แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
463 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*อ่าน*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: อ่าน, -อ่าน-
Longdo CN - TH
[ , shāng liang, ㄕㄤ ㄌㄧㄤ˙](vi)ปรึกษา หารือ คุย ระวังเสียงคำอ่านที่ถูกต้องของพยางค์หลัง คือ เสียงเบา จะเป็น shang1 liang ไม่ใช่ shang1 liang2
[         , xīn zhèng rú yì xīn nián fā cái, ㄒㄧㄣ ㄓㄥˋ ㄖㄨˊ ㄧˋ ㄒㄧㄣ ㄋㄧㄢˊ ㄈㄚ ㄘㄞˊ](phrase)คำอวยพรสวัสดีปีใหม่ของชาวจีนในวันตรุษจีน ความหมายคือ ขอให้ปีใหม่นี้สมหวังทุกประการ และร่ำรวยมั่งคั่ง คนไทยมักอ่านว่า ซินเจียยู่อี่ซินนี้ฮวดใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากสำเนียงแต้จิ๋ว
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Mormon
[มอรมอน(อ่านออกเสียง มอร์-มอน)](n, org)มอรมอน หรือ ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุดสุดท้ายSee Also:S. LDS Church
สปอยล์
เป็นการเอาจุดเพลิกผัน ปมสำคัญ หรือเอาตอนจบมาเล่าก่อน หรือเอาเรื่องแขกรับเชิญเซอร์ไพรซ์ในงานมาเฉลยก่อน ทำให้คนที่ยังไม่ได้เห็น ยังไม่ได้ดูหรือยังไม่ได้อ่านสูญเสียอารมณ์ลุ้นหรือความตื่นเต้นเร้าใจไปเวลาไปดูหรืออ่านด้วยตัวเอง
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ
(n, phrase)Business English Reading
Longdo Unapproved TH-SOUTH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หลำ
[หล๋ำ](vt)มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำSee Also:S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ
Longdo Unapproved TH - JP**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ห้องสมุด
図書館 อ่านว่า としょかん
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)readExample:ในอนาคต เราคงจะมีโอกาสได้เห็นหุ่นยนต์ที่พูด อ่าน เขียนและคิด ได้เฉกเช่นมนุษย์Thai Definition:ว่าตามตัวหนังสือ, ออกเสียงตามตัวหนังสือ, ดูหรือเข้าใจความจากตัวหนังสือ
(n)readerSyn.ผู้อ่านExample:การเขียนประโยคกำกวมแบบนี้อาจทำให้คนอ่านตีความผิดไปUnit:คนThai Definition:บุคคลที่เป็นคนดูหรือเข้าใจความจากตัวหนังสือของงานเขียนต่างๆ
(v)initiate plansSee Also:start, originate plansSyn.ริ, ริอ่านExample:เขาเป็นลม เมื่อทราบว่า หลานสาวริอ่านเขียนเรื่องอ่านเล่นรักๆ ใคร่ๆ ไปลงหนังสือพิมพ์Thai Definition:เริ่มคิดอ่านเพื่อแผนการ
(v)read one's mindExample:เธออ่านใจเขาออกว่ากำลังคิดอะไรอยู่Thai Definition:ดูรู้, มองออก
(v)ponderSee Also:think deeply, meditate, reflect, contemplate, considerExample:เมื่อมีปัญหาคนเราต้องคิดอ่านหาทางแก้ไขปัญหามิใช่อยู่นิ่งเฉยThai Definition:ตริตรองเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรค
(v)think of a waySee Also:plan, formExample:ข้าพเจ้าต้องการรายได้ประจำไม่ใช่รายได้เปะปะอย่างที่เคยจึงคิดอ่านที่จะเป็นนักประพันธ์
(n)readerExample:การทำหนังสือมีส่วนประกอบสำคัญคือมีนักเขียน นักทำ และนักอ่านUnit:คนThai Definition:ผู้ที่รักและนิยมการอ่าน
(v)be enjoyable to readSee Also:be good to read, be fun to readExample:เขาเขียนหนังสือได้น่าอ่านทีเดียว
(n)readerAnt.ผู้เขียนExample:บรรณาธิการส่งจดหมายให้แก่ผู้อ่านที่ได้รับรางวัลUnit:ท่าน, คนThai Definition:ผู้ติดตามอ่านผลงานด้านงานเขียนหรือหนังสือ
(v)read for entertainSee Also:read for pleasureExample:เขาเจอหนังสือรายชื่อคนดังที่เป็นพรหมจารีย์ จึงทำให้สนใจซื้อมาอ่านเล่นThai Definition:อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
(v)skim (through)See Also:read throughAnt.อ่านละเอียดExample:เรื่องนี้ผมไม่ทราบรายละเอียด เพราะผมเพียงแค่อ่านผ่านๆThai Definition:อ่านอย่างไม่ตั้งใจ
(n)pronunciationExample:ขณะนี้มีการถกเถียงกันมากว่า คำไทยบางคำเสียงอ่านที่ถูกต้องเป็นอย่างไรThai Definition:เสียงที่ออกจากการอ่านตัวหนังสือ
(v)be illiterateThai Definition:อ่านหนังสือไม่ออก
(n)thinkingSee Also:contemplation, considerationSyn.ความคิด, ความตรึกตรอง, ความคิดความอ่านExample:ทฤษฎีฟอยด์ถือว่าความคิดอ่านของคนเราต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลแห่งแรงกระตุ้นสัญชาตญาณ
(n)announcerSee Also:broadcaster, newscaster, newsreaderSyn.ผู้รายงานข่าว, ผู้ประกาศข่าวExample:ผู้จัดจะให้นางงามมาเป็นผู้อ่านข่าว เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ชมUnit:คนThai Definition:บุคคลที่ทำหน้าที่อ่านหรือรายงานข่าวให้ผู้ฟังได้รับ ทราบ
(v)readSee Also:studyExample:ผู้ที่เป็นนักเขียนส่วนใหญ่จะชอบอ่านหนังสือมาตั้งแต่เด็ก
(v)know how to think wiselySyn.รู้จักคิด, รู้คิดThai Definition:เข้าใจคิดอ่าน
(n)card readerSee Also:card punch, key punchExample:โดยทั่วไปเครื่องอ่านบัตรจะมีความเร็วตั้งแต่ 200-1200 บัตรต่อนาทีUnit:เครื่องThai Definition:เครื่องที่ใช้ในการรับรู้ข้อความ โดยการอ่านจากรูที่เจาะในบัตรแล้วแปลงออกมาเป็นอักษร ซึ่งเป็นการสัมผัสด้วยไฟฟ้าแล้วส่งเข้าไปในหน่วยความจำ จึงจะประมวลผลออกมาได้
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ตริตรองหาทางแก้ไข.
ก. ริ เช่น ริอ่านเป็นขโมย.
ก. เข้าใจคิดตริตรอง เช่น เด็กบางคนรู้คิดรู้อ่านดีกว่าผู้ใหญ่.
ว. สะอาดหมดจด เช่น เด็กคนนี้หน้าตาสะอาดสะอ้าน.
ว. หมดจด, สะอาด, มักใช้เข้าคู่กับคำ สะอาด เป็น สะอาดสะอ้าน.
ก. ว่าตามตัวหนังสือ, ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง, ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ
สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ
ตีความ เช่น อ่านรหัส อ่านลายแทง
คิด, นับ.
ก. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน เช่น เอาหนังสือไปอ่านเล่นสัก ๒ เล่มซิ.
ว. ที่แต่งขึ้นให้อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ในคำว่า หนังสืออ่านเล่น.
ก. ประกาศในพิธีพราหมณ์เพื่อสรรเสริญและอัญเชิญเทพเจ้า.
(กอข้อ-) น. ผู้ที่เรียนหนังสือแล้วไม่รู้ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้.
(กน-, กนละ-) น. กลบทที่ซ่อนเงื่อนไว้ให้อ่านฉงน ตัวอย่างว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตก กระไรเลยระกำใจ จะจากไกลไม่เคย ให้อ่านว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตกโอ้อกเอ๋ย กระไรเลยระกำใจกระไรเลย จะจากไกลไม่เคยจะจากไกล. (กลอักษรงูกลืนหาง).
