670 ผลลัพธ์ สำหรับ *พูด*
หรือค้นหา: พูด, -พูด-

Longdo MED - TH
CA (ซีเอ)(n) ใช้เป็นคำย่อเวลาเรียก โรคมะเร็ง (มาจากคำว่า cancer) อาจตามด้วยอวัยวะที่เกิดโรค เช่น CA liver (พูดว่า ซีเอ ลิเว่อ) หมายถึง มะเร็งตับ

Longdo TH - TH
ซึน (ซึนเดเระ)(n, adj, slang) พวกไม่พูดตรงๆ ชอบเก็บอาการ เสแสร้ง
โล้สำเภา(vt) (โบราณ) มีเพศสัมพันธ์ ตัวอย่าง เช่น เคยละเล่นโล้สำเภาฤาไม่ มาเถิดพี่จักสอนให้, เป็นที่พูดถึงในช่วงละครโทรทัศน์บุพเพสันนิวาส ช่อง 3 ปี 2561

Longdo TH-NE-N - TH
เว้า(vi, vt) พูด
แหน่[แน^] (adv) หน่อย ใช้ประกอบท้ายคำพูด เช่น ขอแหน่ = ขอหน่อย

Longdo CN - TH
口吃[kǒu chī, ㄎㄡˇ ㄔ,  ] ติดอ่าง, พูดติดอ่าง

Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
grean[เกรียน] (n, adj, adv) 1. หมายถึงนิสัย หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ไม่เคารพผู้อื่น หรือ ทำตัวไม่ดี เช่น พูดจาไม่ดี(ปากเสีย) 2. ผมสั้นติดหนังหัว เช่น ผมเกรียน หรือหัวเกรียน(คำไม่สุภาพ)

Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa.วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo
พูดกรอกหู(vi, phrase) to talk into a person's ear, to drop a hint or make a complaint which is intended for the ears of a particular person present

Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
บ่องตง(slang) บอกตรงๆ ซึ่งเป็นภาษาวัยรุ่นในปัจจุบัน นิยมใช้ในอินเตอร์เน็ต และ ภาษาพูดทั่วไป
ลิขสิทธิ์ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้.
ลิขสิทธิ์ข้อสังเกต ไม่ควรมีเนื้อหาข้างล่าง ในส่วนต้นของคำ 'ลิขสิทธิ์' เพราะ ไม่ใช่ definition / คำแปล / คำจำกัดความ: ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้.
อย่าหาทำ(slang) อย่าได้คิดจะทำ อย่าได้ทำ, ​ แสดงถึงความไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งในการที่ผู้พูดจะทำสิ่งนั้น
เหมียน[เหมียน] (jargon) เหมือน เป็นการพูดให้ดูน่ารักขึ้น
แม่ง[แม่ง] (slang) เป็นคำอุทานที่มักใช้พูดกันเวลาอารมณ์เสียหรือไม่พอใจในสิ่งที่เกิดขึ้น มีสันนิษฐานว่าเกิดมาจากการกล่อนคำของคำว่า แม่มึง แต่ไม่ได้ใ้ช้ในความหมายนี้ แต่เป็นเพียงแค่คำอุทาน ตัวอย่าง แม่งเอ้ย วันนี้ถูกหวยแดกอีกแล้วกู หรือในสมัยก่อนเวลาตกใจบางคนอาจจะอุทานว่า อุ๊ยแม่มึง!!!
แล้ว(jargon) เสร็จ, จบสิ้น, แล้วเสร็จ นอกจากจะใช้เป็นคำลงท้ายเพื่อบ่งบอกว่าเรื่องนั้นจบลงหรือเสร็จสิ้น คนเหนือยังใช้คำคำนี้แทนคำว่า “เสร็จ” ทำให้บางครั้งก็จะเผลอพูดทับลงไปตรงๆเวลาพูด เช่น “ฉันกินข้าวจะแล้วแล้วนะ” ก็แปลได้ว่า “ฉันกินข้าวจะเสร็จแล้วนะ”

Longdo Unapproved TH-NE-N - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สำมะแจ๋(adv) อาการพูดมากและไม่เป็นความจริง

Longdo Unapproved TH-SOUTH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หลำ[หล๋ำ] (vt) มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำ, See also: S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ
แหลง(vt) พูด

Longdo Unapproved TH-NORTH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
อู้(vi) พูด
เปิ้น(pron) เค้า, เรา (สรรพนามเรียกแทนตัวผู้พูด)

Longdo Unapproved KO - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
언니(n, pron) พี่สาว (ใช้เมื่อผู้พูดเป็นผู้หญิง)

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
พูด(v) say, See also: tell, state, mention, express, Syn. กล่าว, บอก, Example: ฉันพูดกับเขาไม่รู้กี่ครั้งต่อกี่ครั้งแล้ว เขาก็ไม่ฟัง, Thai Definition: เปล่งเสียงออกเป็นถ้อยคำเพื่อบอกกล่าวให้ฟัง
พูด(v) talk, See also: say, chatter, discuss, speak, Syn. สนทนา, คุย, พูดคุย, Example: เราทำงานอยู่ที่เดียวกันแต่ไม่เคยพูดกันสักที, Thai Definition: เปล่งเสียงออกเป็นถ้อยคำกับคู่สนทนา
