แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
168 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ริเริ่ม*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ริเริ่ม, -ริเริ่ม-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฐยโฐฐม
[ถะ-ยะ-โถ-ถม]นักปราชญ์ผู้ริเริ่มสร้างยศฐาบรรดาศัดดิ์จนใหญ่โตสูงส่ง
ฐยโฐฐม
[ถะ-ยะ-โถ-ถม](n)นักปราชญ์ผู้ริเริ่มสร้างยศฐาบรรดาศัดดิ์จนใหญ่โตสูงส่ง
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)startSee Also:launch, initiate, begin, originateSyn.เริ่มExample:พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงริเริ่มกิจการออมสินขึ้นในปีพ.ศ. 2450Thai Definition:เริ่มคิดเริ่มทำเป็นคนแรก
(n)originatorSee Also:creator, inventor, founder, initiatorSyn.ผู้ก่อตั้ง, ผู้สถาปนา, ผู้ตั้ง, ผู้คิดค้น, ผู้ก่อกำเนิด, ผู้บุกเบิกAnt.ผู้ทำลายExample:ฮิปโปคราเตสเป็นผู้ริเริ่มทางการแพทย์จนได้รับสมญาว่าเป็น บิดาแห่งการแพทย์Unit:คนThai Definition:ผู้เริ่มคิดเริ่มทำเป็นคนแรก
(n)initiationSee Also:originality, beginning, start, commencingSyn.ความคิดริเริ่ม, ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์Example:เฮลิคอปเตอร์ซูเปอร์พูม่าเป็นความริเริ่มของกองทัพอากาศในการจัดหามาเป็นพระราชพาหนะ
(n)intuitivenessSee Also:originationExample:นักออกแบบทุกคนควรมีความคิดริเริ่มเป็นของตัวเอง
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. เริ่มคิดเริ่มทำเป็นคนแรก (มักใช้ในทางดี) เช่น นายเลื่อน พงษ์โสภณ ริเริ่มทำรถจักรยานสามล้อ.
ก. ริเริ่มการ.
ก.จัดตั้งขึ้น, ริเริ่มตั้งขึ้น.
น. ผู้ริเริ่ม, ผู้ประดิษฐ์แบบขึ้นใหม่.
โดยปริยายหมายถึง การริเริ่มหรือทดลองทำไปก่อน เช่น โครงการนำร่อง.
ว. มีความคิดริเริ่มในการแต่งกายเป็นต้นก่อนสมัยนิยม.
ก. ถางป่าเข้าไปให้เป็นไร่นา, โดยปริยายหมายความว่า ริเริ่มทำเป็นคนแรกหรือพวกแรก.
น. ผู้ทำหรือผู้ก่อให้เกิดงาน โดยความคิดริเริ่มของตนเอง.
ว. มีลักษณะริเริ่มในทางดี เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์.
น. สติปัญญา, ความสามารถพิเศษ, ความคิดริเริ่ม, เช่น เด็กคนนี้มีหัวทางดนตรี
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การกระทำตามที่ศาลเห็นสมควร, การกระทำที่ตนเองริเริ่ม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางตรง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การกระทำตามที่ศาลเห็นสมควร, การกระทำที่ตนเองริเริ่ม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางอ้อม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การริเริ่ม๒. การริเริ่มออกกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางตรง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การริเริ่มออกกฎหมายโดยทางอ้อม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