(-กฺลอน) น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ แสนเสียดายกรายนาฏช่าง แสนเสียดายงอนงามเจ้า ให้อ่านว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ห่างหาย แสนเสียดายกรายนาฏช่างนาฏกราย แสนเสียดายงอนงามเจ้างามงอน (จารึกวัดโพธิ์).
(กฺลอน) น. คำประพันธ์ซึ่งแต่เดิมเรียกคำเรียงที่มีสัมผัสทั่วไป จะเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ หรือร่าย ก็ตาม เช่นในคำว่า ชุมนุมตำรากลอน, ครั้นเรียกเฉพาะคำประพันธ์เฉพาะอย่างเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ ร่าย แล้ว คำประพันธ์นอกนี้อีกอย่างหนึ่งจึงเรียกว่า กลอน เป็นลำนำสำหรับขับร้องบ้าง คือ บทละคร สักวา เสภา บทดอกสร้อย, เป็นเพลงสำหรับอ่านบ้าง คือ กลอนเพลงยาว หรือ กลอนตลาด.
น. กลอนที่อ่านเป็นทำนองสวด แต่งเป็นกาพย์ยานี ๑๑ หรือ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ข้อความที่แต่งมักเป็นเรื่องในศาสนา.
น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย.
น. เลขชี้กําลังที่เขียนลงบนจํานวนจริง เช่น ๕ อ่านว่า ๕ ยกกําลัง ๒ อ่านว่า ๗ ยกกําลัง
ว. หวัด, ยุ่งจนเกือบอ่านไม่ออก, (มักใช้แก่ลายมือ).
(ขะ-) ก. ลัก, โดยปริยายหมายความว่า ลอบทำสิ่งที่ตนไม่มีสิทธิ์หรือไม่ได้รับอนุญาต เช่น เด็กขโมยสูบบุหรี่ เขาขโมยอ่านจดหมายเพื่อน.
(ขะหฺยุกขะหฺยิก) ก. ไม่อยู่นิ่ง ๆ ขยับไปขยับมา (ใช้ในอาการที่แสดงถึงความไม่เรียบร้อย) เช่น นั่งขยุกขยิก, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่เขียนไม่เรียบร้อย อ่านยากหรืออ่านไม่ออก เช่น เขียนลายมือขยุกขยิก.
ว. เลยลำดับ, ไม่เป็นตามลำดับ, เช่น อ่านข้าม อ่านข้าม ๆ.
ก. ขีดกั้นไว้, กำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น อ่านหนังสือไปถึงไหนแล้ว ให้ทำเครื่องหมายขีดคั่นไว้.
ก. เริ่มการใช้สมุดเขียนอ่าน หลังจากฝึกเขียนอ่านบนกระดานชนวนมาแล้ว.
น. แบบสอนอ่านที่แจกตามรูปตามมาตรา ก กา กง กน ฯลฯ เช่น ก กา กิ กี ฯลฯ เป็นคำเทียบของแม่ ก กา กง กัง กาง กิง ฯลฯ เป็นคำเทียบของแม่กง.
น. ชื่อกลอนกลอักษร วรรคหนึ่ง ๆ ต้องมีคำซ้ำกัน ๓ คู่ คือระหว่าง ๓ คำหน้ากับ ๓ คำสุดท้ายของวรรค แต่เวลาเขียนจะตัดคำซ้ำ ๓ คำสุดท้ายของแต่ละวรรคออก เวลาอ่านให้อ่านไปจนจบวรรคแล้วย้อนกลับไปอ่านคำที่ ๑ ถึงคำที่ ๓ ในวรรคเดียวกันอีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างว่า ฟังเสียงหวานขานเสียงดัง เหมือนน้ำตาลหวานเตือน เสนาะจริงยิ่งคำหวาน อ่านว่า ฟังเสียงหวานขานเสียงดังฟังเสียงหวาน เหมือนน้ำตาลหวานเตือนเหมือนน้ำตาล เสนาะจริงยิ่งคำหวานเสนาะจริง.
(จันทฺระ-) ในกลอนบางทีอ่านเป็น [ จันทอน, จัน ] น. ดวงเดือน, เรียกเทวดาองค์หนึ่งในนิยายว่า พระจันทร์, ในตำราโหราศาสตร์เป็นชื่อดาวพระเคราะห์ที่ ๒
(เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ.
ก. พอใจและทำบ่อย ๆ เช่น ชอบอ่านหนังสือ ชอบเที่ยว
ก. อ่านเพื่อทบทวนสำหรับการสอบ.
ก. ตะลุยไป (ใช้ในการอ่าน แต่ง หรือแปลหนังสือ).
ถัดไป, สืบไป, ติดต่อกันไป, เช่น ต่อนี้ไป ต่อไป อ่านต่อ วิ่งต่อ, เพิ่มขึ้น เช่น เรียนต่อ.
ว. ติด ๆ ขัด ๆ, ไม่ราบรื่น, (มักใช้แก่การอ่านหรือพูด).
อาการที่ทำอย่างเร่งรีบเพื่อให้ได้มากที่สุด เช่น อ่านหนังสือตะลุย.
น. ตาที่อักเสบมีน้ำตาคลออยู่เสมอ, โดยปริยายหมายถึงใช้สายตามาก เช่น อ่านหนังสือจนตาแฉะ.
(-คฺรุ) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ + สําหรับบอกจํานวนเงิน ปลายเส้นดิ่งข้างบนเป็นหลักชั่ง มุมบนด้านซ้ายเป็นหลักตําลึง มุมบนด้านขวาเป็นหลักบาท มุมล่างด้านขวาเป็นหลักสลึง มุมล่างด้านซ้ายเป็นหลักเฟื้อง ปลายเส้นดิ่งข้างล่างเป็นหลักไพ เช่น อ่านว่า ๕ ชั่ง ๔ ตําลึง ๓ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ๒ ไพ, เฉพาะ จํานวนตําลึง บาท สลึง เฟื้อง อาจเขียนย่อแต่เพียงมุมใดมุมหนึ่งที่ต้องการก็ได้ เช่น = ๔ ตําลึง = ๓ บาท = ๒ สลึง = ๑ เฟื้อง, ปัจจุบัน แพทย์แผนโบราณยังใช้เครื่องหมายตีนกาหรือตีนครุเป็นมาตราชั่งเฉพาะที่เกี่ยวกับเครื่องยาเท่านั้น.
ก. ข่มขี่ เช่น พรรณหญิงมีโอมอ่าน ตุ่นต่านให้ชายกลัว (ม. คำหลวง กุมาร).
ว. เพี้ยนตัว, ไม่ตรง, (ใช้ในการอ่านหนังสือ) เช่น อ่านตู่ตัว ด เป็นตัว ค.
เรียกการอ่านหนังสือออกคล่อง ว่า อ่านหนังสือแตก, เรียกเสียงห้าวเมื่อเริ่มเป็นหนุ่ม ว่า เสียงแตก, เรียกอาการที่พูดจนแสบคอหรือตะโกนดังจนสุดเสียง ว่า พูดจนคอแตก ตะโกนจนคอแตก.
ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์.
กลับมาตั้งต้นใหม่, กลับซํ้าใหม่, เช่น อ่านทวน ทวนเพลง
น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน.
ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของเล็กหรือของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย.
น. ชื่อวิธีเขียนหนังสือลับอย่างโบราณ เมื่อจะอ่านต้องนับอ่านตัวที่ ๓ หรือที่ ๕ ฯลฯ ตามชื่อ.
น. กลอักษรแบบหนึ่ง บังคับคำซ้ำ ๑ คู่ โดยมีคำอื่นคั่นกลาง ๑ คำ ทุกวรรค มีลักษณะเหมือนนกกางปีกบิน เวลาอ่านให้อ่านคำซ้ำที่ละไว้นั้นด้วยจึงจะได้ความครบถ้วน เช่น สองกระษัตริย์ศัลย์ให้รันทด แสนกำสดสุดคิดพิไสมย ต่างองค์ทรงโศกาไลย พระภูวไนยนารถให้หวาดทรวง (ศิริวิบุลกิตติ์) อ่านว่า สองกระษัตริย์กระศัลย์ให้รันทด แสนกำสดสุดคิดสุดพิไสมย ต่างองค์ต่างทรงโศกาไลย พระภูวไนยภูวนารถให้หวาดทรวง.
ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของใหญ่หรือของที่ยกขึ้นให้ไม่ได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย.
(นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุ&npsp;ํนุ&npsp;ํ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก.