พูด(v) mention, See also: speak of, speak about, refer to, Syn. พูดถึง, Example: เขาเรียกประชุมบรรดาบรรณาธิการทั้งหลาย เพื่อพูดถึงปัญหาต่างๆ, Thai Definition: เปล่งเสียงออกเป็นถ้อยคำเพื่ออ้างถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
คำพูด(n) speech, See also: words, discourse, remark, vocable, utterance, Syn. ถ้อยคำ, วลี, คำกล่าว, วาจา, Example: คำพูดของครูทำให้เขามีกำลังใจที่จะเรียนต่อในระดับสูงขึ้นไป, Count Unit: คำ
บทพูด(n) dialogue, See also: conversation, Example: งานแสดงของเขาเริ่มต้นด้วยการเป็นตัวประกอบและมีบทพูดเพียงไม่กี่ประโยค, Thai Definition: บทสนทนาในละครหรือภาพยนตร์
พูดจา(v) speak, See also: confer, Syn. เจรจา, พูด, พูดคุย, Example: ฉันว่าเรามาพูดจากันให้รู้เรื่องไปเลย ดีกว่าปล่อยคาไว้แบบนี้, Thai Definition: พูดคุยหรือปรึกษาหารือกัน
พูดปด(v) lie, See also: tell a lie, Syn. โกหก, พูดเท็จ, โป้ปดมดเท็จ, Example: คุณจะพูดปดต่อวุฒิสภาไม่ได้เด็ดขาด, Thai Definition: พูดไม่จริง
พูดเส(v) evade, Syn. พูดเฉไฉ, พูดเชือนแช, Example: พอจะพูดจริงจังกับเขา เขาก็พูดเสไปเรื่อยไม่เข้าเรื่องเสียที, Thai Definition: พูดไปเรื่องอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง
นักพูด(n) orator, See also: expert speaker, Example: งานนี้ได้เชิญนักพูดที่มีชื่อเสียงมากมายมาร่วมงานด้วย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความสามารถด้านการใช้ถ้อยคำสำนวนโวหารให้ประทับใจ
ผู้พูด(n) speaker, See also: spokesman, orator, Ant. ผู้ฟัง, Example: ในการสื่อสารนั้นผู้พูดและผู้ฟังต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคำ
พูดคุย(v) chat, See also: talk, converse, chatter, Syn. สนทนา, คุย, Example: หลวงปู่สามารถพูดคุยได้กับทุกๆ คนและทุกๆ เรื่องอย่างสนุกสนาน, Thai Definition: พูดจาคุยกันกับผู้อื่น
พูดตลก(v) joke, See also: tell a joke, jest, Example: แกนี่ชอบพูดตลกอยู่เรื่อย คนอื่นเขาหัวเราะกันท้องแข็งแล้ว, Thai Definition: พูดเรื่องที่ชวนให้ผู้อื่นขำขัน
พูดตาม(v) repeat after, Syn. ว่าตาม, กล่าวตาม, Example: นักศึกษาทั้งหมดพูดตามผู้นำนักศึกษา
พูดถึง(v) mention, See also: talk about, speak of, refer to, Syn. เอ่ยถึง, กล่าวถึง, Example: ในส่วนที่เหลือเราจะพูดถึงโรงงานสำหรับอนาคต
พูดมาก(v) be talkative, See also: babble, be chatty, be gabby, Syn. จ้อ, พูดพร่ำ, พูดพล่าม, พูดเป็นต่อยหอย, พูดน้ำไหลไฟดับ, Example: เขาพูดมากเกินไปจนพวกเราทุกคนเริ่มรู้สึกหมั่นไส้ขึ้นมา, Thai Definition: อาการที่พูดไม่หยุดหรือพูดไร้สาระในเรื่องนั้น
พูดรัว(v) speak rapidly and clearly, Ant. พูดยานคาง, Example: ยาลดความอ้วนก่อให้เกิดอาการหัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ทรงตัวลำบาก ม่านตาขยาย พูดรัว ปวดศีรษะ เป็นต้น, Thai Definition: พูดเร็วและไม่ชัดเจน
พูดล้อ(v) tease, See also: josh, mock, Syn. พูดล้อเล่น, พูดหยอกล้อ, กระเซ้า, พูดหยอกเย้า, พูดเย้าแหย่, Example: เขาพูดล้อแค่นี้ทำเป็นโกรธเป็นจริงเป็นจังไปได้
พูดว่า(v) blame, See also: accuse, Syn. นินทา, กล่าวร้าย, กล่าวโทษ, ตำหนิ, ว่าร้าย, Example: เขาพูดว่าให้เจ็บแสบเธอยังไม่รู้สึกตัวอีกหรือ
พูดสอด(v) interrupt, See also: interfere, heckle, barrack, butt in, chime in, put in one's oar, intrude, Syn. พูดแทรก, Example: เขาพูดสอดขึ้นมาทันทีเพราะกลัวจะถูกใส่ร้าย, Thai Definition: พูดแทรกขึ้นมากลางคันในระหว่างที่คนอื่นกำลังพูดอยู่
พูดหัว(v) talk cheerfully and humorously, Example: ยายชอบพูดหัวกับเด็กๆ ที่บ้านทุกคน จนหลานๆ ติดกันแจ, Thai Definition: พูดหัวเราะต่อกระซิก
ช่างพูด(v) be talkative, See also: be full of talk, be chatty, Syn. ช่างเจรจา, ช่างพูด, พูดเก่ง, คุยเก่ง, พูดมาก, ช่างเจรจา, จ้อ, ช่างจำนรรจา, Ant. เงียบขรึม, เป็นใบ้, Example: ผู้บอกภาษาที่เฉลียวฉลาดและช่างพูด จะช่วยให้งานดำเนินไปเร็วขึ้น
