังคง, ยิ่งกว่านั้น, แม้ว่า n. ตอนเย็น vt. ทำให้ราบ, ทำให้เรียบ, ทำให้สมดุล, ทำให้เท่ากัน. vt. กลายเป็นเท่ากัน. -Id. (be (get) even wi
(อี'เวินแฮน'ดิด) adj. ไม่เอนเอียง, ยุติธรรมSee Also:even-handedly adv. even-handedness n. ดูeven-handedSyn.fair
(แฟรฺ) adj. ยุติธรรม, ถูกต้อง, ซื่อสัตย์, ใหญ่พอสมควร, มาก, ปานกลาง, ดีพอใช้, สภาพ, สวยงาม, ไม่มีจุดด่างพร้อย, สะอาด, ชัดเจน, มีผิวพรรณดี, มีเสน่ห์.See Also:fairness n. -adv. สุภาพ, ยุติธรรม. -Phr. fair and square ซื่อสัตย์, ตรงไปตรงมา . -Phr. see fair ตัด
n. ตรงไปตรงมา, ยุติธรรม, ซื่อสัตย์
n. การตัดสินอย่างยุติธรรม, การเล่นอย่างยุติธรรม, พฤติกรรมที่เที่ยงธรรม
(แฟรฺ'ไม ดิด) adj. ซึ่งมีใจยุติธรรม, เที่ยงธรรม.See Also:fair-mindedness n.
(แฟร'ลี) adj. อย่างตรงไปตรงมา, อย่างยุติธรรม, อย่างปานกลาง, โดยความเป็นจริง, โดยสิ้นเชิงSyn.justly
(ฟอเรน'ซิค) adj. (เกี่ยวกับ) กฎหมาย, ศาลยุติธรรม, การเล่นสำนวนโวหารSee Also:forensics n. วิชาเกี่ยวกับศิลปะแห่งการพูดหรือเขียนเพื่อจูงใจคน forensicality n. forensicsally adv.
(เกม) { gamed, gaming, games } n. กีฬา, เกม, เนื้อสัตว์ที่ล่ามา, สิ่งที่ตามล่า -Phr. (play the game เล่นอย่างยุติธรรม, เล่นตามกติกา) . adj. เกี่ยวกับสัตว์ที่ล่า, อย่างนักกีฬา, กล้าได้กล้าเสีย, เต็มใจเล่น. vi. เล่นพนัน, พนัน, ขันต่อ. vt. พนันหมด, เสียพนัน คำศัพท์ย่อย
vt., vi., n. (การ) แบ่งเขตเลือกตั้งอย่างไม่ยุติธรรม, ทำตบตา
(อิมพาร์'เชิล) adj. ยุติธรรม, ไม่เอนเอียง, ไม่มีคติ.See Also:impartiality, impartialness n.Syn.just, fair
(อินอิควอล'ลิที) n. ความไม่เท่ากัน, ความไม่ยุติธรรม, ความลำเอียง, ความไม่เสมอภาค
(อินเอค'ควิทะเบิล) adj. ไม่เสมอภาค, ไม่ยุติธรรม.See Also:inequitableness n . inequitably adv.Syn.unfair, unjust
(อินเอค'ควิที) n. ความไม่เสมอภาค, ความไม่ยุติธรรมSyn.unfairness, injustice
(อินิค'ควิทัส) adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่ซื่อตรง, ไร้ศีลธรรม, ชั่วช้า.See Also:iniquitously adv. adv. iniquitousness n.Syn.unjust, immoral, wicked
(อนิค'ควิที) n. ความอยุติธรรม, การไร้ศีลธรรม, ความชั่วช้าSyn.wickedness
(อิน'จะรี) n. อันตราย, ภัย, ความเสียหาย, ความอยุติธรรมที่ได้รับ, การล่วงละเมิด, การก้าวร้าวSyn.harm, hurt
(อินจัส'ทิส) n. ความอยุติธรรม, ความไม่เป็นธรรม, การล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น, การกระทำที่ไม่ยุติธรรม, ความผิดSyn.grievance
(จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย
(จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้าSyn.legal, juridical
(จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลายSyn.legal, discerning
(จัสทฺ) adj. ยุติธรรม, เที่ยงธรรม, เป็นธรรม, พอดี, สมควร, พอเหมาะ, สมเหตุสมผล, ถูกต้องแม่นยำ, เล็กน้อย, เท่านั้น, จริง ๆ
(จัส'ทิส) n. ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, ความสมควร -Phr. (bring tojustice นำขึ้นศาล) -Phr. (dojustice to ให้ความยุติธรรมแก่)Syn.impartiality, equity
(จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ
(จัสทฺ'ลี) adv. อย่างยุติธรรม, อย่างซื่อสัตย์, โดยความเป็นธรรม, ตามข้อเท็จจริง, แม่นยำ, แน่ชัดSyn.honestly, fairly
(จัสทฺ'นิส) n. ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม, ความถูกต้องSyn.justice, righteousness
(พรอพ'เพอลี) adv. อย่างเหมาะสม, อย่างสมควร, อย่างถูกต้อง, อย่างแม่นยำ, อย่างแน่ชัด, อย่างยุติธรรม, อย่างสมบูรณ์, อย่างเต็มที่, อย่างถ้วนทั่ว
(รอ) adj. ดิบ, ยังไม่ได้เสริมแต่ง, หยาบ, ไร้ประสบการณ์, ยังไม่ได้รับการฝึกฝน, ยังไม่คุ้น, (หนัง) ยังไม่ได้ฟอก, (แผล) สด, หนาวเหน็บ, เย็นแสบ, ยังไม่ได้ผสมให้เจือจาง, (ชายผ้า) ยังไม่ได้เย็บ, โหด, หยาบคาย, ต่ำช้า, ทารุณ, ไม่ยุติธรรม n. แผลถลอก, See Also:rawly adv.
(เรค'ทิทูด) n. ความเที่ยงธรรม, ความถูกต้อง, ความยุติธรรม, ความมีศีลธรรม
(ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม
(ไรทฺ'ฟูล) adj. โดยชอบธรรม, ยุติธรรม, ถูกต้องSee Also:rightfulness n.Syn.legitimate, equitable
(แซงคฺ'ทิไฟ) vt. ทำให้ศักดิ์สิทธิ์, ทำให้พ้นบาป, อวยพร, ทำให้ยุติธรรม
(แชบ'บี) adj. โกโรโกโส, ปอน, เก่า, มอมแมม, ขาดกะรุ่งกะริ่ง, ขาดการบำรุงรักษา, โคลงเคลง, เลวทราม, ไม่ยุติธรรม, น่าดูถูก, เลว, ไม่ได้มาตรฐานSee Also:shabbily adv. shabbiness n.Syn.low, mean, abject, faded
(สพอร์ท'ทิง) adj. เกี่ยวกับการกีฬา, เกี่ยวกับการกรีฑา, ชอบกีฬา, ชอบการพนัน, คล้ายนักกีฬา, สนใจการกีฬา, ยุติธรรม, มีน้ำใจนักกีฬา, เปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะเดิมของพ่อแม่Syn.fair
n. การกระทำที่ยุติธรรม (ซื่อตรง)
(สแควร์'ลี) adj. เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุ-รัสโดยตรง, ไม่อ้อมค้อม, ซื่อตรง, ยุติธรรม
(ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี
(อันอี'เควิล) adj. ไม่เท่ากัน, ไม่เก่งเท่า, ไม่เสมอภาค, ไม่สมดุล, ไม่ยุติธรรม.See Also:unequally adv.
(อันอี'เวิน) adj. ไม่เรียบ, ขรุขระ, ไม่แน่นอน, เปลี่ยนแปลง, ไม่ยุติธรรม, ไม่เสมอภาค, ลำเอียง, เข้าข้าง, ไม่สมดุล, ไม่ขนานกัน
(อันแฟร์') adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่เป็นธรรม, ไม่ถูกต้อง.
(อัน'จัสทฺ) adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่ชอบธรรม.See Also:unjustly adv.
(อันไร'เชิส) adj. ไม่ถูกต้อง, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม, ร้าย, บาปหนา.See Also:unrighteousness n.Syn.incorrect
(อัพ'ไรทฺ) adj., adv. ตั้งขึ้น, ตั้งตรง, ยกสูงขึ้น, ซื่อตรง, เที่ยงตรง, ยุติธรรม. n. ความซื่อตรง, ความเที่ยงธรรม, สิ่งที่ตั้งตรง vt. ทำให้ตั้งตรง.See Also:uprightly adv. uprightness n.Syn.vertical, upstanding
(วอน'ทัน) adj. มุ่งร้ายและไม่ยุติธรรม, ขี้เล่น, ซุกซน, ชอบเล่นพิเรน, ไม่รับผิดชอบ, มั่วโลกีย์, ฟุ่มเฟือย, ฟุ้งเฟ้อ, สุรุ่ยสุร่าย, เขียวชอุ่มSee Also:wantonly adv. wantonness n.
