\n';
// longdo login
longdo_account = new LongdoAccount();
longdo_account.initLongdoLogin();
$('a.logout-a').on('click', longdoLogout);
}
function getElementsByClassName(oElm, strTagName, strClassName){
var arrElements = (strTagName == "*" && document.all)? document.all : oElm.getElementsByTagName(strTagName);
var arrReturnElements = new Array();
strClassName = strClassName.replace(/\-/g, "\\-");
var oRegExp = new RegExp("(^|\\s)" + strClassName + "(\\s|$)");
var oElement;
for(var i=0; i');
$("#search").show();
$("#search").val(search_value);
setRandomSearchBoxName();
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
// $("#contents-showup").next().hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
$('input.translate-type:checked').val('popthai');
$('#textboxPlaceholder').html('');
$("#search").text(search_value);
setRandomSearchBoxName();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function doSubmit(obj) {
var form_obj = obj ? obj.form : document.getElementById("dict");
$(form_obj).attr("method", 'post');
var search_value = $("#search").val();
$("#search").attr('name', "search");
$("#search").hide();
$(".for-popthai").hide();
$(".read-bt, .read-bt-accent").removeClass('translate');
var inpType = $('input.translate-type:checked').val();
if (inpType == 'translate') {
$("#longdo-latest, #contents-showup").show();
$("#contents-showup-popthai").hide();
$("#logo-ads").removeClass('popthai-mode');
$("#search").show();
$(".read-bt, .read-bt-accent").addClass('translate');
if(search_value != "" && !obj) {
window.location = "/search/" + escape(encodeURIComponent(search_value.replace(/\n\r?/g, ' ')));
return false;
} else {
$('#textboxPlaceholder').html(' ');
setRandomSearchBoxName();
}
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
var searchinput = $('#search');
value = search_value;
$('#textboxPlaceholder').html('');
setRandomSearchBoxName();
searchinput = document.getElementById('search');
searchinput.value = value;
searchinput.focus();
searchinput.select();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function checkLan(search_value, isChange) {
var langSelect = $(".translate-language");
if(isChange) {
if(/[-ヿ]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('JP');
} else if(/[\u3400-\u9FBF]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('ZH');
}
$(".is-auto-language").val('true');
} else {
$(".is-auto-language").val('false');
}
$(".search-bt").prop('disabled', true);
}
function isUrl(url) {
var pattern = /^(https?:\/\/)?((([a-z\d]([a-z\d-]*[a-z\d])*)\.)+[a-z]{2,}|((\d{1,3}\.){3}\d{1,3}))(\:\d+)?(\/[-a-z\d%_.~+]*)*(\?[;&a-z\d%_.~+=-]*)?(\#[-a-z\d_]*)?$/i
if(!pattern.test(url)) {
return false;
} else {
return true;
}
};
// logout
function longdoLogout() {
if(longdo_account) {
longdo_account.clearUserSession();
window.location.reload()
}
}
// -->
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ International Standard Bibliographic Descriptionsมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] International Standard Book Numberเลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา] International Standard Book Numberเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : isbn@nlt.go.th 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number"> <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] International Standard Serial Numberเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ไอเอสบีเอ็น [Ai.Ēs.Bī.En.] (x) EN: ISBN (International Standard Book Number) FR: ISBN [ m ] ระดับอินเตอร์ [radap intoē] (n, exp) EN: international standard
国際規格 [こくさいきかく, kokusaikikaku] (n) international standard [Add to Longdo] 国際標準化 [こくさいひょうじゅんか, kokusaihyoujunka] (n) { comp } international standard ization [Add to Longdo] 国際標準図書番号 [こくさいひょうじゅんとしょばんごう, kokusaihyoujuntoshobangou] (n) International Standard Book Number; ISBN [Add to Longdo] 国際標準逐次刊行物番号 [こくさいひょうじゅんちくじかんこうぶつばんごう, kokusaihyoujunchikujikankoubutsubangou] (n) { comp } International Standard Serial Number; ISSN [Add to Longdo] 国内規格化 [こくないきかくか, kokunaikikakuka] (n, vs) international standard ization; international standard isation [Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions
บริการ ติดโพย (PopThai)
เป็นบริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ โดยผู้ใช้สามารถป้อนข้อความ ทีละประโยค หรือ เป็นหน้าเลยก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทีละคำสองคำ
ระบบจะทำการแนบความหมายของคำหรือวลีภาษาต่างประเทศ
(ปัจจุบันสนับสนุน ภาษาอังกฤษ, ญี่ปุ่นและเยอรมัน )
ติดกับเนื้อหานั้นๆ และจะแสดงผลความหมายเมื่อเอาเมาส์ไปวางเหนือคำหนึ่งๆ
ช่วยให้สามารถเข้าใจเนื้อหาของเวบภาษาต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ความหมายของคำจะปรากฏขึ้นมาเมื่อท่านเอาเมาส์ไปวางบนคำหรือวลีที่มีอยู่ในพจนานุกรม
โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มใดๆ
ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างนี้
คุณสมบัติ / Features
แสดงความหมายของคำโดยอัตโนมัติ เพียงวางเมาส์ไว้บนคำที่ต้องการทราบความหมาย
สนับสนุนเวบหลากภาษา (ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น และเยอรมัน)
ค้นหาความหมายจากพจนานุกรมหลายชุดพร้อมๆกัน ในฐานข้อมูลของ Longdo ได้แก่
Lexitron2, Hope, Nontri, Longdo อังกฤษ-ไทย, Longdo เยอรมัน-ไทย เป็นต้น
แสดงได้ทั้งความหมายของคำเดี่ยว และคำผสม ได้อย่างถูกต้อง
เช่น Secretary of State=รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ (ในภาพตัวอย่าง),
High school=โรงเรียนมัธยมปลาย
แสดงความหมายของคำที่แปรรูปจากคำในพจนานุกรมได้ เช่น
เมื่อวางเมาส์ไว้บนคำว่า executed/abusing ซึ่งไม่มีในพจนานุกรม
เครื่องจะแสดงความหมายของคำว่า execute/abuse ให้โดยอัตโนมัติ
เรียกใช้งานได้ง่ายเพียงกดปุ่ม PopThai บน
Longdo Toolbar
เพื่อแนบความหมายหน้าจอที่เปิดชมอยู่ในขณะนั้น
แก้ไข Link ในหน้าที่แสดง เพื่อให้สามารถเปิดชม Link เหล่านั้นผ่านบริการ PopThai
ได้ทันทีเช่นเดียวกัน
สนับสนุนบราวเซอร์ชั้นนำทั่วไป เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Safari, Konqueror, etc.
