น. “ผู้บังเกิดแต่ตน”, ลูก, เช่น ใกล้หัตถ์ดลดนุช สองวิสุทธเพาพาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
น. น้อง (โดยมากใช้แก่ผู้หญิง).
น. “ผู้เกิดจากมนู” คือ คน.
(อะนุด) น. “ผู้เกิดภายหลัง”, น้องสาว, นิยมใช้ว่า นุช.
น. คนรุ่นหลัง, คนรุ่นต่อไป.
(อะนุชา) น. “ผู้เกิดภายหลัง”, น้องชาย, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระอนุชา.
(อะนุชาด, อะนุชาดตะ-) น. ผู้เกิดตามมาไม่ดีกว่าหรือไม่เลวกว่าตระกูล.
น. บุตรที่มีคุณสมบัติเสมอด้วยบิดามารดา.
ก. ชนะเนือง ๆ เช่น อนุชิตชาญชัย.
กำหนัด เช่น โอ้เจ้าพี่ศรีสวัสดิ์กำดัดสวาท นุชนาฏแม่อย่าลืมเนื้อความหลัง (โคบุตร).
(กุมาระละลิตา) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๒ คณะ คือ ช คณะ และ ส คณะ และเติมครุข้างท้ายอีก ๑ คำ หรือ ๑ พยางค์ จึงมีบาทละ ๗ คำ หรือ ๗ พยางค์ (ตามแบบว่า กุมารลฬิตาชฺสฺคา) ตัวอย่างว่า อนึ่งนุชมีจิต สนิทกรุณะเปรมปรี ดิสวามิมะนะภักดี ภิบาลบมิอนาทร (ชุมนุมตำรากลอน).
น. กระโดง, ใช้หมายถึง เสากระโดง เช่น กุมกรวรนุชพงาภาองค์ยุพา มาขึ้นคันโดงคอยดู (สุธน).
(เคฺร่า) ก. รอ, คอย, เช่น จงนุชรีบเรียบข้อนเคร่าถ้าจีนคอย (นิ. นรินทร์).
ก. ตาย เช่น เพียงศรีอนุชาชีวาลัย จะผินพักตรพึ่งใครก็ขัดสน (ประชุมเพลงยาว ภาคที่ ๗ เพลงยาวความเก่า).
ทำให้เป็นคนขึ้นมา เช่น อันรูปซึ่งชุบในอัคคี มีนามชื่อลบอนุชา (รามเกียรติ์ ร. ๑)
ก. แต่งงาน เช่น ไม่แต่งการกับพระนุชบุษบา (อิเหนา).
(นาด, นาตะ-, นาดตะ-) น. นางละคร, นางฟ้อนรำ, ใช้ประกอบกับคำอื่น หมายความว่า หญิงสาวสวย เช่น นางนาฏ นุชนาฏ.
ว. อึงมี่, อึกทึก, เช่น จึงดำรัสตรัสชวนอนุชา ลงจากพลับพลาผายผัน พร้อมพวกกระบี่นี่นัน จรจรัลไปยังฝั่งนที (ตับเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย).
ร่ำขอ, ขอด้วยอาการออด, เฝ้าร้องขอให้ทำตามประสงค์, เช่น คำนึงนุชนาฎเนื้อ นวลสมร แม้นแม่มาจักวอน พี่ชี้ (ตะเลงพ่าย).
คำประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม, เนือง ๆ เช่น อนุศาสน์ = สอนเนือง ๆ คือ พรํ่าสอน.