(ไวทฺ) adj. ขาว, หงอก, ขาวบริสุทธิ์, สีเผือก, ผิวขาว, สีเงิน, ขาวหิมะ, มีหิมะ, ไร้สี, โปร่งใส, ว่างเปล่า, สวมเสื้อขาว, โชคดี, ไม่ได้เขียนอะไร, สะอาด, มีเจตนาดี, ซื่อตรง, ยุติธรรม, ไร้เดียงสา, (กาแฟ) ใส่นมหรือครีม n. สีขาว, ความขาว, ผิวขาว, สิ่งที่มีสีขาว, ไข่ขาว, แอลบิวเมน
Nontri Dictionary
(adv)อย่างเหมาะสม, สมควรแล้ว, สมน้ำหน้า, โดยยุติธรรมแล้ว
(n)หนี้, เงินที่ต้องชำระ, ความยุติธรรม, ค่าธรรมเนียม
(adj)เสมอภาค, ยุติธรรม, เที่ยงธรรม, เป็นธรรม
(n)ความเสมอภาค, ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม
(adj)เปรอะเปื้อน, สกปรก, เน่า, ไม่ยุติธรรม, เลว, ร้ายกาจ, ชั่ว, ยุ่ง
(n)ความไม่เสมอภาค, ความไม่ยุติธรรม, การขาดดุล
(adj)ไม่ลำเอียง, ยุติธรรม, เสมอภาค, เป็นธรรม
(n)ความไม่ลำเอียง, ความยุติธรรม, ความเป็นธรรม
(adj)ไม่สมดุล, ไม่เสมอภาค, ไม่เท่ากัน, ไม่ยุติธรรม
(adj)อยุติธรรม, เลียนแบบไม่ได้, เลิศล้ำ
(n)ความอยุติธรรม, ความไม่มีศีลธรรม, ความชั่วช้า
(adj)ขัดเคือง, น่าริษยา, ไม่ยุติธรรม, ไม่เสมอหน้า, แสลงหู
(adj)เที่ยงตรง, เป็นธรรม, ยุติธรรม, ถูกต้อง, สมควร, สมเหตุผล
(n)ความยุติธรรม, ความเที่ยงตรง, ความถูกต้อง
(adj)มีด้านเดียว, เข้าข้าง, ไม่ยุติธรรม, ลำเอียง
(adj)เป็นบางส่วน, ลำเอียง, อคติ, ไม่ยุติธรรม
(n)ความลำเอียง, ความอคติ, ความไม่ยุติธรรม
(n)ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม, ความถูกต้อง, ความมีศีลธรรม
(n)ความยุติธรรม, สิทธิ, ความถูกต้อง, ข้อเท็จจริง, ฝ่ายขวา
(adj)โดยชอบธรรม, ถูกกฎหมาย, ยุติธรรม
(adv)อย่างยุติธรรม, อย่างถูกต้อง, อย่างเป็นธรรม
(adj)ไม่เท่ากัน, ไม่ยุติธรรม, ไม่สม่ำเสมอ
(adj)ไม่ยุติธรรม, ไม่ถูกต้อง
(adj)ไม่ยุติธรรม, ไม่เที่ยงธรรม
(adj)ตรง, เที่ยงตรง, ยุติธรรม, ซื่อตรง
(n)ความซื่อตรง, ความเที่ยงตรง, ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม
(n)ความผิด, ความชั่ว, ความอยุติธรรม, การใส่ร้ายผู้อื่น
(adj)ผิดพลาด, ไม่ยุติธรรม, ผิดกฎหมาย, ไม่ถูกต้อง, ผิดศีลธรรม
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม
(name)ศาลยุติธรรมยุโรป
(n, jargon)การสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม
(n)การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม
กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
(n)(ก่อนหน้านี้ที่เสนอไปผิดค่ะ) ขอแก้ไขเป็น "กระบวนการยุติธรรมเชิงแก้แค้นทดแทน"See Also:A. restorative justice
(n, org, uniq)ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html
(n, org, uniq)ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
法務省
[ほうむしょう, houmushou](n)กระทรวงยุติธรรม
正義
[せいぎ, seigi](n)ความยุติธรรม ความถูกต้อง
ministry of justice
[houmushou, houmushou](n, vi, vt, modal, ver)กระทรวงยุติธรรม
公明正大
[こうめいせいだい, koumeiseidai](n, adj)บริสุทธิ์ยุติธรรม
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)ความยุติธรรม
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