พร่ำพูด(v) be garrulous, See also: talk unceasingly, Syn. พูดพร่ำ, พร่ำ, Ant. เงียบ, ปิดปากเงียบ, Example: ผู้เฒ่าปล่อยให้ชายฉกรรจ์พร่ำพูดอยู่คนเดียวจนเหนื่อยหมดแรง, Thai Definition: พูดเหมือนกันและติดๆ กัน
พูดพร่ำ(v) chatter, See also: prattle, blather, babble, natter, rabbit on, schmooze, Syn. พูดพล่าม, พูดรำพัน, พูดพร่ำเพรื่อ, Example: คุณอย่ามัวพูดพร่ำอยู่เลย จะทำอะไรก็ทำลงไปเลย, Thai Definition: ี่พูดมากจนเสียประโยชน์, อาการที่พูดไม่รู้จักจบ
พูดอ้อม(v) beat around the bush, Syn. พูดวกวน, พูดอ้อมค้อม, Ant. พูดกระชับ, พูดตรงไปตรงมา, Example: เรื่องบางเรื่องเราควรพูดอ้อมบ้างเพื่อรักษาน้ำใจผู้อื่น, Thai Definition: พูดเรื่องอื่นก่อนที่จะวกมาพูดเรื่องที่ต้องการ
พูดเท็จ(v) lie, See also: tell a lie, tell a falsehood, Syn. พูดปด, โกหก, โป้ปดมดเท็จ, Example: ลูกชายของเขาจะพูดเท็จอย่างไร เขาก็ยังเชื่อลูกชายของเขาอยู่ดี, Thai Definition: พูดไม่จริง
พูดเปรย(v) hint, See also: give a hint, insinuate, indicate, imply, intimate, Syn. เปรย, พูดเปรยๆ, Example: เขาพูดเปรยเรื่องสึกกับอาตมามานานแล้ว, Thai Definition: กล่าวขึ้นมาลอยๆ, กล่าวนำมาก่อนหน้าแล้ว
พูดเล่น(v) joke, See also: josh, jest, Syn. พูดล้อเล่น, พูดเล่นๆ, Example: ฉันก็แค่พูดเล่นไปอย่างนั้นเอง ไม่ได้ตั้งใจะทำให้เขาเสียใจเลย, Thai Definition: ไม่ได้หมายความจริงจังอย่างที่พูด
พูดแทรก(v) interrupt, See also: break into, Syn. พูดขัดจังหวะ, พูดคั่น, พูดสอด, Example: อย่าพูดสอดหรือพูดแทรก ขณะผู้อื่นกำลังกล่าวแสดงความคิดเห็น, Thai Definition: พูดขึ้นมาขณะที่ผู้อื่นกำลังพูด
ภาษาพูด(n) colloquialism, Ant. ภาษาเขียน, Example: เนื่องจากเด็กยังไม่เข้าใจภาษาพูดได้ เขาจึงมีความรู้สึกไวเป็นพิเศษต่อกิริยาท่าทาง, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน
ละครพูด(n) dialogue play, See also: legitimate drama, Thai Definition: ละครพูดเจรจา ได้แบบจากตะวันตก เป็นละครที่เล่นอย่างชีวิตจริง
คนพูดมาก(n) big mouth, See also: talkative person, Example: คนพูดมากเป็นคนน่ารำคาญ มักไม่มีใครอยากพูดด้วย
ถอนคำพูด(v) retract one's words, See also: retract one's statement, Example: ฝ่ายรัฐบาลขอให้ฝ่ายค้านถอนคำพูดที่ดูหมิ่นนายกรัฐมนตรี, Thai Definition: ยกเลิกคำที่พูดไปแล้ว ให้เป็นเหมือนว่าไม่เคยพูดคำนั้นมาก่อน
ผิดคำพูด(v) break one's word, See also: go back on one's word, Syn. ผิดสัญญา, Example: นายกรัฐมนตรีไม่ควรผิดคำพูดกับประชาชน, Thai Definition: ไม่ทำตามสัญญา
พูดงึมงำ(v) murmur, See also: grumble, mutter, Syn. พูดพึมพำ, Example: พ่อเลี้ยงพูดงึมงำคล้ายปลอบเจ้าพลายอยู่ในเพิงข้างบ้าน, Thai Definition: พูดเสียงเบาหรืออยู่ไกลทำให้ได้ยินไม่ถนัด
พูดพล่าม(v) ramble, Syn. พล่าม, พูดเพ้อเจ้อ, พูดเรื่อยเปื่อย, Example: ทุกครั้งที่พบกันเขาจะต้องพูดพล่ามแต่เรื่องความเลอเลิศของมหาวิทยาลัยที่เขาจบปริญญาโทมา, Thai Definition: อาการที่พูดมากจนเสียประโยชน์, อาการที่พูดเหลวไหลไม่รู้จักจบ
พูดโพล่ง(v) blurt out, See also: blab, say something unthinkingly, Syn. พูดตรง, พูดโผงผาง, Example: ุเธอพูดโพล่งออกมาอย่างไม่ได้ตั้งใจถึงความไม่ดีของเขา, Thai Definition: พูดอย่างไม่ยับยั้ง, พูดอย่างตรงไปตรงมา
สุดคำพูด(v) have nothing to say, Thai Definition: ไม่มีอะไรจะพูดอีก
เสียงพูด(n) voice, See also: speech, speaking voice, Example: เมื่ออายุ 9-10 เดือน เด็กจะเริ่มเลียนเสียงพูดของคนอื่น, Thai Definition: เสียงที่เกิดจากการพูด
พูดซ้ำซาก(v) repeat, See also: reiterate, restate, Syn. พูดจำเจ, Example: แม่พูดซ้ำซากจนฉันรำคาญจะแย่อยู่แล้ว, Thai Definition: พูดแล้วพูดอีกอย่างเรื่องเดียวกันร่ำไป
พูดถากถาง(v) say ironically, See also: say satirically, say sarcastically, Syn. พูดเหน็บแนม, Example: ผู้คนในซอยพูดถากถางหล่อนว่า ชอบแย่งสามีคนอื่น แต่เธอก็ไม่เคยโกรธ, Thai Definition: ค่อนว่า, หรือพูดมีเจตนาว่าให้เจ็บใจ