โครงการริเริ่มคลังสาระถาวรด้วยเทคโนโลยีแบบเปิดExample:Open Archives Initiative (OAI) เป็นองค์กรที่จัดตั้งและได้การสนับสนุนจาก Andrew W. Mellon Foundation, the Coalition for Networked Information, the Digital Library Federation, และจาก National Science Foundation <p> <p>OAI พัฒนามาตรฐานและส่งเสริมการใช้มาตรฐานสำหรับการทำงานเครือข่ายข้อมูลต่างระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้การเผยแพร่เนื้อหาความรู้เป็นไปได้ง่ายและสะดวก OAI เสนอกลไกสำหรับเจ้าของสารสนเทศให้เปิดเผยเมทาดาทาที่ใช้ เพื่อให้ระบบสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นและเข้าถึงข้อมูลหรือเอกสารได้ <p>ผลงานหลักของ OAI คือ กรอบทำงานในการเก็บเกี่ยวเมทาดาทาจากแหล่งสารสนเทศ (repository) หลายๆ แหล่งและโปรโตคอลที่ใช้ในการเก็บเกี่ยวที่รู้จักกันในนาม OAI Protocol for Metadata Harvesting (OAI-PMH) <p>OAI-PMH จึงเป็นการหาข้อมูลทั้งหมด จากนั้นจึงแปลเมทาดาทาของเดิม (Native metadata) ไปเป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้กันโดยทั่วไป และนำออกเพื่อการเก็บเกี่ยว (Harvesting) ตัวให้บริการคำค้นจะรวบรวมเมทาดาทาเข้าไปเก็บไว้ในดรรชนีส่วนกลาง (คลังเก็บคำค้นส่วนกลาง) เพื่อให้มีการสืบค้นข้ามแหล่งเก็บนี้ได้ ดังรูป <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120829-OAI-PMH.jpg" width="540" higth="100" alt="OAI-PMH"> <p> <p>รายการอ้างอิง <p>Open Archives Initiative. http://www.openarchives.org/OAI/OAI-organization.php. Accessed 29-08-2012. <p>Rajashekar, T.B. IS 206 - Information and Knowledge Organization. http://www.ncsi.iisc.ernet.in/raja/is206/topic-14.htm. Accessed: 29-08-2012 <p>Rajashekar, T.B. Metadata and Interoperability. 2003. http://www.ncsi.iisc.ernet.in/raja/is206/raja-interoperability.ppt. Accessed. 29-08-2012[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แนวทางในการขับเคลื่อนความร่วมมืออาเซียน, เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนความร่วมมืออาเซียนที่มีความ ยืดหยุ่นซึ่งเปิดโอกาสให้สามารถริเริ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจได้โดยไม่ต้อง รอให้ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนเข้าร่วมพร้อมกัน[การทูต]
ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market)[การทูต]
การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative)[การทูต]
แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด[การทูต]
การหารือด้านการโยกย้ายถิ่นฐานระหว่างประเทศ ซึ่งริเริ่มโดยรัฐบาลสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2544[การทูต]
การประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย " CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน "[การทูต]
เป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา[การทูต]
ความริเริ่มด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน " เป็นแผนงานหลักในการพัฒนาและส่งเสริมความร่วมมือด้านการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน ประกอบด้วย (1) การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม (2) การกำหนดนโยบายและกฎหมายที่อำนวยความสะดวกการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (3) การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าบริการและการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการ จัดทำกรอบความตกลงว่าด้วยพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ (5) การ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในภาครัฐ "[การทูต]