น. หนังสือที่มีกำหนดออกเป็นประจำและแน่นอน มีเนื้อหาให้อ่านเพื่อความเพลิดเพลินและความรู้ทั่วไป เช่น นิตยสารรายสัปดาห์ นิตยสารรายเดือน.
ก. บอกหรืออ่านหนังสือให้เขียนตาม.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้ (พร็อม)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รอบ, ปริ [ อ่านว่า ปะริ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พร็อม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดโปรแกรมได้)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การซุ่มอ่านข่าว[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การซุ่มอ่านข่าว[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้ซุ่มอ่านข่าว[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ผู้ซุ่มอ่านข่าว[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เครื่องอ่าน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
อ่าน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
อ่าน[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว (รอม)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว (รอม)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ช่องอ่าน/บันทึก[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
หัวอ่าน/บันทึก[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รอม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รอม (หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้อ่านออกเขียนไม่ได้, อ่านออกเขียนไม่ได้[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
โอซีอาร์ (เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
โอเอ็มอาร์ (เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
โอเอ็มอาร์ (เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เครื่องอ่านรหัสแท่งด้วยแสง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านรหัสแท่งด้วยแสง[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง (โอซีอาร์)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง (โอเอ็มอาร์)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง (โอเอ็มอาร์)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
สวนศาสตร์ [ อ่านว่า สะวะนะสาด ][เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สมนาม [ อ่านว่า สะมะนาม ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
สมนาม [ อ่านว่า สะมะนาม ][เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
อาการอ่านช้า[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (เอ็มไอซีอาร์)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (เอ็มไอซีอาร์)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เอ็มไอซีอาร์ (เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เอ็มไอซีอาร์ (เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
บทละครเพื่ออ่าน[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศูนย์อ่าน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านอักขระ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านบัตร[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านบัตร[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [ มีความหมายเหมือนกับ digitiser; digitizer ๒ ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [ มีความหมายเหมือนกับ digitiser, digitizer ๒ ][เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การอ่านตามคำขอทันที[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การอ่านแบบทำลาย[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. ตัวแปลงเป็นดิจิทัล๒. เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [ มีความหมายเหมือนกับ data tablet; tablet ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. ตัวแปลงเป็นดิจิทัล๒. เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [ มีความหมายเหมือนกับ data tablet; tablet ][เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ตัวแปลงเป็นดิจิทัล๒. เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [ มีความหมายเหมือนกับ data tablet; tablet ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. ตัวแปลงเป็นดิจิทัล๒. เครื่องอ่านพิกัด, ตัวแปลงเป็นเลข [ มีความหมายเหมือนกับ data tablet; tablet ][เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
พจนานุกรมคำอ่าน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...)[เทคโนโลยีการศึกษา]
การลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้Example:MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
หนังสือและการอ่าน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เครื่องอ่านไมโครฟิล์ม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บริการแนะนำการอ่าน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เครื่องอ่านได้[คอมพิวเตอร์]
อ่านExample:รับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุต แล้วนำมาเก็บไว้ในหน่วยความจำเพื่อใช้งาน[คอมพิวเตอร์]
หัวอ่าน/บันทึกExample:อุปกรณ์ในเครื่องขับจานแม่เหล็กสำหรับใช้อ่านข้อมูลจากจาน และบันทึกข้อมูลลงในจาน เมื่อเราบันทึกแฟ้มลงในจานแม่เหล็ก หัวอ่าน/บันทึกจะปล่อยประจุไฟฟ้าลงบนจานกำลังหมุน ทำให้อนุภาคแม่เหล็กบนจานจัดเรียงตัวใหม่ เมื่อต้องการข้อมูลจากจาน หัวอ่าน/บันทึกก็จะตรวจดูลักษณะการจัดเรียงตัวของจุดแม่เหล็กบนจาน แล้วเปลี่ยนเป็นพัลส์ไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้[คอมพิวเตอร์]
เครื่องอ่าน (อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล)[คอมพิวเตอร์]
การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย[คอมพิวเตอร์]
มาตรรังสีแบบพกพา, อุปกรณ์วัดปริมาณรังสีสะสมที่ได้รับ สามารถอ่านค่าได้ทันที มีขนาดเล็ก สะดวกแก่การพกพาExample: [นิวเคลียร์]
เครื่องอ่านพิกัดExample:อุปกรลักษณะเหมือนกับกระดานเขียนแบบใช้ร่วมกับเมาท์ หรือปากกา หรืออุปกรณ์ชี้ตำแหน่งแบบอื่นในการอ่านข้อมูลเข้าเครื่อง นิยมใช้กับการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีการคือ จัดทำแผ่นกระดาษเป็นตารางขนาดเล็ก แต่ละตารางกำหนดให้ตรงกับคำสั่งต่างๆ ที่จะใช้ในโปรแกรมเขียนแบบ นำแผ่นกระดาษนี้มาตรึงไว้กับเครื่องอ่านพิกัดนี้ เมื่อต้องการเลือกใช้คำสั่งใดก็ให้ใช้ปากกาที่ต่อกับเครื่องนั้นกดลงบนตารางที่ตรงกับคำสั่งนั้น[คอมพิวเตอร์]
วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง”[คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด]
บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน[การจัดการความรู้]
เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง, เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง เขียนทับศัพท์เป็น โอซีอาร์[คอมพิวเตอร์]
หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี, สื่อข้อมูลดิจิทัล เช่น แผ่นซีดี หรือ หน่วยความจำ ที่สามารถนำมาเล่นด้วยเครื่อเล่นหรือคอมพิวเตอร์แล้วได้เป็นเสียงอ่านที่เคยบันทึกเอาไว้ก่อน ทั้งนี้ โดยใช้วิธีการกำหนดตำแหน่ง (mark up) ระหว่างเสียง กับข้อความ (ป้ายกำกับข้อมูลเสียง) ตามมาตรฐานเปิด ของสมาคมเดซี (Daisy Consortium)[Assistive Technology]