พูดเป็นไฟ(v) speak fluently, See also: be eloquent, Syn. พูดเป็นน้ำไหลไฟดับ, พูดคล่อง, Example: เวลาประชุมทีไรหล่อนก็พูดเป็นไฟแบบนี้ คนในที่ประชุมอ้าปากค้างกันหมด, Thai Definition: พูดคล่องเหลือเกิน
พูดไม่ถูก(v) be speechless, Syn. พูดไม่ออก, Example: ฉันพูดไม่ถูกว่าตอนนี้ฉันกำลังรู้สึกอย่างไร, Thai Definition: ไม่รู้ว่าจะพูดออกไปอย่างไรดี
พูดไม่ออก(v) stick to one's throat, Syn. อ้ำอึ้ง, อึ้ง, พูดไม่ถูก, Example: เขาพูดไม่ออกเพราะคอหอยมันตีบขึ้นมาเฉยๆ แต่รู้สึกตื้นตันในหัวใจ, Thai Definition: อาการที่ใจรู้สึกแต่ไม่สามารถพูดออกมาได้
อ้างคำพูด(v) quote, Example: แหล่งข่าวอ้างคำพูดของนายทหารระดับสูงที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้, Thai Definition: กล่าวถึงคำพูดที่พูดออกไป
เสียคำพูด(v) break one's promise, Example: เดี๋ยวนี้ไม่มีคนเชื่อถือเขาแล้ว เพราะเขามักชอบเสียคำพูด, Thai Definition: ไม่รักษาคำพูด, เสียสัจจะ
ไม่พูดถึง(v) not mention, See also: not refer to, not talk about, Syn. ไม่กล่าวถึง, ไม่เอ่ยถึง, Ant. กล่าวถึง, พูดถึง, เอ่ยถึง, Example: มาคราวนี้ท่านไม่พูดถึงนางสนมคนนั้นอีกเลย
ช่างพูดคุย(v) be talkative, See also: be full of talk, be chatty, Syn. ช่างเจรจา, ช่างพูด, พูดเก่ง, คุยเก่ง, พูดมาก, ช่างเจรจา, จ้อ, ช่างจำนรรจา, Ant. เงียบขรึม, เป็นใบ้, Example: จากคนที่เคยช่างพูดคุย เดี๋ยวนี้เขากลายเป็นคนเงียบขรึม
พูดทิ่มแทง(v) say sarcastically, See also: say satirically, say ironically, Syn. พูดถากถาง, พูดเหน็บแนม, พูดแทงใจดำ, Example: แม่ชอบพูดทิ่มแทงให้ฉันเจ็บใจเรื่องที่ฉันท้องไม่มีพ่อ, Thai Definition: อาการที่พูดเสียดสีให้เจ็บใจ
พูดเป็นนัย(v) imply, See also: hint, give a hint, insinuate, indicate, intimate, Syn. พูดบอกใบ้, Example: เธอพูดเป็นนัยเหมือนกับรู้เรื่องของเราสองคนแล้ว, Thai Definition: กล่าวให้รู้ชั้นเชิงอยู่ในที
พูดเหลวไหล(v) talk nonsense, See also: drivel, talk through one's hat, blather, babble, prate, Syn. พูดเลอะเทอะ, พูดพร่ำเพ้อ, พูดเพ้อเจ้อ, Example: พ่อว่าน้องพูดเหลวไหลเรื่องผีที่เจอในห้องนอน, Thai Definition: พูดอย่างไม่มีสาระเชื่อถือไม่ได้

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จับเข่าคุยกัน, จับหัวเข่าพูดก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด.
จับหัวเข่าพูด, จับเข่าคุยกันก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด.
ผิดคำพูดว. ไม่รักษาคำพูด, ผิดวาจา ก็ว่า.
พูดก. เปล่งเสียงออกเป็นถ้อยคำ, พูดจา ก็ว่า.
พูดคล่องเหมือนล่องน้ำก. พูดไม่ติดขัด เช่น สารพัดพูดคล่องเหมือนล่องนํ้า (ไกรทอง), พูดคล่องเป็นล่องนํ้า ก็ว่า.
พูดจนลิงหลับก. พูดจนผู้ฟังเคลิบเคลิ้มไปตาม.
พูดจริงทำจริงก. ทำได้อย่างที่พูดไว้, รักษาคำพูด.
พูดจาก. พูด.
พูดดีเป็นศรีแก่ปากน. พูดดีเป็นที่นิยมชมชอบ.
พูดเป็นต่อยหอยก. พูดฉอด ๆ ไม่หยุดปาก.
พูดเป็นนัยก. พูดอ้อม ๆ โดยไม่บอกเรื่องราวตรง ๆ.
พูดเป็นน้ำไหลไฟดับ, พูดเป็นไฟก. พูดคล่องเหลือเกิน.
พูดไปสองไพเบี้ยนิ่งเสียตำลึงทองก. พูดไปไม่มีประโยชน์ นิ่งเสียดีกว่า.
พูดสดก. พูดโดยมิได้เตรียมมาก่อน.
พูดอย่างมะนาวไม่มีน้ำก. พูดห้วน ๆ.
มะพูด ๑น. ชื่อไม้ต้นชนิด Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz ในวงศ์ Guttiferae ใบใหญ่หนาเป็นมัน ผลกลมเป็นพู ๆ รสเปรี้ยวอมหวาน.
มะพูด ๒ว. ชื่อสีเขียวใบไม้แก่.
ไม่พูดพร่ำทำเพลงว. ไม่รอให้ชักช้า, ทันทีทันใด.
รักษาคำพูดก. ทำตามถ้อยคำที่พูดให้สัญญาไว้.
ละครพูดน. ละครแบบหนึ่ง รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครพูดบทของตนในการดำเนินเรื่อง อาจพูดเป็นถ้อยคำธรรมดา คำกลอน คำฉันท์ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ ละครพูดคำกลอนเรื่องพระร่วง ละครพูดคำฉันท์เรื่องมัทนะพาธา.