แสดง Link ให้ผู้ใช้ช่วยป้อนความหมายสำหรับคำที่ยังไม่มีอยู่ในพจนานุกรม
ใหม่: บริการ Vocabulary แสดงสรุปรายการคำศัพท์พร้อมความหมาย สำหรับพิมพ์ออกมาอ่านได้สะดวก
วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Vocabulary แทน PopThai. (PopThai ในโหมดปกติ จะเหมาะกับการใช้งาน on-line
หน้าจอคอมพิวเตอร็ ส่วนบริการ Vocabulary เหมาะสำหรับท่านที่ต้องการพิมพ์รายการคำศัพท์และความหมายออกมาบนกระดาษไว้อ่าน off-line)
ใหม่: บริการ Pronunciation Guide แสดงคำอ่านของคำใน เว็บ หรือ text ที่ป้อนให้ ข้างบนคำนั้นๆ, นอกเหนือไป
จากการแสดง pop-up ความหมาย. วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Pronunciation.
ขณะนี้ใช้ได้กับภาษาอังกฤษ (แสดงคำอ่านภาษาอังกฤษ) และภาษาญี่ปุ่น (แสดง hiragana เหนือคันจิ). บริการนี้
ใช้ extension ของ browser ที่ชื่อ Ruby ปัจจุบันมีแค่ IE browser ที่สนับสนุน ถ้าเป็น browser อื่นๆ จะเห็นคำอ่านปรากฎในวงเล็บแทน
วิธีใช้
ท่านสามารถป้อนเนื้อหาหรือ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการให้แนบความหมายนี้ ในช่องใส่ข้อความค้นหาปกติ
หลังจากนั้นเลือกบริการที่ต้องการ (เช่น ถ้าป้อนข้อความ ให้เลือก PopThai (text) ถ้าป้อน URL ให้เลือก PopThai (URL)) ถ้าท่านไม่เลือกบริการ
ระบบจะเดาบริการที่ท่านต้องการ จากข้อความที่ท่านใส่เข้ามา (ว่าเป็นข้อความหรือเป็น URL) โดยอัตโนมัติ,
จากนั้นกด Submit เป็นอันเสร็จ
ในกรณีที่ท่านใส่ URL ระบบจะไปทำการดาวน์โหลดเนื้อหาของหน้านั้นๆ มาและแนบความหมาย พร้อมแก้ไขลิงค์ต่างๆ ให้เป็นผ่านบริการ PopThai เ
พื่อที่ว่าเมื่อท่านกดที่ลิงค์ใดๆ ต่อไปจากเพจนั้นๆ ก็จะมีการแนบความหมายมาให้ด้วยในทันที
เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้ท่านสามารถใช้ PopThai ผ่าน Longdo Toolbar โดยเมื่อท่านเปิดดูเว็บไซต์ใดๆ อยู่ตามปกติ และต้องการใช้บริการ PopThai สำหรับ
หน้านั้นๆ สามารถทำได้ทันที โดยคลิกที่ปุ่ม PopThai บน Toolbar รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดอ่านที่ Longdo Toolbar
คำเตือน ในกรณีของ URL นี้ ถึงแม้ทางผู้ดูแลระบบลองดูจะได้ทำการทดสอบกับหลายเว็บไซต์
แล้วก็ตาม ยังมีบางเว็บไซต์ที่ข้อมูลเวลาที่ระบบไปโหลดมาจะแตกต่างจากที่ท่านเปิดดูโดยใช้ browser โดยตรง โปรดระวังด้วย และไม่ควรใช้กับหน้าเว็บไซต์ที่
ต้องการความถูกต้องสูง)
Problems & TODO
inflected word support (German)
support HTTP POST
other foreign language support (Japanese, French)
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม