n. คำสนทนา, คำธรรมดา ๆ , คำพูดที่เคยชิน
ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
(คัส'เทิม) n. ประเพณี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จารีตประเพณี, กิจวัตร, ความเคยชิน, การอุดหนุน, ภาษี -Phr. (customs พิกัดอัตราภาษีอากร, ลูกค้า, ขาประจำ) adj. ซึ่งสั่งตัด, ซึ่งสั่งทำ, Syn.habit, tariff, duty
(คัส'เทิมมะรี) adj. เกี่ยวกับประเพณี, เป็นขนบธรรมเนียม, ตามปกติ, เคยชิน, เป็นกิจวัตร, Syn.normal
(ดะเมส'ทะเคท) vt. ทำให้ชอบอยู่ในบ้าน, ทำให้เป็นขนบธรรมเนียม, ทำให้เชื่อง, ทำให้เคยชิน, See Also:domesticable adj. ดูdomesticate domestication n. ดูdomesticate domesticative adj. ดูdomesticate domesticator n. ดูdomesticate คำที่มีความหม
(ฟะมิล'เลียไรซ) vt. ทำให้คุ้นเคย, ทำให้เคยชิน, ทำให้รอบรู้, ทำให้รู้จัก, See Also:familiarisation, familiarization n. familiariser, familiarizer n.
(ฟะมิลลิแอ'ริที) n. ความคุ้นเคย, ความสนิทสนม, ความเคยชิน, ความใกล้ชิด, การไม่มีพิธีรีตอง, ความรอบรู้, ความชำนาญ, Syn.intimacy
(ฟะมิล'เลียไรซ) vt. ทำให้คุ้นเคย, ทำให้เคยชิน, ทำให้รอบรู้, ทำให้รู้จัก, See Also:familiarisation, familiarization n. familiariser, familiarizer n.
(แฮบ'บิท) n. นิสัย, ความเคยชิน vt. การแต่งตัว, สวมเสื้อผ้า, อาศัยอยู่ใน, Syn.custom, fashion
adj. ทำให้ติดนิสัย, ทำให้เกิดความเคยชิน