เวทีเพื่อการพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบในอินโดจีน เป็นความริเริ่มโดยกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นที่จะให้มีเวทีปรึกษาหารือ เพื่อช่วยพัฒนาประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม กลไกประกอบด้วยคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะที่ปรึกษาภาคเอกชนโดยเน้นบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาภาค เอกชนตลอดจนการสร้างความเชื่อมโยงกับกรอบความร่วมมือ (GMS)[การทูต]
กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง หรือ กรอบความร่วมมือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ " ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (มณฑล ยูนนาน) มีธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) เป็นกลไกประสานความร่วมมือ โดยริเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 ประกอบด้วยความร่วมมือ 8 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง พลังงาน สื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ การค้า และการลงทุน "[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน[การทูต]
คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล[การทูต]
ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย[การทูต]
สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา[การทูต]
การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้[การทูต]
พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม[การทูต]
การประชุมระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว " เป็นการริเริ่มของรัฐบาลญี่ปุ่น ร่วมกับองค์การสหประชาชาติและ องค์การ Global Coalition for Africa เพื่อสนับสนุนการพัฒนาใน ภูมิภาคแอฟริกา ในรูปของความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเอเชียกับ แอฟริกาอย่างเป็นรูปธรรมและมีเอกภาพ โดยเป็นการประชุมในระดับรัฐมนตรี และมีการประชุมแล้ว 2 ครั้ง โดยครั้งแรก (TICAD I) มีขึ้นระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม 2536 โดยมีการรับรองเอกสารปฏิญญา กรุงโตเกียว (Tokyo Declaration) ซึ่งเป็นสัญญาประชาคมที่ประเทศต่าง ๆ จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาแก่แอฟริกา และครั้งที่ 2 (TICAD II) มีขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 ตุลาคม 2541 โดยมีการรับรองแผนปฏิบัติการกรุงโตเกียว (Tokyo Agenda for Action) ซึ่งเป็น แนวทางในการพัฒนาแอฟริกาในด้านต่าง ๆ ทั้งสังคมและเศรษฐกิจ "[การทูต]
การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก?[การทูต]
การประชุม "เวทีเศรษฐกิจโลก" นาย Klaus Schwab ได้ริเริ่มให้มีการประชุมครั้งแรกขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 ที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งในปี พ.ศ. 2514 นาย Schwab ได้จัดตั้งเป็น European Management Forum ในลักษณะขององค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และเปิดให้นักธุรกิจชั้นนำ รวมทั้งนักการเมืองระดับสูงเป็นสมาชิก ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น World Economic Forum และเปิดรับสมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีสำนักงานตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กิจกรรมสำคัญประจำปี ได้แก่ การประชุมประจำปีที่เมืองดาวอส (มกราคม หรือ กุมภาพันธ์) การจัดพิมพ์ World Competitiveness Report และการจัดประชุมเพื่อหารือประเด็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในประเทศต่าง ๆ[การทูต]