ละครพูดสลับลำน. ละครที่มีบทสำหรับร้องแทรก ส่วนที่ร้องเป็นการย้ำเนื้อหาที่พูดด้วยบทไว้แล้ว ถ้าตัดการร้องเหลือแต่การพูดก็ยังเป็นละครพูดได้.
สอนพูดว. เรียกเด็กที่เริ่มหัดพูด ว่า เด็กสอนพูด.
สีชมพูดงดู กระติ๊ด.
เสียคำพูดก. ไม่ทำตามที่พูดไว้, ไม่รักษาคำพูด.
อมพระมาพูดใช้ในการพูดโดยอ้างพระหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประกอบเป็นพยาน มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ต่อให้อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ.
กรวมกำกวม เช่น พูดกรวมข้อ.
กรอก ๑(กฺรอก) ก. เทลงในช่องแคบ เช่น กรอกหม้อ กรอกขวด, หรือใช้โดยปริยายก็ได้ เช่น พูดกรอกหู
กระจุ๋งกระจิ๋งก. พูดกันเบา ๆ ทำเสียงเล็กเสียงน้อยน่าเอ็นดู, จุ๋งจิ๋ง ก็ว่า.
กระจุ๋งกระจิ๋งว. อาการที่พูดกันเบา ๆ ทำเสียงเล็กเสียงน้อยน่าเอ็นดู, จุ๋งจิ๋ง ก็ว่า.
กระจู๋กระจี๋ก. พูดกันเบา ๆ ด้วยอาการสนิทสนม, จู๋จี๋ ก็ว่า.
กระจู๋กระจี๋ว. อาการที่พูดกันเบา ๆ ด้วยความสนิทสนม, จู๋จี๋ ก็ว่า.
กระชากก. ดึงเข้ามาโดยเร็วและแรง เช่น กระชากผม, โดยปริยายหมายความว่า กระตุกโดยแรง เช่น ออกรถกระชาก, พูดกระแทกเสียงดังห้วน ๆ ในความว่า พูดกระชากเสียง, มักใช้เข้าคู่กับคำ กระโชก เป็น กระโชกกระชาก.
กระโชกว. กระแทกเสียง เช่น พูดกระโชก เห่ากระโชก
กระโชกกระชั้นว. อาการพูดกระแทกเสียงถี่ ๆ.
กระโชกกระชากว. อาการพูดอย่างตวาดหรืออย่างกระแทกเสียง.
กระโชกโฮกฮากว. อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, โฮกฮาก ก็ว่า.
กระซาบก. พูดเบา ๆ เช่น ค่อยกระซาบคำเกลี้ยง (ลอ), นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระซิบ เป็น กระซิบกระซาบ.
กระซิบก. พูดเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระซุบ เป็น กระซุบกระซิบ.
กระซิบกระซาบก. บอกความหรือคุยกันด้วยเสียงเบา ๆ เพื่อให้ได้ยินเฉพาะผู้ที่พูดด้วย.
กระซี้กระซ้อว. อาการที่พูดหรือแสดงความสนิทชิดเชื้อเพื่อประจบเอาใจ.
กระซุบกระซิบก. พูดกันเบา ๆ.
กระเซ้าก. พูดรบเร้า, พูดเย้าแหย่.
กระเซ้ากระซี้ก. พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, เซ้าซี้ ก็ว่า.
กระแซะก. ขยับกระทบเข้าไป เช่น ขยับตัวกระแซะเข้าไป พูดเลียบเคียงกระแซะเข้าไป.
กระดาก ๑ก. รู้สึกขวยเขิน, วางหน้าไม่สนิท, ตะขิดตะขวงใจไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทำเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย.
กระดากปาก, กระดากลิ้นก. ตะขิดตะขวงใจที่จะพูดในเรื่องที่ไม่ควรพูด.
กระติ๊ด ๑น. ชื่อนกขนาดเล็ก ในวงศ์ Estrildidae ปากสั้นหนารูปกรวยปลายแหลม หัวกลม ลำตัวอ้วนป้อม มีหลายสี ปลายหางแหลม ใช้หญ้าทำรังเป็นรูปกลมอยู่บนพุ่มไม้เตี้ย ๆ หรือกอหญ้า ปากรังอยู่ทางด้านข้าง กินเมล็ดพืช มีหลายชนิด ที่พบมาก คือ กระติ๊ดขี้หมู [ Lonchura punctulata (Linn.) ] ชนิดอื่น ๆ เช่น กระติ๊ดเขียวหรือไผ่ [ Erythrura prasina (Sparrman) ] กระติ๊ดแดงหรือสีชมพูดง [ Amandava amandava (Linn.) ] กระติ๊ดท้องขาว[ Lonchura leucogastra (Blyth) ], กะทิ ก็เรียก.
กระทบก. โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย), หรือ ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย), พูดหรือทำให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด.
กระเท่เร่ว. เอียงทื่ออยู่, เอียงไปมาก, มักพูดเข้าคู่กับ เอียง เป็น เอียงกระเท่เร่, โดยปริยายหมายความว่า ลำเอียงมาก.
