การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน[นิวเคลียร์]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี, การจำแนกชนิดและตรวจหาปริมาณของธาตุในสารตัวอย่าง โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาลักษณะเฉพาะที่ปลดปล่อยจาก <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดขึ้นจากการนำสารตัวอย่างนั้นไปก่อกัมมันตภาพรังสี (ดู Activation ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ผลผลิตจากการก่อกัมมันตภาพรังสี, <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดจาก<em>การก่อกัมมันตภาพรังสี</em> (ดู Fission products ประกอบ)[นิวเคลียร์]
การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน[นิวเคลียร์]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน, เอ็นเอเอ, การจำแนกชนิดและปริมาณของธาตุในสารตัวอย่างโดยใช้อนุภาคนิวตรอนเป็นตัวกระทำให้เกิดกัมมันตภาพรังสีแก่สารตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ แล้ววัดรังสีแกมมาเฉพาะตัวที่ปลดปล่อยจากนิวไคลด์รังสีที่เกิดขึ้น <br>(ดู activation ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
การกระตุ้นทางเคมี[TU Subject Heading]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสีนิวเคลียร์[TU Subject Heading]
การกระตุ้น, การเร่งโดยกระตุ้น[การแพทย์]
การกระตุ้นบีเซลล์ที่เดียวหลายๆตระกูล[การแพทย์]
การกระตุ้นระบบคอมปลีเมนต์[การแพทย์]
การกระตุ้นคอมพลีเมนท์[การแพทย์]
การกระตุ้นคอมพลีเมนท์[การแพทย์]
พลังงานของการกระตุ้น[การแพทย์]
พลังงานกระตุ้น, การทำให้เกิดแรงกระตุ้น[การแพทย์]
เอนไซม์, การทำให้ออกฤทธิ์, เอ็นซัยม์, การปลุกฤทธิ์[การแพทย์]
พลังงานก่อกัมมันต์, พลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่โมเลกุลของสารตั้งต้นจำเป็นต้องมีหรือได้รับ จึงจะสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การทำลาย, ทำให้หมดฤทธิ์, กำจัดพวกพิษต่างๆ[การแพทย์]