ความคิดริเริ่มในการเล่น[การแพทย์]
คณะริเริ่มดำเนินการทำให้เว็บเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้[Assistive Technology]
ความคิดสร้างสรรค์, ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกล หลายแง่มุม หลายทิศทาง นำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของ และแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอีย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความคิดริเริ่ม, ความคิดที่แปลกใหม่ แตกต่างจากความคิดเดิม นำความรู้มาประยุกต์ให้เกิดสิ่งใหม่ขึ้น ไม่ซ้ำกับของเดิม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ริเริ่ม[การแพทย์]
ตัวริเริ่ม[การแพทย์]
ความคิดริเริ่ม ริเริ่ม[การแพทย์]
การริเริ่มสิ่งใหม่ๆ[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ใช้ความคิดริเริ่มของคุณ ฉัน ไม่ได้มีใครHow I Won the War (1967)
เขามีความสามารถในการ ดำเนินการ ภารกิจในความคิดริเริ่มของเขา เอง เขาจะ2010: The Year We Make Contact (1984)
มีผู้ ริเริ่มนำความคิดมาแสดงเป็น รูปธรรม การสร้างงานโดยใช้สีฉูดฉาดMy Little Bride (2004)
โอษฐ์ท่านจะยุติ สิ่งที่ปลายนิ้วท่านริเริ่ม ความปรารถนาท่านถูก ยั่วเย้าโดยเทพีพยากรณ์หรือ?300 (2006)
ชั้นได้ยินว่านายเป็นริเริ่มศิลปะแห่งสงครามArt of Fighting (2006)
แคลิฟอร์เนียได้ลงมือริเริ่ม กำหนดให้รถที่ขายในแคลิฟอร์เนียประหยัดน้ำมันมากขึ้นAn Inconvenient Truth (2006)
โชคยังดีที่หลายๆรัฐกำลังลงมือริเริ่มAn Inconvenient Truth (2006)
ทันใดนั้นฉันก็ไม่ต้องสิ้นหวัง มีหวังมากว่านั่งอยู่เฉยๆ แล้วฉันก็ทำตามที่ฉันตั้งความหวัง แล้วปล่อยให้ความทุกข์มันจางหายไป ฉันกลายเป็นคนอารมณ์บูด \b ความคิดริเริ่มไม่มีMusic and Lyrics (2007)
แล้วผมจะจดมุขต่างๆที่ทำให้แจ๊สหัวเราะ และแจ๊สก็จะจดมุขที่ทำให้ผมหัวเราะได้... ซี่งเป็นรากฐานการวิเคราะห์กับการริเริ่มแผนงาน...Namastey London (2007)
สมองเขาไม่แล่น การริเริ่มหยุดชะงักเพราะ ABC ดิสโก้Like Stars on Earth (2007)
ผมต้องขอบคุณสำหรับการริเริ่มSunday (2008)
ให้หนึ่งคะแนนสำหรับความริเริ่ม อีกสองถ้าบอกว่าต้องการอะไรRocknRolla (2008)
คุณก็ได้ฟังจากคนที่ริเริ่มแผนนี้แล้วนี่นาDeath Note: L Change the World (2008)
ตัวฉันนี้ละ ที่เป็นคนริเริ่มแผนการนี้ด้วยซ้ำDeath Note: L Change the World (2008)
ช่วงเวลาที่สุภาพบุรุษมี.. ความคิดริเริ่มมากที่สุดคือ.. ?Dogtooth (2009)
คุณรู้มั๊ย คนสก๊อตเป็นคนริเริ่มเล่นกีฬากอล์ฟHey! Mr. Pibb! (2009)
- เพราะว่าเราขาดความคิดริเริ่มนะสิNegro Y Azul (2009)
- ความคิดริเริ่มงั้นเหรอ - นายต้องจ้างเด็กเดินยาเพิ่มขึ้นNegro Y Azul (2009)
ความคิดริเริ่มแบบใหม่ในองก์ที่สอง อัจฉริยะมากThe Age of Dissonance (2009)
นายอยากริเริ่มสร้างสรรค์ นายอยากอยู่กลางแสงไฟShowmance (2009)
แซมมวลเป็นพี่ชายของโจเซฟ ผู้ริเริ่มประเพณีChapter Five 'Tabula Rasa' (2009)
เพื่อประท้วงถึงการตัดสินใจ ริเริ่มทำวีซ่าให้กับผู้มาเยือนA Bright New Day (2009)
ข้าเป็นคนริเริ่มเอง ข้าคิดว่าท่านจะเมตตาThe Nightmare Begins (2009)
ในฐานะผู้ดำเนินการหลักในเรื่องนี้ และด้วยเหตุที่ไม่คาดฝันมาก่อน และการริเริ่มสันติภาพ ครั้งประวัติศาสตร์นี้Day 8: 1:00 p.m.-2:00 p.m. (2010)
