พาหะนำโรค[TU Subject Heading]
เวกเตอร์วิเคราะห์[TU Subject Heading]
ปริภูมิเวกเตอร์[TU Subject Heading]
แมลงที่เป็นพาหะ[การแพทย์]
พาหะนำเชื้อโรค, ตัวนำโรค[การแพทย์]
โรคที่เกิดจากพาหะนำ[การแพทย์]
โรคที่เกิดจากแมลงชนิดต่างๆเป็นสื่อนำ[การแพทย์]
โรคที่มีสัตว์เป็นพาหะ[การแพทย์]
ไข่ของแมลงผู้นำโรค[การแพทย์]
อีเลคตริเคิลเวคเตอร์[การแพทย์]
เวลเตอร์ลม หรือ อัตราความเร็วลม[อุตุนิยมวิทยา]
เวคเตอร์ของลมกระโชก[อุตุนิยมวิทยา]
ลมเชียร์ วินด์เชียร์ หรือเวคเตอร์เชียร์[อุตุนิยมวิทยา]
ขนาดของเวกเตอร์, ความยาวของส่วนของเส้นตรงที่มีทิศทางแทนเวกเตอร์นั้น โดยวัดจากจุดเริ่มต้นถึงจุดปลายของเวกเตอร์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ปริมาณเวกเตอร์, ปริมาณที่บอกทั้งขนาด และทิศทาง เช่น ความเร็ว ความเร่ง ปริมาณเวกเตอร์อาจแทนได้ด้วยส่วนของเส้นตรงที่ระบุทิศทาง โดยใช้ความยาวของส่วนของเส้นตรงแทนขนาดและใช้หัวลูกศรเพื่อบอกทิศทาง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เวกเตอร์ศูนย์, เวกเตอร์ที่มีขนาดเป็นศูนย์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เวกเตอร์ศูนย์, ดู null vector[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย, เวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วยไม่ว่าเวกเตอร์นั้นจะมีทิศทางใดก็ตาม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ดีเอ็นเอพาหะ, Example:พลาสมิดตามธรรมชาติที่แยกได้จากแบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายเป็นดีเอ็นเอพาหะที่เหมาะสมใช้ในงานพันธุวิศวกรรม โดยพลาสมิดทำให้ดีเอ็นเอที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการสามารถเพิ่มจำนวนและแสดงออกได้ในเซลล์ที่ต้องการแสดงออกซึ่งลักษณะนั้น เริ่มแรกตัดพลาสมิดและดีเอ็นเอที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ แล้วเชื่อมต่อดีเอ็นเอทั้ง 2 ตัวอย่างด้วยเอนไซม์ ligase หลังจากนั้นส่งถ่ายเข้าสู่เซลล์ (transformation) ตัวอย่างพลาสมิดที่นิยมใช้ได้แก่ พลาสมิด pUC ซึ่งมีส่วนประกอบคือ ยีน B-galactosidase (lac Z) ยีนต้านทานต่อยาปฏิชีวนะแอมพิซิลิน ลำดับเบสที่จำเพาะของเอนไซม์ตัดจำเพาะหลายชนิดเรียงตัวซ้อนกันอยู่ในบริเวณยีน lac Z โดยมีลำดับเบสที่จำเพาะของเอนไซม์เพียง 1 ตำแหน่งต่อ 1 เอนไซม์ ดังนั้นบริเวณนี้จึงใช้เป็นที่เชื่อมต่อกับดีเอ็นเอที่ควบคุมลักษณะที่ต้องการเรียกบริเวณนี้ว่า multiple cloning site <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. “เวกเตอร์” ในพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น. หน้า 77-105. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]