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, สื่อข้อมูลดิจิทัลที่สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์พกพา อาจจะเป็นข้อความอย่างเดียว&nbsp;หรือข้อความและภาพ หรือข้อความ ภาพ และเสียง&nbsp;โดยเน้นให้ทุกคนเข้าถึงได้ โดยเฉพาะคนพิการจะได้รับประโยชน์ในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้[Assistive Technology]
โปรแกรมอ่านจอภาพ, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่อ่านข้อความทั้งที่เป็นเนื้อหาและคำสั่งของโปรแกรม เพื่อแปลงเป็นคำอ่านที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับคนตาบอดใช้งานคอมพิวเตอร์[Assistive Technology]
การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติ, การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติของสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ผู้ฟังสามารถฟังการอ่านหนังสือเสียงโดยการโทรไปที่โทรศัพท์หมายเลข&nbsp; ๐-๒๒๐๓-๙๑๐๐ ระบบจะจัดให้ผู้ฟังสามารถเลือกฟังหนังสือใดๆ ในระบบ[Assistive Technology]
เครื่องอ่านพิกัดหรือเครื่องแปลงพิกัดเป็นตัวเลขExample:มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมใช้สำหรับวางภาพกราฟิก หรือแผนที่ แล้วใช้อุปกรณ์เหมือนแว่นขยายวางทาบตำแหน่งที่ต้องการ แล้วกดปุ่มบนแว่นให้อ่านค่าพิกัดของตำแหน่งนั้นเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์[สิ่งแวดล้อม]
หนังสือและการอ่าน[TU Subject Heading]
การอ่านริมฝีปาก[TU Subject Heading]
ข้อมูลทางบรรณานุกรมที่คอมพิวเตอร์อ่านได้[TU Subject Heading]
การอ่านหนังสือพิมพ์[TU Subject Heading]
การอ่านทำนองเสนาะ[TU Subject Heading]
การอ่านออกเสียง[TU Subject Heading]
ทัศนคติของผู้อ่าน[TU Subject Heading]
แบบฝึกอ่าน[TU Subject Heading]
การสำรวจผู้อ่าน[TU Subject Heading]
การอ่าน[TU Subject Heading]
การอ่าน (วัยเด็กตอนต้น)[TU Subject Heading]
การอ่าน (ประถมศึกษา)[TU Subject Heading]
การอ่าน (อุดมศึกษา)[TU Subject Heading]
การอ่าน (อนุบาล)[TU Subject Heading]
การอ่าน (ก่อนวัยเรียน)[TU Subject Heading]
การอ่าน (มัธยมศึกษา)[TU Subject Heading]
ความเข้าใจในการอ่าน[TU Subject Heading]
ความสนใจในการอ่าน[TU Subject Heading]
เครื่องอ่านหนังสือ[TU Subject Heading]
เครื่องอ่าน (อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล)[TU Subject Heading]
การส่งเสริมการอ่าน[TU Subject Heading]
ความพร้อมในการอ่าน[TU Subject Heading]
การอ่านเร็ว[TU Subject Heading]
หนังสืออ่านประกอบ[TU Subject Heading]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
มุมหนังสือไทย " เป็นโครงการบริจาคหนังสือ ตำราเรียนภาษาไทย รวมทั้งศิลปวัตถุของไทย หรือศูนย์วัฒนธรรมไทยเพื่อการเผยแพร่ภาษาไทยและศิลปวัฒน- ธรรมไทยให้แก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือมิตรประเทศ โดยอาจใช้สถานที่ในห้องสมุดสาธารณะ หรือในมหาวิทยาลัยของต่างประเทศ หรือในสถานทูตสถานกงสุลไทยโดยจัดตั้งเป็นมุมเฉพาะสำหรับจัดวางหนังสือไทยให้ ชาวต่างชาติได้อ่านหรือศึกษาภาษาไทย บางแห่งอาจเรียกชื่อว่า Thai Collection ก็ได้ "[การทูต]
อ่านไม่ออก, ความลำบากในการอ่าน, อาการอ่านไม่ได้, การไม่สามารถเข้าใจความหมายของภาษาเขียน[การแพทย์]
เขียนได้ถูกต้องแต่อ่านไม่ออกทั้งๆที่ตามองเห็น, อ่านไม่ออกทั้งๆที่ตามองเห็น[การแพทย์]
เครื่องอ่านค่าเสียง[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เฮ้ มีอะไรเขียนอยู่ตรงนี้ แต่มันยากที่จะอ่านจังAladdin (1992)
อ่านปากข้าแล้วพบกับความจริงAladdin (1992)
ผลงานของเนเช่ ซึ่ง... ...ผ่านจิตวิทยาการวิจารณ์และ นักโครงสร้างการอ่าน... ...โน้มน้าวไปสู่ความตาย แห่งความวิกลจริตไม่ใช่เหรอ?Basic Instinct (1992)
ผมได้อ่านคำวิจารณ์ของคุณต่อหนังสือผมแล้วBasic Instinct (1992)
ตอนที่ผมประเมินแคทเธอรีน ทราเมล ผมได้อ่านสำนวนBasic Instinct (1992)
ไม่ ผมอ่านนิยายคุณBasic Instinct (1992)
ฉันรู้ว่าคุณอ่านตอนต้นเรื่องไปแล้ว แต่คุณให้ตอนจบฉันได้ดีBasic Instinct (1992)
สมกับเป็นห้องนอนซูเปอร์สตาร์ เคยอ่านรึเปล่าThe Bodyguard (1992)
แต่ยังกับอ่านใจฉันออกแน่ะThe Bodyguard (1992)
คุณให้ทั้งสองคนนี้ อ่านพระคัมภีร์ไบเบิ้ลWuthering Heights (1992)
ข้อความระยำสักอย่าง ฉันอ่านไม่ออกWuthering Heights (1992)
ฉันอ่านออกนะWuthering Heights (1992)
ขนาดชื่อของตัวเองก็อ่านไม่ออกWuthering Heights (1992)
ฉันจะไปหาและสอน ให้เขาอ่านหนังสือWuthering Heights (1992)
อ่ะจิงสิ ชั้นอ่านข่าวคุณแล้วเมื่อเช้า สนุกดีHero (1992)
ปกติชั้นก้อเลือกอ่านบทความของคุณก่อนน่ะHero (1992)
จุง ไปอ่านการ์ตูนกันเถอะ สองคนนี้นี่Hero (1992)
- อ่านี่มันอะไรกันเนี่ย นี่มันเรื่องจิงรึเปล่าเนี่ยHero (1992)
ผมอ่านใจคุณได้The Lawnmower Man (1992)
สลิม อ่านนี่สิOf Mice and Men (1992)
ถึง บก. ผมอ่านนิตยสารคุณมาหกปี...Of Mice and Men (1992)
- นายเอามาให้ฉันอ่านทำไมOf Mice and Men (1992)
- อ่านต่อไปสิ อ่านชื่อข้างล่างOf Mice and Men (1992)
สมมติว่านายต้องนั่งกับลา และอ่านหนังสือOf Mice and Men (1992)
ก็ลองอ่านดูสิ จะได้รู้The Cement Garden (1993)
แจ็คอ่านหนังสือ?The Cement Garden (1993)
งั้นเธอก็อ่านมันจริงๆจังๆเลยสินะThe Cement Garden (1993)
อ่านสองรอบแล้วThe Cement Garden (1993)
ฉันว่าเธอก็น่าจะอ่านมันนะThe Cement Garden (1993)
เธอน่าจะได้อ่าน เพราะมันมี...The Cement Garden (1993)
จะรู้ได้ไงถ้าไม่ได้อ่านมัน?The Cement Garden (1993)
โอเค อ่านก็ได้ ถ้าเธออยากให้อ่านThe Cement Garden (1993)
ไม่ ไม่จำเป็นต้องอ่านเพราะฉันขอThe Cement Garden (1993)
ให้ฉันอ่านที่เธอเขียนเกี่ยวกับแม่บ้างสิThe Cement Garden (1993)
อ่านให้ฉันฟังก็ได้The Cement Garden (1993)
เธออ่านอะไร?The Cement Garden (1993)
- เธออ่านหนังสืออะไร?The Cement Garden (1993)
และหวังว่านายจะอยู่เงียบ ๆ ระหว่างที่ฉันอ่านหนังสืออยู่Cool Runnings (1993)
นายน่ะเหรออ่านหนังสือ นี่มันการ์ตูนเด็กCool Runnings (1993)
ไม่สายเกินไปใช่มั้ยที่จะอ่านหนังสือคำสาบดีๆซักเล่มหนึ่ง?Hocus Pocus (1993)
- - คุณสามารถอ่านความต้องการของเราIn the Name of the Father (1993)
สามปี เขาสามารถอ่านเอกสารตลกIn the Name of the Father (1993)
คุณใช้เวลาหน้าต่อครั้ง อ่านแล้วส่งกลับมาIn the Name of the Father (1993)
อืมแล้วคุณจะเป็นชนิดดังนั้น ... เป็นไปอ่านคำชี้แจงนี้ ที่คุณเอาจากเขา ... ในที่สามของเดือนพฤศจิกายน, 1974?In the Name of the Father (1993)
นาง Peirce, ฉันพยายาม เพื่ออ่านเอกสารฉบับนี้In the Name of the Father (1993)
มันอ่าน"ไม่ได้ที่จะแสดง การป้องกัน."In the Name of the Father (1993)
อย่างเรื่องนิตยสารที่ฉันเป็นสมาชิก ซึ่งเขาก็อ่านด้วย แต่เพราะว่าพวกมันอยู่ที่นั้นก็เท่านั้นThe Joy Luck Club (1993)
ฉันอ่านหนังสือคริสมาสต์มาตั้งหลายรอบThe Nightmare Before Christmas (1993)
แต่ตราบที่ฉันอ่านมันบ่อยมากเท่าไหร่ / ก็ยังมีบางอย่างที่ผิดไปThe Nightmare Before Christmas (1993)
เราจะส่งของขวัญไปหน้าประตูบ้านเขา บนกล่องจะมีโน๊ตให้อ่านThe Nightmare Before Christmas (1993)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[ān] (v) EN: read  FR: lire ; bouquiner (fam.)
[ān] (v) EN: pronounce  FR: prononcer
[ān dai ngāi] (x) EN: legible ; readable  FR: lisible
[ānjai] (v) EN: read one's mind
[ānjai khao øk] (v, exp) EN: read sb's mind ; get an insight into sb's mind  FR: lire dans les pensées de qqn
[ān khamphiphāksā khadī] (v, exp) EN: pronounce a judgement/judgment (Am.)
[ān len] (v, exp) EN: read for entertain; read for pleasure  FR: lire pour le plaisir
[ān mai øk] (v, exp) EN: be illiterate  FR: ne pas savoir lire ; être illettré
[ān mai øk] (v, exp) EN: be illegible  FR: être illisible
[ān nā ...] (v, exp) FR: lire à la page ...
[ān nā hā/5] (xp) FR: lire en page 5
[ān nangseū] (v, exp) EN: read ; study  FR: lire ; étudier
[ān nangseūphim] (v, exp) EN: read a newspaper  FR: lire un journal
[ān nawaniyāi] (v, exp) EN: read a novel  FR: lire un roman
[ān øk] (v, exp) EN: be literate ; read aloud  FR: savoir lire ; être lettré (Belg.)
[ān øk] (adj) EN: legible ; understandable ; discernible  FR: lisible ; déchiffrable
[ān øk khīen dāi] (v, exp) EN: be literate  FR: savoir lire et écrire
[ān øksīeng] (v, exp) EN: read aloud  FR: lire à voix haute
[ān phān-phān] (v, exp) EN: skim (through) ; read through  FR: feuilleter ; parcourir
[ān sakot] (v) EN: spell  FR: épeler
[ān tūalēk bon mitoē faifā] (xp) FR: relever le compteur (électrique)
[ān thūan] (v) FR: relire
[ān tø nā ...] (xp) FR: suite à la page ...
[ān wā] (v, exp) EN: be read ; be pronounced  FR: se lire ; se prononcer ; se dire ; prononcer
[ān yāngrai] (v, exp) EN: how to pronounce ?  FR: comment doit-on prononcer ?
[baēpfeuk ān] (n, exp) EN: reading exercice  FR: exercice de lecture [ m ]
[faēn phū-ān] (n, exp) EN: dear readers  FR: chers lecteurs [ mpl ] ; chères lectrices [ fpl ]
[kān ān] (n) EN: reading  FR: lecture [ f ]
[kān ān khamphiphāksā] (n, exp) FR: lecture du verdict [ f ]
[kān ān lāimeū] (n, exp) EN: palmistry  FR: chiromancie [ f ]
[kān ān nangseū] (n, exp) EN: reading  FR: lecture [ f ]
[kān ān tām khwām niyom] (n, exp) EN: modern pronunciation  FR: prononciation moderne [ f ]
[kān ān tām lak] (n, exp) FR: prononciation ancienne [ f ] ; prononciation traditionnelle [ f ]
[kham ān] (n, exp) FR: prononciation [ f ]
[khamphī kuraān] (n) EN: Koran  FR: Coran [ m ]
[khreūang ān bat] (n, exp) EN: card reader  FR: lecteur de carte [ m ]
[khreūang ān rahat thaēng] (n, exp) FR: lecteur de code-barres [ m ] ; lecteur de code à barres [ m ]
[khwāmkhit ān] (n) EN: thinking ; contemplation ; consideration
[lēk ān khrang køn] (n, exp) FR: relevé précédent [ m ]
[lēk ān khrang lang] (n, exp) FR: relevé suivant [ m ]
[nangseū ān len] (n, exp) EN: novel ; fiction  FR: roman [ m ]
[phū-ān] (n) EN: reader  FR: lecteur [ m ] ; lectrice [ f ] ; liseur [ m ] (vx) ; liseuse [ f ] (vx)
[phū-ān khāo] (n, exp) EN: announcer ; broadcaster ; newscaster ; newsreader  FR: annonceur [ m ] (Québ.)
[phū-ān nangseū] (n, exp) EN: reader  FR: lecteur [ m ] ; lectrice [ f ]
[reūang ān len] (n) EN: novel ; fiction  FR: roman [ m ] ; fiction [ f ]
[rīen khīen ān] (v, exp) FR: apprendre à lire et à écrire
Longdo Approved EN-TH
(n, abbrev)ย่อมาจากคำว่า Charge Coupled Device เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ สำหรับแปลงสัญญาณแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า มักใช้เป็นอุปกรณ์รับภาพสำหรับกล้องถ่ายวิดีโอ กล้องถ่ายภาพนิ่งดิจิตอล และเครื่องอ่านภาพ (Scanner)See Also:camera, CMOS sensor
(n)อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่นSee Also:flash memory
(abbrev)CITES (อ่านว่า ไซเตส) ย่อมาจาก The Convention of International Trade in endangered spicies of Wild Fauna and Flora หมายถึง อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งห้ามการค้าชนิดสัตว์และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
(n)เว็บเบราเซอร์ที่เป็นโอเพ่นซอร์สตัวหนึ่ง รายละเอียดอ่านได้จาก <A HREF=http://www.mozilla.org>www.mozilla.org</A>
(n)รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
(n)หนังสือเสียง, หนังสือที่มีคนอ่านให้เราฟัง เช่น I’m a latecomer to this whole Harry Potter thing, but am no less enthusiastic about the recent release of the final volume of Harry Potter audiobooks.Syn.audio book
(n)อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้นSyn.commentator
(n)โรคดิสเล็กเซีย คือ ความบกพร่องในการอ่าน มีปัญหาในการอ่าน อ่านได้บ้างไม่ได้บ้าง อ่านไม่คล่อง สะกดคำติดขัด ผสมคำไม่ได้ หรืออ่านไม่ได้เลย โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของเส้นประสาท
(phrase, slang)ย่อมาจาก too long; didn't read เป็นคำศัพท์ที่ใช้กันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อระบุว่า ข้อความที่ตามมาจะเป็นการสรุปเนื้อหาสั้นๆ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาอ่านทั้งบทความ (ซึ่งมักจะต้องใช้เวลานาน)
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)การสูญเสียความสามารถในการอ่านSyn.word blindness
(n)แถบบาร์โค้ดบรรจุข้อมูลที่คอมพิวเตอร์อ่านได้
(adj)ชอบอ่านหนังสือ
(n)การอ่านคร่าวๆSyn.skim
(n)โปรแกรมที่ช่วยค้นหาหรืออ่านเอกสารบนอินเตอร์เนต
(n)ช่องหรือโต๊ะอ่านหนังสือเล็กเฉพาะบุคคลSyn.cubical, stall
(adj)ที่อ่านยาก
(vt)ชี้บอกผู้อ่านให้ไปอ่านอีกตอนหนึ่งในหนังสือเล่มเดียวกัน
(n)ข้อความที่ชี้บอกผู้อ่านให้ไปอ่านอีกตอนหนึ่งในหนังสือเล่มเดียวกัน
(phrv)ขาน (ชื่อ, คำฯลฯ)See Also:เรียก, อ่านSyn.call over
(phrv)อ่าน
(phrv)เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้คนอื่นฟังหรืออ่าน (มักเป็นเรื่องสั้นหรือข่าว)Syn.dine off
(phrv)อ่านลวกๆSee Also:อ่านผ่านๆSyn.flip through, glance over
(idm)สมาชิกใหม่ (มักเป็นหนุ่มสาวและมีความคิดอ่านหรือทักษะใหม่ๆ)See Also:เลือดใหม่
(vt)แสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉานSee Also:อ่านบทกวีอย่างฉะฉานจริงจังSyn.recite
(n)การแสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉานSee Also:การพูดหรืออ่านอย่างฉะฉาน
(phrv)อ่านเฉพาะใจความสำคัญSyn.flip through
(n)การพิมพ์ข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเก็บข้อมูลลงในแถบแม่เหล็กแผ่นดิสก์หรือซีดีรอม ซึ่งอ่านข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์
(n)ความรู้ (ที่ได้จากการเรียนและการอ่าน)Syn.education, knowledge, scholarship
(phrv)อ่านผ่านๆSee Also:อ่านลวกๆ, มองลวกๆ
(phrv)อ่านหรือพิจารณาอย่างรวดเร็วSyn.glance through
(phrv)อ่านหรือพิจารณาอย่างรวดเร็วSyn.glance over
(idm)กำลังอ่านหนังสือSee Also:อ่านหนังสือตลอดเวลา
(idm)สมาชิกใหม่ (มักเป็นหนุ่มสาวและมีความคิดอ่านหรือทักษะใหม่ๆ)See Also:เลือดใหม่, คนรุ่นใหม่
(idm)อ่านใจคนอื่น
(adj)ซึ่งอ่านไม่ออกSee Also:อ่านยากSyn.scrawly, scribbled, unreadableAnt.readable
(n)การไม่รู้หนังสือSee Also:การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้Syn.ignorance
(n)คนไม่รู้หนังสือ (คำหยาบ)See Also:คนไร้การศึกษา, คนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
(adj)ซึ่งไม่สามารถอ่านออกSee Also:ซึ่งไม่สามารถเข้าใจได้Syn.illigible, incomprehensibleAnt.comprehensible, decipnerable
(phrv)พลิกอ่านเล็กน้อยSee Also:เปิดดูผ่านๆหนังสือ, อ่านลวกๆ
(n)แผ่น ซีดี ที่อ่านโดยใช้แสงเลเซอร์
(n)ความรู้ที่ได้มาจากการอ่านหรือการศึกษาSee Also:ความรู้Syn.knowledge, information
(n)ลักษณะที่อ่านออกง่ายSee Also:ความอ่านออกได้Syn.readability
(adj)อ่านออกได้
(n)ความสามารถในการอ่านและเขียน
(adj)รู้หนังสือSee Also:อ่านออกเขียนได้Syn.literary, well-writtenAnt.illiterate
(phrv)อ่านคร่าวๆSyn.read quickly
(adj)ซึ่งสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้
(n)ผู้อ่านใจ
(vt)อ่านผิด
(n)ผู้อ่านข่าว (ทางโทรทัศน์และวิทยุ)See Also:คนอ่านข่าว, ผู้ประกาศข่าวSyn.news-reader
(n)ผู้อ่านข่าวSyn.newscaster
(n)ผู้ไม่สามารถอ่านหนังสือออกSee Also:คนอ่านไม่ได้
Hope Dictionary
(แอคเซน' ชูเอท) vt. อ่านเน้น, ทำให้เด่น, อ่านซ้ำ, ใส่เครื่องหมายเสียงเน้นหนัก, เน้น, ย้ำ-accentuation n.Syn.emphasize
ก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง
ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ
(แอค' โรนิม) n. คำย่อจากพยัญชนะตัวแรกหลายคำ. -acronymic adj. คำย่อรัสพจน์หมายถึง คำย่อที่เกิดจากการนำอักษรตัวแรก หรือกลุ่มอักษรบางตัวมาสร้างขึ้นเป็นคำใหม่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่สองตัวขึ้นไป นิยมออกเสียงเหมือนคำปกติ เช่น DOS ซึ่งเอาอักษร D มาจากคำว่า Disk อักษร O มาจาก คำ Operating และ S มาจากคำว่า System คำนี้จะอ่านออกเสียงว่า "ดอส" แทนที่จะอ่านว่า ดีโอเอส คำย่อประเภทนี้ นิยมใช้กันมากใน วงการคอมพิวเตอร์ เช่น BASIC ซึ่งย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ก็อ่านว่า "เบสิก"
(อาลี' ยอ, อาลียา') n., (pl. aliyahs aliyos, aliyoth) การอพยพของยิวไปยังอิสราเอลการเดินสู่ที่อ่านพระคัมพีร์ในโบสถ์ยิว
(แอม' โบ) n., (pl. -bos) n. แท่นอ่านพระคัมภีร์หรือเทศนาในโบสถ์คริสเตียนสมัยโบราณ (ambon)
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ANSI (อ่านว่า แอนซี) เป็นชื่อของสถาบันเอกชนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้น
(แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ
แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language
(อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n.Syn.assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น
(ออ'เดียนซฺ) n. ผู้ชม, ผู้ฟัง, ผู้อ่าน, การได้ยิน, การสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการ, การเข้าพบเป็นทางการSyn.congregation, assembly, public, readership
บริภัณฑ์ช่วย <คำแปล>อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลของคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องอ่านบัตร (card reader) , หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) เป็นต้น
ส่วนวงเสียหมายถึงส่วนวงในร่องที่ใช้บันทึกข้อมูลบนแผ่นจานบันทึกเสีย ทำให้ไม่สามารถอ่านข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงไปเก็บได้ คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อความนี้บนจอภาพเมื่อสั่งให้อ่านหรือบันทึกข้อมูล แล้วไม่สามารถทำได้ เพราะเกิดกรณีนี้ขึ้น
รหัสแท่ง <คำแปล>หมายถึง รหัสที่ประกอบด้วยเส้นหลายเส้นที่มีขนาดความกว้างต่าง ๆ กัน มักจะมีอยู่บนสินค้านานาชนิด นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน เครื่องอ่านรหัสแท่งจะอ่านได้ด้วยการปล่อยให้แสงผ่าน แล้วนำรหัสเหล่านี้มาแยกออกว่า เป็นรหัสของสินค้าอะไร ราคาเท่าใด บางบริษัทอาจจะใช้เป็นตัวควบคุมบัญชีพัสดุได้ด้วย
เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น
จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป
(ไบออส) ย่อมาจาก Basic Input/Output System เป็นชื่อโปรแกรมชุดหนึ่งซึ่ง จะควบคมการทำงานของคอมพิวเตอร์ในส่วนที่เกี่ยวกับการนำข้อมูลเข้าไปเก็บและการแสดงผล (หน่วยบันทึก แผงแป้นอักขระ จอภาพฯ) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บไบออสนี้ไว้ในชิปตัวหนึ่งที่สร้างมาให้อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (built in) หรือที่เรียกว่า "รอม" (ROM) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะอ่านคำสั่งในไบออสก่อนเสมอ
(บุค'คิช) adj. ชอบอ่านหนังสือ, ชอบศึกษา, หนอนหนังสือ, เกี่ยวกับหนังสือ, เกี่ยวกับอักษรศาสตร์See Also:bookishness n.Syn.erudite
(บุค'สทอล) n. ที่สำหรับตั้งหนังสืออ่าน
(บุค'เวิร์ม) n. ผู้ที่ชอบอ่านหนังสือมาก, คนที่ชอบเรียนหนังสือมาก, หนอนหนังสือ, หนอนกัดกินหนังสือ, ปลวกหนังสือ
(บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot"
ส่วนวงปลุกเครื่องหมายถึง ส่วนของแผ่นจานบันทึกที่เก็บคำสั่งที่ใช้ในการปลุกเครื่อง ถ้าส่วนนี้เสีย (อ่านไม่ได้) คอมพิวเตอร์ก็จะไม่ทำงานเลยตั้งแต่ต้น
1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป
(เบราซ) { browsed, browsing, browses } v. กินหญ้า, กิน, แทะ, เลี้ยงตามทุ่งหญ้า, มองเผิน, อ่านอย่างเผิน. n. หน่อไม้หรือกิ่งไม้สำหรับเป็นอาหารวัวSyn.skim
ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
(คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบSyn.exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น
ที่พักบัตรหมายถึง ส่วนหนึ่งของเครื่องอ่านบัตรหรือเครื่องเจาะบัตร (keypunch) เป็นที่ซึ่งบัตรที่เจาะข้อมูลไว้เรียบร้อยแล้ว มาหยุดรอให้คอมพิวเตอร์เรียกไปอ่าน หรือบัตรที่ยังไม่ได้เจาะ มารอเรียกไปเจาะบางทีใช้ hopper คำเดียวสั้น ๆ ก็ได้ ดู card reader และ keypunch ประกอบ
บัตรติดขัดหมายถึง การที่บัตรเกิดสับสนขึ้นภายในเครื่องอ่านบัตร (card reader) ซึ่งอาจเกิดจากการเจาะไม่ตรงรู บัตรยับหรือขาด เมื่อเครื่องอ่านบัตรอ่านมาถึงบัตรนั้นก็จะหยุด เพราะอ่านต่อไปไม่ได้ ดู card reader ประกอบ
เครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป
เครื่องเรียงบัตร <คำแปล>หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้สำหรับเรียงลำดับบัตรที่มีข้อมูลเจาะไว้แล้ว เครื่องนี้จะสามารถอ่านข้อมูลบนบัตรแล้วจัดการเรียงลำดับให้ เช่น ถ้าเป็นจำนวนเลข ก็จะเรียงจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย หรือถ้าเป็นตัวอักษร อาจเรียงตามลำดับตัวอักษรให้ก็ได้
abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่)
(ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง
หน่วยขับซีดีรอมหมายถึง หน่วยบันทึกที่ใช้อ่านจานบันทึกอัดแน่น หรือซีดี ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากมีหน่วยบันทึกที่สามารถอ่านข้อมูลจากสื่อชนิดนี้ได้ แต่ยังคงบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้ ต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ความเร็วในการอ่านค่อนข้างสูงจนดูภาพเคลื่อนไหวได้ดีเหมือนดูภาพยนตร์ ในปัจจุบัน จานซีดีกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นทุกที ทำให้ราคาถูกลงมาก คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจึงมักจะมีหน่วยบันทึกชนิดนี้ติดตั้งไว้ด้วย
เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk)
ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
(ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย
(คลาร์ค, เคลิค) { clerked, clerking, clerks } n. เสมียน, เสมียนขายของ, พนักงานร้านค้า, พระ, คนที่อ่านออกเขียนได้, ผู้คงแกเรียน vi. ทำหน้าที่เป็นเสมียนSee Also:clerkish adj. ดูclerk clerkship n. ดูclerk
(โคเล'เชิน) n. การตรวจเทียบ, อาหารว่าง, การอ่านเรื่องนักบุญให้ฟังกันSyn.snack
1. Pref. รวมกัน, ด้วยกัน, อย่างสมบูรณ์Syn.co-, 2. คอม 1. ย่อมาจาก COMmunication port หมายถึงช่องที่ใช้สำหรับต่อออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อจะหมุนเลขหมายโทรศัพท์บนคอมพิวเตอร์ผ่านโมเด็ม คอมพิวเตอร์ก็จะต้องรับรู้กันให้ได้ว่า ช่องที่ติดต่อกับโมเด็มนั้นคือช่องไหน กำหนดได้หลายช่องเรียกว่า COM1, COM2 2. ใช้เป็นนามสกุล file type ของแฟ้มข้อมูลในดอสและโอเอสทูว่า .COM เพื่อแสดงว่าเป็นแฟ้มข้อมูลกระทำการ executive program หรือโปรแกรมประเภทเดียวกับ .EXE เช่น FORMAT.COM COMMAND.COM 3. ย่อมาจาก computer output on microfilm ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโคร ฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโคร ฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที
ใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง
(คัมไพล์') { compiled, compiling, compiles } vt. รวบรวม, เรียบเรียง แปลโปรแกรมหมายถึง แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษา โคบอล (COBOL) ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ ให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ การแปลนั้น คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมทั้งหมดเข้าไปแล้วจึงจะลงมือแปล เมื่อเข้าใจแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมได้
การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์
งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล
การสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน
การผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAM (อ่านว่า แคม) มักใช้คู่กับแคด หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงาน แต่ละส่วน เช่น การนับ และการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำซอฟต์แวร์
วิศวกรรมระบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การสร้างโปรแกรมระบบโดอาศัยคอมพิวเตอร์ช่วย
ใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm
ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้)
การดำเนินการคอมพิวเตอร์การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำงานไปตามคำสั่ง เช่น อ่านข้อมูล นำข้อมูลไปเก็บ นำข้อมูลมาบวก ลบ ฯ เป็นต้น แล้วได้ผลตามที่ต้องการ
Nontri Dictionary
(n)การถอดรหัส, การอ่านรหัส
(adj)ยุ่งเหยิง, เข้าใจยาก, อ่านยาก, ฉุนเฉียว, โกรธง่าย
(n)โต๊ะ, โต๊ะทำงาน, กองบรรณาธิการ, แท่นอ่านคัมภีร์, ฝ่าย, แผนก
(n)ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง
(n)การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย
(n)นวนิยาย, นิทาน, เรื่องเริงรมย์, เรื่องอ่านเล่น, เรื่องโกหก
(adj)อ่านไม่ออก, อ่านยาก
(n)ความชัดเจน, ลายมือที่อ่านง่าย
(adj)อ่านออก, อ่านง่าย, ชัดเจน, สวย
(adv)อ่านง่าย
(vt)อ่านผิด, ตีความผิด, แปลผิด
(n)การอ่าน, การพินิจพิจารณา, การตรวจ
(vt)อ่าน, พินิจพิจารณา, ตรวจ
(n)แบบเรียนขั้นต้น, มูลบท, แบบสอนอ่าน
(vt)ประกาศ, แถลง, อ่าน, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสินคดี
(vi, vt)ดู, อ่าน, ทำนาย, แปล, คาดการณ์
(adj)อ่านง่าย, น่าอ่าน
(n)ผู้อ่าน, คนตรวจเรื่อง, คนตรวจปรู๊ฟ, คนทำนาย
(n)การอ่าน, หนังสือสำหรับอ่าน
(n)การอ่านออกเสียง, การสวด, การท่องอาขยาน, การบรรยาย
(vt)อ่านออกเสียง, สวด, เล่า, ท่องจำ, สาธยาย
(vt)กวาดออก, ช้อนออก, อ่านคร่าวๆ, ศึกษาเพียงผิวเผิน
(n)ช้อน, ทัพพี, พาย, คนอ่านหนังสือลวกๆ
(vt)ทำแทน, สะกดตัว, อ่านว่า, แปลว่า
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vt)English - Thai, Loy's Dictionary Browse accumulate vt. อะคิ้วมิวเล็ท (อย่าอ่านเป็น แอ็กฯ) (ม.ปลาย) 1. สะสม, รวบรวม : I want to accumulate more paintings.
ภาพยนตร์หรือหนังสือที่ประสบความสำเร็จได้รับความนิยมจากผู้ชมหรือผู้อ่าน, หนังทำเงิน, หนังสือขายดี
(n)กิจการที่เกี่ยวกับการทำถังไม้ เช่น ถังไม้โอ๊คสำหรับบ่มไวน์ หรือสถานที่สำหรับดำเนินการดังกล่าว หรือสิ่งที่ช่างทำถัง (COOPER) ทำออกมา อ่านว่า คูป-เปอร์-ริจ
(n, adj)สระซ้อนรวมกันอ่านออกเสียงเดี่ยว
(n)ความบกพร่องในการอ่าน หรือ ความบกพร่องในด้านการเรียนรู้
[เฟอเรท](n)ธาตุ เหล็ก (Fe) เวลาอ่านในสารประกอบเชิงซ้อนจะ อ่านว่า ferrate
หนังสืออ่านนอกเวลา
(adj)อ่านหนังสือออก
[คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน](n)lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ)See Also:Lifesaving, Lifesaver
[ชีบ-พะ-รัก-สิก]lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรงSee Also:Lifesaving, Lifeguard
[ชีบ-พะ-รัก](n)Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ
[นาซโซ-ก๊าซทริค]การรักษาพยาบาลโดยการเสียบท่อพลาสติกเข้าทางรูจมูก ผ่านลำคอ และลงไปถึงกระเพาะอาหาร (ในบางกรณีย์ ทีมแพทย์อาจใช้วิธีการนี้ในการดูดสารพิษออกจากกระเพาะผู้ป่วย ซึ่งเรียกกันว่า การล้างท้อง) Orogastric Intubation (อ่านว่า ออโร-ก๊าซทริค อินทูเบชั่น) เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เหมือนกัน คือการสอดท่อพลาสติกลงไปในกระเพาะอาหาร หากแต่เสียบท่อพลาสติกเข้าทางปาก ผ่านลำคอเพื่อลงไปสุดที่กระเพาะอาหาร
[นาซโซ-ก๊าซทริค]การรักษาพยาบาลโดยการเสียบท่อพลาสติกเข้าทางรูจมูก ผ่านลำคอ และลงไปถึงกระเพาะอาหาร (ในบางกรณีย์ ทีมแพทย์อาจใช้วิธีการนี้ในการดูดสารพิษออกจากกระเพาะผู้ป่วย ซึ่งเรียกกันว่า การล้างท้อง) Orogastric Intubation (อ่านว่า ออโร-ก๊าซทริค อินทูเบชั่น) เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เหมือนกัน คือการสอดท่อพลาสติกลงไปในกระเพาะอาหาร หากแต่เสียบท่อพลาสติกเข้าทางปาก ผ่านลำคอเพื่อลงไปสุดที่กระเพาะอาหารSyn.nasogastric intubation
[โพเทโท่ โพทาโท่](slang)เหมือนๆกัน เป็นสำนวนของภาษาอังกฤษที่เล่นกับการออกเสียง Potato ทั้งสองคำจะอ่านต่างกัน (เสียง แอ กับเสียง อา) ซึ่งทั้งสองล้วนแปลว่า มันฝรั่ง เหมือนกันSyn.Same
(n)เป็นการหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ตประเภทหนึ่ง ที่ผู้หลอก แสดงลิงค์ในเรื่องที่ผู้อ่านสนใจแต่เมื่อคลิ๊กลิงค์นั้นๆไปแล้ว เนื้อหาที่ปรากฏกลับเป็นมิวสิควีดีโอของ Rick Astley ในเพลง Never Gonna Give You Up
[ราย](vt)อ่าน
[ราย](vt)อ่าน
[ราย](vi, vt)อ่าน
[ราย](vi)อ่าน
[ไร'เออะ](n)ผู้อ่าน
[ไร'เออะ](n)ผู้อ่าน
(n, uniq)The renminbi (simplified Chinese: 人民币; traditional Chinese: 人民幣; pinyin: rénmínbì; literally "people's currency") is the currency of the People's Republic of China (PRC) - คือ ชื่อเรียกของเงินจีน โดยหน่วยเงินสกุลนี้ คือ หยวน [ yuan (simplified Chinese: 元 or 圆; traditional Chinese: 圓; pinyin: yuán; Wade-Giles: yüan) ] เงิน RMB - renmibi นั้น เริ่มต้นครั้งแรกในปี 1948 โดยธนาคาร People's Bank of China หนึ่งปีก่อนพรรคคอมมิวนิสจีนจะชนะในสงครามการเมือง โดยเงินนี้ เรียกว่า renmibi นั้น แปลว่า เงินของประชาชน "People's Currency" - สำหรับหน่วยเงินจีนนั้น สามารถใช้ได้ทั้ง RMB / CNY / ¥. >> อ่านเพิ่มเติมใน http://en.wikipedia.org/wiki/Rmb
Image:
RMB
[ไร'อิง](adj)กําลังอ่าน
[ไร'อิง](n)การอ่าน
(n)กาลาวกาศ, กาลอวกาศ, กาลเทศะ(อ่าน กา-ละ-เท-สะ)
อ่านหนังสือสอบ
[ยูไน้ถิด อาหรับ เอมิเร็ทสฺ]สหอาหรับเอมิเรตส์ (ไม่มีคำว่า "รัฐ" เพราะไม่เน้นที่ States แต่เน้นที่ คนอาหรับ เขาก่อร่างสร้างประเทศเขาตั้งใจมองไปที่คนเล็กคนน้อย เขาเล็งไปที่ "ชาวอาหรับ" ที่เป็นประชาชนในอาณาบริเวณของเขา เขาจึงใช้ชื่อประเทศว่า United Arab Emirates: ภาษาอาหรับก็บอกชัดเจนอ่านจากคำขวาก่อนคือ อิมิเรต หากดูตรงกลางพบคำว่า "อาระบียะห์" ซึ่งหมายถึงคนอาหรับ และคำสุดท้ายแปลว่ามารวมกัน الإمارات العربيّة المتّحدة‎ )
(https://watsangpraditacth/)Use the law to help If you choose to use several methods and it does not work. May have to accept that 'bad debt' but if you can't make up your mind, you have to use the law Before taking action. อ่านต่อได้ที่ โรงเรียนวัดแสงประดิษฐ์
ควรอ่านว่า ซินแส โดยทั่วไปเป็นการเรียกบุคคลที่เราไม่รู้จักชื่อ และเรียกครู หรือ หมอจีน
Longdo Approved JP-TH
[〜かた, ~ kata](n)เมื่อนำกริยามาเติมข้างหน้าจะหมายถึง วิธีการ เช่น 読み方(よみかた) วิธีอ่าน หรือ 使い方(つかいかた) วิธีการใช้งาน
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
工藤
[くどう, kudou](name)ชื่อคน อ่านว่า คุโด
セット
[せっと, setto](n)(อ่านว่า เซ็ต-โตะ) เซ็ต (เป็นลักษณะนาม) เช่น チャーハン セット (ชาฮั่ง เซ็ต-โตะ) ขอข้าวผัด1จาน เป็นต้น
経緯
[いきさつ, ikisatsu](n)ที่มาที่ไป, ความเป็นมา, เรื่องราวความเป็นมา<br> บางกรณีอ่านแบบ 音読み=けいい ก็ได้
分かち書き
[わかちがき, wakachigaki]การเขียนโดยมีการเว้นวรรคเพื่อให้ผู้อ่านตัดคำได้ถูกต้อง ลดความกำกวม. ตัวอย่าง ตากลม: (1) ตา กลม, (2) ตาก ลม
振り仮名
[ふりがな, furigana](n)การกำหนดเสียงอ่านอยู่ด้านบนของตัวอักษรคันญิ
チェルシー
[チェルシー, cherushi^]คำอ่าน
今日は
[こんにちは, konnichiwa, konnichiha , konnichiwa]สวัสดี (ใช้ได้โดยทั่วไป แต่ความหมายเฉพาะคือสวัสดีตอนสายถึงช่วงใกล้เวลาเย็น มักมีการอ่านผิดโดยสะกดตรงตัวเป็น konnichiha)
唱える
[となえる, tonaeru](vt)อ่านท่อง ท่องออกเสียง
詠む
[よむ, yomu](vt)อ่าน
読みます
[よみます, yomimasu, yomimasu , yomimasu](vt)อ่าน
得体の知れない
[えたいのしれない, etainoshirenai](adj)ยากจะอ่านออก, ยากจะมองออก, ยากจะเข้าใจ, ไม่รู้ลึกตื้นหนาบาง
看破
[かんぱ, kanpa](exp)อ่านขาด, มองทะลุปรุโปร่ง
Saikam JP-TH-EN Dictionary
読み込む
[よみこむ, yomikomu] TH: อ่านจนเข้าใจ
読者層
[どくしゃそう, dokushasou] TH: กลุ่มผู้อ่าน
読者層
[どくしゃそう, dokushasou] EN: class of readers
Longdo Approved DE-TH
(adj, adv)ในขณะเดียวกัน, ในเวลาเดียวกัน เช่น Er kann telefonieren und gleichzeitig auch lesen. เขาสามารถโทรศัพท์ในเวลาเดียวกันก็อ่านหนังสือไปด้วยได้Syn.zur gleichen Zeit
(prep)ในงานของ เช่น Das Gedicht habe ich bei Geothe gelesen. บทกวีนี้ฉันเคยอ่านจากงานของเกอเธ่
(vi)|faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี
|+ คำนามเพศกลาง หรือ เป็นคำแทนนามเพศกลาง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Hast du jedes Buch schon gelesen? เธออ่านหนังสือทุกเล่มหรือยังเอ่ย
(prep)|+A| เกี่ยวกับ เช่น Sie hat viel über den Skandal gelesen. เธอได้อ่านเกี่ยวกับเรื่องอื้อฉาวนี้มามาก
(n)|der, nur Sg.| คัมภีร์กุรอ่าน, คัมภีร์โกหร่านของศาสนาอิสลาม
(n)|das, pl. das Diskettenlaufwerke| หัวอ่านแผ่นดิสเก็ต
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[gelesen](vi)เคยอ่าน
Longdo Approved FR-TH
(vt)|je lis, tu lis, il lit, nous lisons, vous lisez, ils lisent| อ่าน
Longdo Unapproved FR-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
éxgèse
(n)หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ อย่างเช่น พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หนังสือเบญจบรรณ พระคัมภีร์อัลกุรอ่าน พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์พระเวท เป็นต้น
SylvainKz
(n)อ่านว่า Sylvain เป็น ถูกเรียกชื่อใหม่โดยชาวฝรั่งเศษผู้หนึ่งซึ่งได้อ่าน เจอในตำนานกรีก ซึ่งเป็นนักรบร่างกำยำ ฉลาดเป็นเลิศ (ชื่อของแม่ทัพนั้นออกเสียงคล้ายกัน) และได้ถูกยกย่องเป็นกษัตริย์ หลังจากได้นำกองกำลังไปช่วยเครทอส เพื่อปราบเทพเจ้า Olympus จึงได้ตั้งชื่อไปในพจนานุกรมใหม่ว่า SylvainKz K หมายถึงกษัตริย์ z หมายถึง ผู้ที่อยู่เบื้องหลังสุด ของชัยชนะในสงครามเทพเจ้านั้น
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