ถ้าคุณต้องการที่จะได้รับลมหายใจของอากาศบริสุทธิ์, คุณต้องการความคิดริเริ่มตัวหนาDeath Race 2 (2010)
ทาเทอ ริเริ่มชุดของการทดสอบ เพื่อตรวจสอบสัญญาณ และพบว่ามันเป็นธรรมชาติที่ มนุษย์สร้างขึ้นหรือคนต่างด้าวทำAre We Alone? (2010)
สุภาพบุรุษคนนี้ ผู้ซึ่งริเริ่มการเจาะข้อมูลตลาดหุ้น เค้าชื่อ มาร์วิน จอห์นสันBridesmaids (2011)
หัดใช้ความคิดริเริ่ม ดีนี่สแตนFinal Destination 5 (2011)
ฉันเป็นคนริเริ่มข้อตกลงนะThe Man Who Knew Too Much (2011)
เปรียบได้กับ มาโคโปโล หรือ ดาวิ้น (ผู้ริเริ่มทฤษฎีทางด้านนั้นๆ) แล้วก็แช็คเคิลตัน รวมอยู่ในตัวคนเดียวProof (2011)
ผมเข้าใจว่าคุณไม่ได้ เป็นผู้ริเริ่มเรื่องการครอบงำกิจการMidas (2011)
เพราะความคิดริเริ่มของผู้หญิงคนหนึ่งDeadline (2011)
การยกย่องในความ พยายามที่เป็นผู้ริเริ่มค่ะGuilt (2011)
อืมจากที่ผมดู น่าจะเป็นความคิดของเอมิลี่ มันน่าจะดีสำหรับการสร้างการริเริ่มใหม่ๆIntrigue (2011)
หนูจำได้ว่าแอนนี่อีกคนเอ่ยถึงคอนเซ็ปต์ แต่หล่อนไม่ได้ริเริ่มดำเนินการ แล้วหาอาจารย์ที่ปรึกษาGeography of Global Conflict (2011)
- แต่ตอนนี้... เปลี่ยนเป็นซีลบ เพราะขาดความคิดริเริ่มใหม่ ๆBait (2012)
ลำดับละลายน้ำแข็งริเริ่มUnderworld Awakening (2012)
ดิฉันทราบมาอีกค่ะว่าซิสเตอร์เป็นคนริเริ่มเรื่องทำเบเกอรี่Welcome to Briarcliff (2012)
และวอชิงตันก็ค่อนข้างเป็นผู้ริเริ่มIdentity Crisis (2012)
ไม่ๆๆๆๆ ทั้งหมดนี้เหมือนกลับไปสู่ความคิดริเริ่มIllusion (2012)
การรับประทานอาหารกลางวัน ของเหล่านักลงทุนที่คฤหาสน์เกรย์สันยังคงดำเนินไป ซึ่งทำให้ฉันเชื่อว่า กำลังมีความคิดริเริ่มที่จะส่งท่านฑูตไปPenance (2012)
ความคิดริเริ่ม คุณคิดว่าเขาจะให้เธอฆ่าเราง่ายๆหรอPenance (2012)
ไอ้ลูกเราจะบริหารบริษัทร่วงลงไปยังพื้นเร็วๆนี้แหละ พิสูจน์ ว่าใช้ความคิดริเริ่มได้น้อยมากRevelations (2012)
พวกนางถูกพรากไปจากครอบครัวและเติบโต ในฐานะผู้ริเริ่มในลัทธิเก่าแก่The Kindness of Strangers (2012)
ที่เรากำลังทำริเริ่ม!Monsters University (2013)
"Newsies" (หนังปี 1992) เป็นคนริเริ่มท่าน่าเกลียดนี้Girls (and Boys) on Film (2013)
ในปี 1868 , มารีน วาร์ตัน โดดเด่นมีชื่อเสียง ในกลุ่มแม่บ้านชายฝั่งตะวันออก, ผู้ริเริ่มการเรียกร้องสิทธิสตรีBitchcraft (2013)
ทำให้เขาประทับใจ บริกส์ชอบพวกที่มีความคิดริเริ่มGuadalajara Dog (2013)
- มันก็สาย skeg สำหรับการริเริ่มSeparate Paths (2013)
เราลงทุนกับการริเริ่มน้ำดี, ฟาร์มที่ยั่งยืนOne Percent (2013)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[khwām chalāt nai kān riroēm sāngsan] (n, exp) EN: creativity quotient ; CQ  FR: quotient d'intelligence créative [ m ] ; QIC
[khwāmkhit riroēm] (n) EN: iniative ; intuitiveness ; origination  FR: intuition [ f ]
[khwāmkhit riroēm sāngsan] (n, exp) EN: creativity
[phūriroēm] (n) EN: pioneer ; innovator ; trailblazer ; initiator ; originator  FR: pionnier [ m ] ; précurseur [ m ] ; innovateur [ m ] ; initiateur [ m ]
[riroēm] (v) EN: start ; launch ; initiate ; begin ; originate ; commence ; be the first  FR: initier ; entreprendre
[riroēmtangkheun] (v) EN: set up
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(adj)ซึ่งมีความคิดริเริ่มSee Also:ซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์Syn.imaginative, productive
