สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน[เทคโนโลยีการศึกษา]
กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง[เทคโนโลยีการศึกษา]
กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม[เทคโนโลยีการศึกษา]
การวัดผลการเรียนรู้[เทคโนโลยีการศึกษา]
การเรียนรู้องค์การ[เทคโนโลยีการศึกษา]
การเรียนรู้องค์การ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
องค์กรแห่งการเรียนรู้[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้[การจัดการความรู้]
ชุมชนนักปฏิบัติ, ชุมชนนักปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีการใช้ในความหมาย ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ชุมชนแนวปฏิบัติ[การจัดการความรู้]
วัฒนธรรมความปลอดภัย, พฤติกรรมขององค์กรและบุคคลในองค์กร ที่สะท้อนการได้รับการปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ทั้งจากการอบรม การเรียนรู้และการถ่ายทอด จนเกิดเป็นนิสัยและเจตคติที่ให้ความสำคัญต่อการระวังป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตัวอย่างเช่น ผู้ปฏิบัติงานทางนิวเคลียร์และรังสี ย่อมรู้ดีว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ใดบ้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น ต้องติดมาตรปริมาณรับรังสี ต้องใช้เครื่องมือหยิบจับสารกัมมันตรังสี มีวัสดุและอุปกรณ์กำบังรังสีที่พอเพียง รวมทั้งการสวมแว่นตาและหน้ากากกันไอระเหย ให้เหมาะสมตามลักษณะของงาน[นิวเคลียร์]
การเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้เป็นทีม[การจัดการความรู้]
โปรแกรมการเรียนรู้เชิงบันเทิง, การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่อที่ให้ผู้เรียนได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน อาจเป็น รูปแบบของเกมเพื่อความบันเทิงผ่านมัลติมีเดีย แต่มีเนื้อหาเป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์[Assistive Technology]
การเรียนแบบโต้ตอบสองทาง, การเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนสามารถควบคุมสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนตามความต้องการของตนเอง ตรงข้ามกับการสอนในชั้นเรียนซึ่งมักจะเป็นการสื่อสารข้างเดียว[Assistive Technology]
สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ[Assistive Technology]
โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ[Assistive Technology]
มหาวิทยาลัยเสมือนจริง, มหาวิทยาลัยเสมือนจริง คือ การศึกษาแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีลักษณะเป็นการสร้างฐานความรู้ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Learning Organization) ที่ใครก็ได้สามารถเรียนรู้จากแหล่งใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้[Assistive Technology]
การเรียนรู้[TU Subject Heading]
การเรียนรู้ของผู้ใหญ่[TU Subject Heading]
การเรียนรู้ด้านมโนภาพ[TU Subject Heading]
กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์[TU Subject Heading]
เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้[TU Subject Heading]
ความบกพร่องในการเรียนรู้[TU Subject Heading]
ยุทธศาสตร์การเรียนรู้[TU Subject Heading]
จิตวิทยาการเรียนรู้[TU Subject Heading]
การเรียนรู้ของเครื่อง[TU Subject Heading]
การเรียนรู้เชิงสังคม[TU Subject Heading]
การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง[TU Subject Heading]
สังคมแห่งการเรียนรู้[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้เชิงปรับตัว[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้เชิงคาดการณ์[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้เชิงปฏิบัติ[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง[การจัดการความรู้]
การจดจำวัตถุด้วยการเรียนรู้, การรู้, พุทธิปัญญาความรู้, ความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ, การมีความรู้ความเข้าใจ, สติปัญญาความรู้[การแพทย์]
ชุมชนเป็นฐาน, การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน[การแพทย์]
การเรียนความคิดรวบยอด, การเรียนรู้ความคิดรวบยอด[การแพทย์]
การเตรียมตัว, การเรียนรู้โดยการฝึก, เงื่อนไข[การแพทย์]
การตัดสินใจโดยอาศัยการเรียนรู้[การแพทย์]
การเรียนรู้, การศึกษา, การให้การศึกษา[การแพทย์]
การเรียนรู้ของปัจเจกบุคคล[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้ของกลุ่ม[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้ขององค์กร[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้แบบชี้นำตนเอง[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้ถึงแก่นแท้[การจัดการความรู้]
วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้แบบพินิจพิเคราะห์[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้แบบทันเวลา[การจัดการความรู้]
การเรียนรู้แบบฝังใจฝังใจ, พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ครั้งแรกในชีวิต โดยเฉพาะในระยะเยาว์วัย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข, พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิดอย่างมีเงื่อนไข คือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้น ๆ ตอบสนองได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]