(แอบ'โบ) ผลิตผลของการเผาผลาญ
ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด
(คันซัมพฺ'เชิน) n. การบริโภค, การเผาผลาญ, การใช้สินค้าหรือการบริการที่มีค่าทางเศรษฐศาสตร์ที่แลกเปลี่ยนได้, วัณโรค, โรคที่ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม, Syn.consuming, utilization
(คันซัมพฺ'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับการบริโภค, มีลักษณะทำลาย, มีลักษณะเผาผลาญ, เป็นหรือมีลักษณะของวัณโรค., See Also:consumptiveness n. ดูconsumptive, Syn.consuming
(คะโร'ซิฟว) adj. ซึ่งกัดกร่อน, ซึ่งเผาผลาญ, ซึ่งทำให้ผุพัง. n. สิ่งกัดกร่อน (เช่นกรด), See Also:corrosiveness n. ดูcorrosive, Syn.scathing
(ดิเวา'เออะ) vt. กลืน, กินอย่างตะกละ ตะกลาม, เผาผลาญ, ใช้อย่างสิ้นเปลือง, หมกมุ่น., See Also:devourer n. ดูdevour devouringly adv. ดูdevour
เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการเจริญเติบโต และเกี่ยวข้องกับขบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกาย
เกิดจาก thyroxin ถูกขัยออกมามากกว่าปกติ ทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารมากทำให้เกิดโรค 2 อย่างคือ 1. exophthalamic goiter เป็นลักษณะคอหอยพอก ใจสั่นเหงื่อออกมาก ชีพจรเต้นเร็ว ตกใจง่าย นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ตาโปนและถลน 2. adenomatous goiter with hyperthyroidism เป็นอาการที่เกิดขึ้นหลังจากต่อมธัยรอยด์โตแล้ว ทำให้เกิดอาการเหมือนชนิดแรก แต่ไม่ใคร่โปนมากนัก
เกิดจาก thyroxin ถูกขัยออกมาน้อยกว่าปกติ ทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารน้อยลง
(มะแทบ'บะไลซ) vt., vi. สันดาป, เผาผลาญ