(n)บุคคลซึ่งเต็มไปด้วยความคิดริเริ่ม
(vt)บุกเบิกSee Also:เริ่มต้น, ริเริ่มSyn.emerge, originate, occur
(vt)ก่อตั้งSee Also:ริเริ่ม
(n)การริเริ่ม (คำไม่เป็นทางการ)See Also:การรุกSyn.enterprise, initiation
(n)การเริ่มเข้าเป็นสมาชิกSee Also:การริเริ่ม, การปฐมนิเทศSyn.inauguration, induction
(vt)ริเริ่มSee Also:เริ่ม, นำ, เสนอ, ชักนำSyn.commence, begin, introduceAnt.end, terminate, finish
(n)การริเริ่มSee Also:การเริ่มต้นSyn.introduction, entrance, installation
(n)ผู้ริเริ่มSyn.originator, beginner, starter
(n)การริเริ่มSee Also:การเริ่มต้นSyn.inauguration, launch, establishment
(phrv)ริเริ่มSyn.kick off
(phrv)มาจากSee Also:ริเริ่มจาก
(adj)เต็มไปด้วยความคิดริเริ่มและสามารถแก้ปัญหาได้ดีSee Also:อุดมสมบูรณ์, มีหัวดีSyn.ingenious, inventive, capable, creativeAnt.uncreative, unimaginative
(adv)อย่างมีความคิดริเริ่มและสามารถแก้ปัญหาได้ดี
(n)ผู้ทำงานได้โดยไม่ต้องให้คนอื่นชี้แนะSee Also:ผู้มีความคิดริเริ่ม, ผู้เริ่มสร้างสรรค์Syn.starter
(adj)ซึ่งมีความคิดริเริ่มได้เอง
Hope Dictionary
บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้
(บูม'มะแรง) { boomeranged, boomeranging, boomerangs } n. ไม้รูปโค้งซึ่งเมื่อเหวี่ยงออกไปแล้วกลับมาหาผู้เหวี่ยง, อาวุธลับที่กลับไปทำลายผู้ใช้, ดาบที่คืนสนอง vt. ทำอันตรายอย่างไม่คาดคิดกับผู้ริเริ่ม
n. ศาสนา (ตามพระคัมภีร์ไบเบิล) ที่สอนเกี่ยวกับการรักษาโรคโดยวิธีทางจิตริเริ่มโดยMary Baker Eddy
(คลี'เวอะ) adj. เฉลียวฉลาด, ว่องไว, ชำนาญ, สร้างสรรค์, ริเริ่มเก่ง, ประณีต, เหมาะ, น่าพอใจ
(คะเมนซฺ') ฐcommenced, commencing, commences } vi., vt. เริ่ม, ริเริ่ม, เริ่มต้น, ได้รับปริญญาSee Also:commenceable adj. ดูcommence commencer n. ดูcommenceSyn.begin -Conf. start, begin
(คันเซพ'เชิน) n. การคิด, สร้างมโนคติ, ภาวะตั้งครรภ์, การริเริ่ม, การตั้งต้น, อำนาจความคิด, แบบแผน, โครงการ.See Also:conceptive adj. ดูconceptionSyn.ideation, idea, view
(เอนเทอไพร'ซิง) adj. ซึ่งเต็มไปด้วยความริเริ่ม , กล้าได้กล้าเสีย , แคล่วคล่องSee Also:enterpriser n. ดูenterprisingSyn.bold, daring
(ฟา'เธอะ) { fathered, fathering, fathers } n. บิดา, พ่อ, ผู้ปกครอง, พระ, พ่อบุญธรรม, คำเรียกชื่อผู้อาวุโสเพื่อแสดงความเคารพ, ผู้อาวุโสที่สุดของกลุ่ม, ผู้นำของเมือง, ผู้ก่อตั้ง, ผู้มาก่อน, แบบเริ่มแรก -Phr. (the Father พระผู้เป็นเจ้า) . vt. ให้กำเนิด, ริเริ่ม, เป็นพ่อ, ยอมร
n. การทดสอบมติมหาชนในสหรัฐอเมริกาที่ริเริ่มโดยGeorge Gallup
(กัมพ'เชิน) n. การริเริ่ม, ความกล้าหาญ, การรุก
(อินออ' กิวเริล) adj. เกี่ยวกับการเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการ, เกี่ยวกับการริเริ่ม, เกี่ยวกับการเปิดฉาก, เกี่ยวกับการสถาปนา, เกี่ยวกับการเปิดทำการ. -n. คำปราศรัยในการเข้ารับตำแหน่ง, พิธีเข้ารับตำแหน่ง
(อินิช'ชีเอท) vt. ริเริ่ม, เริ่มนำ, นำเข้า, นำไปให้รู้จัก. adj. เริ่มแรก n. ผู้ถูกพาไปให้รู้จัก.See Also:initiator n. initiatress n.Syn.start
(อนิชชิเอ'เชิน) n. การนำเข้าครั้งแรก, การนำเข้าเป็นสมาชิก, พิธีนำเข้า, การริเริ่ม
(อินิช'ชิเอทิฟว) n., adj. (เกี่ยวกับ) การริเริ่ม, การนำเข้า, การตัดสินใจของตนเอง.
