ก. ทำให้อ้าออก เช่น ง้างประตู, ดึงให้ยืดออก เช่น ง้างศร, งัด เช่น ง้างปาก, เหนี่ยว เช่น ง้างไกปืน, เงื้อ เช่น ง้างหมัด.
ว. ทำกิริยาให้เอาใจ, กระเง้ากระงอด ก็ว่า.
ว. มีท่าทางภูมิฐานแลดูงาม.
ว. เสียงอย่างเสียงระฆังดัง, มักใช้ว่า หง่างเหง่ง หรือ เหง่งหง่าง.
ควง เช่น กรเกาะขอกรอธาร เงือดง้าง (ลิลิตพยุหยาตรา).
ว. ทำกิริยาให้เอาใจ, เง้างอด หรือ เง้า ๆ งอด ๆ ก็ว่า.
เอามือแงะหรือง้างสิ่งที่เกาะติดกันแน่นหรือกอดไว้แน่นให้หลุดออกจากกัน เช่น แกะมือที่กำแน่น.
ก. ไค้, งัดขึ้น, คัดง้าง.
ว. มีกิริยาเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ และสง่างาม เช่น นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย เลื้อยบ่ทำเดโช แช่มช้า (โลกนิติ).
น. มีดพับที่มีสปริง มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งเมื่อกดปุ่มหรือคานสปริงแล้วจึงจะง้างใบมีดออกหรือพับใบมีดเข้าร่องได้ กับอีกชนิดหนึ่ง เมื่อกดปุ่มหรือคานสปริงใบมีดจะดีดออกจากร่องหรือพับเข้าร่องได้.
น. ความสง่างาม, ลักษณะดีงามของคน, เช่น หน้าตามีราศี, โดยปริยายหมายความว่า ความอิ่มเอิบ, ความภาคภูมิ, เช่น ได้ตำแหน่งดี ดูมีราศีขึ้น
เครื่องล่อใจ เช่น เอาสินสะกางสอดจ้าง แข็งดั่งเหล็กเงินง้าง อ่อนได้ดังใจ (ลอ)
ว. อาการที่ม้าวิ่งหรือเดินสะบัดขาอย่างสง่างาม เช่น ว่าพลางทางขับม้าสีหมอก ให้ออกสะบัดย่างวางใหญ่ (ขุนช้างขุนแผน), ฝ่ายสมิงพระรามขึ้นม้าควบไปแต่เวลาเช้าจนสามโมงบ่ายฝึกหัดม้านั้นให้รู้จักทำนองรบรับได้คล่องแคล่วสันทัดแล้ว ก็ชักม้าสะบัดย่างน้องเป็นเพลงทวนกลับมา (ราชาธิราช).
(เหฺง่ง) ว. มีเสียงอย่างเสียงระฆังดัง, มักใช้ว่า หง่างเหง่ง หรือ เหง่งหง่าง.
น. ท่าทาง, อาการ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น พุทธสิหิงค์ ซึ่งเป็นนามพระพุทธรูป หมายความว่า พระพุทธรูปที่มีท่าทางสง่างามดุจราชสีห์.