(อินิช'ชิเอทอรี) adj. ริเริ่ม, เริ่มต้น, ขั้นแรก, ก้าวแรก, เข้าเป็นสมาชิก.See Also:initiatorily adv.Syn.introductory
(อิน'สทิทิวทฺ) n. สถาบัน, องค์การ, วิทยาลัย, สถาบันหนึ่งของมหาวิทยาลัย vt. จัดตั้ง, จัดให้มี, ริเริ่ม, สร้าง, ก่อตั้ง.See Also:institutor, instituter n.Syn.establish
(มาส'เทอะไมดฺ) vt. วางแผนอย่างชำนาญ, ควบคุมอย่างชำนาญ. n. ผู้ริเริ่มโครงการ, ผู้ริเริ่มคำคิด, ผู้ชำนาญSyn.genius, wonder
(ออริจ'จะแนล'ลิที) n. ความคิดริเริ่ม, ลักษณะที่ริเริ่ม, ความใหม่เอี่ยม, ความไม่ซ้ำแบบใครSyn.creativity
(อะริจ'จะเนท) vi. บังเกิดจาก, เริ่มจาก. vt. ริเริ่ม, ก่อให้เกิด.See Also:originable adj. origination n. originator n.Syn.initiate, create
(ไพ'อะเนียร์) n. ผู้บุกเบิก, ผู้นำทาง, ผู้ริเริ่ม, กองหน้า, ผู้หักร้างถางพง, ทหารช่างหรือทหารโยธาที่นำหน้า -v. บุกเบิก, หักร้างถางพง, ริเริ่ม, นำทาง adj. ริเริ่ม, ดั้งเดิมSyn.innovator, inventor
(อัพ) adj. ขึ้น, ขึ้นไป, อยู่ชั้นบน, ตั้งตรง, อยู่เหนือ, อยู่สูงกว่า, ลุกขึ้น, ตื่นขึ้น, ขึ้นหน้า, เกิดขึ้น, มากขึ้น, ขึ้นเหนือ, เกลี้ยง, แน่นหนา, เร่าร้อน, ไปตามลม, ให้หมด, ให้เสร็จ, ถึงที่สุด, โดยสิ้นเชิง. vt. ทำให้ใหญ่ขึ้น, ยกเว้น, ทำให้ดีขึ้น. vi. เริ่ม, ริเริ่ม
Nontri Dictionary
(n)ผู้ริเริ่ม, ผู้เริ่มต้น, ผู้ตั้งต้น
(vi, vt)เริ่มต้น, ริเริ่ม
(n)การเริ่มต้น, การริเริ่ม, พิธีรับปริญญา, วันรับปริญญา
(vt)เริ่มต้น, ทำพิธีรับเข้า, นำมาให้รู้จัก, ริเริ่ม
(adj)ริเริ่ม, รุก, เริ่มต้น
(n)ความคิดริเริ่ม, การทาบทาม
(n)ความคิดริเริ่ม, ความแหวกแนว
(vi, vt)ริเริ่ม, เริ่ม, ประดิษฐ์ขึ้น, ทำให้เกิดขึ้น
(n)การคิดขึ้น, การริเริ่ม, การประดิษฐ์, ที่มา, บ่อเกิด
(n)ผู้ประดิษฐ์, ผู้ริเริ่ม, ผู้คัดค้าน
(n)นักสำรวจ, ผู้บุกเบิก, ผู้ริเริ่ม
(vt)บุกเบิก, สำรวจ, หักร้างถางพง, ริเริ่ม
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
皮切り
[かわきり, kawakiri]1.การริเริ่ม 2.ชนวน (ก่อเหตุ)
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, pl. Vorreiter| ผู้บุกเบิก, ผู้ริเริ่ม เช่น Deutschland ist Vorreiter polizeilicher Zusammenarbeit in Europa.
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