กระแทกโดยปริยายหมายถึง อาการที่พูดกระชากเสียงให้ดังผิดปรกติแสดงว่าไม่พอใจหรือโกรธ เช่น กระแทกเสียง.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
palilaliaอาการพูดซ้ำเร็ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
palilogiaอาการพูดซ้ำซาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
phonationการเปล่งเสียงพูด [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
phonation typeลักษณะเสียงพูด [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
logo-คำพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
logoplegiaอัมพาตอวัยวะใช้พูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
law, gagกฎหมายลิดรอนเสรีภาพ (ในการพูด การเขียน และการร้องทุกข์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
lingual titubation; dysphemia; stammering; stutteringการพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
logorrhea; logorrhoea; verbomaniaอาการพูดไม่หยุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
logorrhoea; logorrhea; verbomaniaอาการพูดไม่หยุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
logosคำพูด, ถ้อยคำ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
resonance, vocalการสั่นพ้องเสียงพูด, การกำธรเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
rhinolaliaเสียงพูดจมูกบี้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
slurred speech; speech, clipped; speech, scampingอาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
stammerพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
staccatoตะกุกตะกัก (พูด) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
stuttering; dysphemia; stammering; titubation, lingualการพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
scamping speech; speech, clipped; speech, slurredอาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
stammering; dysphemia; stuttering; titubation, lingualการพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
spellbinderนักพูดตรึงใจผู้ฟัง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
soapbox oratorนักพูดข้างถนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech centre; centre, Broca'sศูนย์พูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech recognitionการรู้จำคำพูด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
staccato speechอาการพูดทีละพยางค์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
stomatolaliaการพูดเสียงจมูกบี้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech, clipped; speech, scamping; speech, slurredอาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech, incoherentอาการพูดไม่ปะติดปะต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech, jumbledอาการพูดคละคำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech, scamping; speech, clipped; speech, slurredอาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech, slurred; speech, clipped; speech, scampingอาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
speech, staccatoอาการพูดทีละพยางค์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
somniloquistผู้ละเมอพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oxylalia; tachylaliaการพูดเร็ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oesophageal speech; esophageal speechการพูดด้วยลมช่องหลอดอาหาร [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
orator, soapboxนักพูดข้างถนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
aphrasiaภาวะเสียการสื่อการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
aphasia, intellectual; aphasia, trueภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์พูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
aphasia, true; aphasia, intellectualภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์พูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
asideการพูดป้อง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
area, Wernicke's second motor speech; field, Wernicke's; zone, Wernicke'sศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
jumbled speechอาการพูดคละคำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
bradylaliaอาการพูดช้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
bilingualismการพูดได้สองภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
bilingualพูดได้สองภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
breathy voiceเสียงพูดลมแทรก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
Broca's centre; centre, speechศูนย์พูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
mute๑. คนใบ้๒. -พูดไม่ได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
muteไม่ยอมพูด, เป็นใบ้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
monologueบทพูดเดี่ยว [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
mutism๑. การพูดไม่ได้๒. การไม่ยอมพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Automatic speech recognitionการรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Speech processing systemsระบบประมวลผลเสียงพูด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Speech processing systemระบบประมวลผลเสียงพูด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
speech recognitionการรู้จำเสียงพูด, Example: การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์เสียงพูดว่าผู้พูดหมายถึงอะไร เทียบกับการที่เราได้ยินผู้อื่นพูดแล้วเราทราบว่าเขาต้องการอะไรนั่นเอง [คอมพิวเตอร์]
voice recognitionการรู้จำเสียงพูด, Example: ระบบที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์เข้าใจคำสั่งเป็นเสียงพูด ระบบนี้ปัจจุบันมีขีดจำกัดตรงที่จำเสียงพูดได้ไม่กี่คำ และอาจจะจำได้เฉพาะของเสียงคนเพียงคนเดียว เสียงพูดของคนแต่ละคนนั้นมีรูปแบบที่แตกต่างกันมาก จนเป้นการยากที่จะพัฒนาระบบรู้จำเสียงพูดที่เก่งเท่ากับคน [คอมพิวเตอร์]
integrationบูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้]
เวิ่นเว้อพูดคุย [ศัพท์วัยรุ่น]
เม้าท์มอยพูดคุยกันอย่างสนุกเป็นกลุ่ม [ศัพท์วัยรุ่น]
Augmentative and Alternative Communicateอุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology]
Augmentative and Alternative Communication Programซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ &quot;ปราศรัย&quot; ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology]
Speech recognitionเทคโนโลยีการรู้จำเสียงพูด, การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์และสามารถจดจําคําพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง [Assistive Technology]
Speech Viewerโปรแกรมฝึกพูด, โปรแกรมที่ใช้ในการฝึกพูดแก่ผู้ที่ไม่ได้ยินเสียงพูดของตนเอง โดยโปรแกรมจะฝึกผู้พูดให้ออกเสียงแต่ละเสียงถูกต้องโดยการให้ &quot;มองเห็น&quot; สิ่งที่กำลังพูด การฝึกประกอบด้วย เรื่อง ความดัง ระดับเสียงสูง ต่ำ เสียงก้อง เสียงไม่ก้อง&nbsp; และการฝึกเสียงตามหน่วยเสียงที่กำหนด ซึ่งอาจจะเริ่มต้นที่ ๑ หน่วยเสียง ไปจนถึง ๔ หน่วยเสียง โปรแกรมนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม จำกัด [Assistive Technology]
Visual Strategiesกลวิธีผ่านการมอง, วิธีการที่ช่วยพัฒนาการสื่อสารของบุคคลออธิซึมหรือผู้ที่มีปัญหาการรับรู้ภาษาพูด&nbsp;โดยช่วยให้เด็กเข้าใจการสื่อสารจากภาษาพูดเป็นสื่อการรับรู้ด้วยภาพ เพื่อให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์ในสังคมได้ [Assistive Technology]
ซุยขี้โม้ พูดมาก [ศัพท์วัยรุ่น]
เผยอเปิดน้อยๆ เช่น เผยอปาก เผยอฝาหม้อไว้ ฝากาเผยอ หรือเป็นวลีทีีหมายถึง อวดดี ทำไปโดยไม่รู้จักประมาณตน เช่น เผยอทำ เผยอพูด, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ผะเยอ [คำที่มักเขียนผิด]
Automatic speech recognitionการรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ [TU Subject Heading]
Extemporaneous speakingการพูดโดยไม่ได้ตระเตรียม [TU Subject Heading]
Films for foreign speakersภาพยนตร์สำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading]
Five-Factor Nonverbal Personality Questionnaireแบบทดสอบบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบโดยไม่ใช้คำพูด [TU Subject Heading]
Freedom of speechเสรีภาพในการพูด [TU Subject Heading]
Nonverbal communicationการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูด [TU Subject Heading]
Nonverbal communication in childrenการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดในเด็ก [TU Subject Heading]
Nonverbal communication in literatureการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดในวรรณกรรม [TU Subject Heading]
Nonverbal communication in the workplaceการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดในที่ทำงาน [TU Subject Heading]
Oratorsนักพูด [TU Subject Heading]
Promunciation by foreign speakersการออกเสียงโดยผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading]
Public speakingการพูดในชุมนุมชน [TU Subject Heading]
Self-talkการพูดกับตนเอง [TU Subject Heading]
Sound recordings for foreign speakersวัสดุบันทึกเสียงสำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading]
Speechการพูด [TU Subject Heading]
Speech anxietyความวิตกกังวลในการพูด [TU Subject Heading]
Speech disordersการพูดผิดปกติ [TU Subject Heading]
Speech processing systemsระบบการประมวลผลเสียงพูด [TU Subject Heading]
Speech synthesisการสังเคราะห์เสียงพูด [TU Subject Heading]
Speech therapyการรักษาการพูดผิดปรกติ [TU Subject Heading]
Speech, Alaryngealการพูดโดยไม่ใช้กล่องเสียง [TU Subject Heading]
Speech, Esophagealการพูดโดยใช้หลอดอาหาร [TU Subject Heading]
Spokenภาษาพูด [TU Subject Heading]
Talking birdsนกพูดได้ [TU Subject Heading]
Textbooks for foreign speakersแบบเรียนสำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading]
Verbal self-defenseการพูดป้องกันตัว [TU Subject Heading]
Video recordings for foreign speakersวัสดุวีดิทัศน์สำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading]
Voice trainingการฝึกเสียงพูด [TU Subject Heading]
aide-mémoireบันทึกช่วยจำ " 1. เป็นเอกสารที่สร้างข้อผูกพัน ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของสัญญา 2. ในทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นเอกสารที่ช่วยย้ำประเด็นที่ได้มาพบและพูดไว้ " [การทูต]
Diplomatic Expressionsถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต]
Diplomatist หรือ Diplomatใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต]
Normal Diplomacyการติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต]
Pacific Charterคือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต]
Parliamentary Diplomacyการทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต]
Personal Inviolability of Diplomatic Agentsหมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
You were right. เธอพูดถูก Turas (2010)
Booth. บูธพูด The Archaeologist in the Cocoon (2013)
He's right. เขาพูดถูก Speak of the Devil (2013)
Say it! พูดสิ Episode #1.4 (2013)
Talk. พูดคุย Decline of an Empire (2014)
Say it! พูดสิ! In the Heart of the Sea (2015)
I don't want to do this newspaper stuff for the rest of my life. Hecht is right. ฉันไม่อยากเป็นนักหนังสือพิมพ์ไปตลอดชีวิต แฮ็ชท์พูดถูก The Young Indiana Jones Chronicles (1992)
And does Abu have anything else to say? แล้ว อาบูมีอะไรจะพูดอีกไหม Aladdin (1992)
You'll have to take it up with him. ท่านคงต้องพูดกับจาฟาเอง Aladdin (1992)
You got some punch, pizzazz, yahoo and how, See all you gotta do is rub that lamp, and I'll say ท่านต่อยเข้า แต่ที่ท่านต้องทำเพียงแค่ ถูตะเกียง และข้าจะพูดว่า Aladdin (1992)
Say what you wish, it's yours! True dish How about a little more Baklava? พูดในสิ่งที่ท่านต้องการ มันเป็นของท่าน จานของแท้ ขนมบากลาวาซักหน่อยเป็นไง Aladdin (1992)
But what am I talking about? Let's get real here. It's not gonna happen. แต่ ข้ากำลังพูดอะไรอยู่นี่ กลับมาสู่โลกแห่งความเป็นจริงดีกว่า มันไม่เกิดขึ้นแน่ จีนี่ ตื่นสู่โลกความจริงได้แล้ว Aladdin (1992)
Talk about your trunk space, check this action out! พูดถึงงวงของเจ้า ลองดูตัวเจ้าสิ Aladdin (1992)
Et tu, Brute? No! Aha, to make a prince. อาฮ่า เพื่อสร้างเจ้าชาย นี่คือ พรทางการงั้นรึ พูดร่ายมายาได้เลย Aladdin (1992)
These patches--what are we trying to say--beggar? กางเกงนี้ เรากำลังจะพูดอะไรนะ ขอทาน? ไม่ Aladdin (1992)
Prince Ali, Handsome is he, Ali Ababwa That physique, how can I speak Weak at the knee เจ้าชายอาลี ความหล่อของเขา อาลี อะบาวา รูปร่างนั่น พูดได้ว่าไม่เคยคุกเข่ายอมใครเลย Aladdin (1992)
Because he said you told him. เพราะเขาพูดว่าคุณบอกเขา Basic Instinct (1992)
-How dare you! All of you, standing around deciding my future? พวกเจ้าทุกคน ยืนพูดกันตัดสนิอนาคตของข้าเองรึ Aladdin (1992)
Enough about you, Casanova. พอได้แล้ว คัสซาโนวาน้อย พูดเกี่ยวกับตัวเธอสิ Aladdin (1992)
You can't cheat on this one! I can't help you unless you make a wish. นายโกงฉันไม่ได้นะ ข้าช่วยเจ้าไม่ได้ เว้นแต่ว่า เจ้าจะขอพรข้า เจ้าต้องพูดว่า Aladdin (1992)
You're speechless, I see. พูดไม่ออกเลยรึ นี่แหละ ลักษณะที่ดีของ ภรรยา Aladdin (1992)
I can't. Sure you can. You just go "Genie, I wish you free." เจ้าทำได้ เพียงแค่พูดว่า "จีนี่ ฉันขอให้เจ้าเป็นอิสระ" Aladdin (1992)
What am I doing? Genie's right-- เราทำอะไรอยู่นะ จีนี่พูดถูก Aladdin (1992)
Now, pussycat, tell me more about...myself. เอาละ เจ้าแมวน้อย พูดอีกซิ เกี่้ยวกับตัวข้า Aladdin (1992)
You're right! His power does exceed my own! เจ้าพูดถูก พลังของเขามากกว่าของข้า Aladdin (1992)
Say "I... I want the Nile." Wish for the Nile. พูดว่า " ข้าต้องการแม่น้ำไนล์" ขอแม่น้ำไนล์สิ ลองดู Aladdin (1992)
Maybe Dr. Glass is right and we should be alone for this. บางที ดร. กลาส พูดถูก เราน่าจะอยู่ลำพังสำหรับเรื่องนี้ Basic Instinct (1992)
My shrink will say I'm not, and the judge will flip a coin. ฝ่ายของฉันจะพูดว่าฉันไม่ใช่ และคำตัดสินก็จะพลิก Basic Instinct (1992)
Anything you tell me can be quoted verbatim in testimony and can affect your case. สิ่งที่คุณพูดสามารถเป็นคำให้การ... ...และมีผลกระทบต่อคดีของคุณ Basic Instinct (1992)
When you say she has a risk addiction is this condition likely to get worse? ตอนคุณพูดว่าเธอมีภาวะ ติดความเสี่ยงภัย... ...สภาวะนี้มัน เป็นไปได้ว่าจะแย่ลงไปไหม? Basic Instinct (1992)
I never said you killed anybody. ผมไม่เคยพูดว่าคุณฆ่าใคร Basic Instinct (1992)
Denise always says you were born for the small screen. เดนนิสพูดเสมอว่าคุณเกิดมาเพื่อ ฉากเล็กๆ Basic Instinct (1992)
While we're chatting about killers is there any chance of talking about George Cheslav? ขณะที่เราคุยกันเรื่องฆาตกร... ...จะมีโอกาสที่เราจะพูดเรื่อง จอร์จ เชสลาฟ บ้างไหม? Basic Instinct (1992)
That was seven years ago, why talk about it now? นั่นมันเมื่อ 7 ปีที่แล้ว ทำไมเพิ่งมาพูดเอาตอนนี้? Basic Instinct (1992)
I don't talk about my patients. ผมจะไม่พูดเกี่ยวกับคนไข้ของผม Basic Instinct (1992)
Cheslav's dead. Can't you talk about them when they're dead? เชฟลาฟ ตายแล้ว คุณจะพูดถึงคนตายไม่ได้หรอ? Basic Instinct (1992)
No, all I said was-- ไม่ใช่ ที่ฉันพูดคือ... Basic Instinct (1992)
The guy who said he sold her the DTC the judge found out he 'd perjured himself in another case and disqualified him as a witness. ผู้ชายคนที่พูดว่า เขาขาย DTC ให้เธอ... ...ผู้พิพากษาพบว่าเขาให้ความเท็จ ในข้อหาอื่น... ...และปลดเขาจากการเป็นพยาน แต่ผมพนันได้เลย Basic Instinct (1992)
You didn't understand what I was saying about the analytic field. คุณไม่เข้าใจว่าผม พูดอะไรเกี่ยวกับสาขาการวิเคราะห์ Basic Instinct (1992)
T owards the end you made one or two interesting remarks. จนถึงตอนจบ คุณพูดน่าสนใจ 1 หรือ 2 ที่ Basic Instinct (1992)
"One or two interesting remarks"? "พูดน่าสนใจ 1 หรือ 2 ที่"? Basic Instinct (1992)
He didn't seem to think you'd want to talk to him. เขาดูไม่เหมือนจะคิดว่า คุณอยากพูดกับเขา Basic Instinct (1992)
Some of the things you said, I've been thinking about them a lot. บางอย่างที่คุณพูด ฉันคิดถึงมันตลอด Basic Instinct (1992)
What you said about me being addicted to risk about having to do more and more dangerous things.... ที่คุณพูดเกี่ยวกับฉัน การติดความเสี่ยงภัย... ...เกี่ยวกับต้องทำ เรื่องอันตรายให้มากยิ่งขึ้น... Basic Instinct (1992)
Well, after you said it I realized I was scared. หลังจากที่คุณพูด... ...ฉันก็ตระหนักว่า ฉัน... ...กลัว Basic Instinct (1992)
What I said about you at the hearing must have seemed very negative. ที่ผมได้พูดเกี่ยวกับคุณตามที่คุณได้ยิน ดูจะเป็นไปในทางลบ Basic Instinct (1992)
I never talked to anyone who.... ฉันไม่เคยพูดกับใครที่... Basic Instinct (1992)
Anything that happened in the past, I wouldn't discuss outside this room. เรื่องใดๆที่เกิดขึ้นในอดีต ผมจะไม่เอาไปพูดข้างนอก Basic Instinct (1992)
Do you want to talk about what happened to Kevin? คุณอยากจะพูดเกี่ยวกับ เควินไหมว่าอะไรเกิดขึ้น? Basic Instinct (1992)
Nick used to say: นิคเคยพูดว่า: Basic Instinct (1992)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อ้าปากจะพูด[ā pāk ja phūt] (v, exp) EN: open one's mouth ; begin to speak  FR: commencer à parler
บทพูด[botphūt] (n) EN: dialogue ; conversation  FR: dialogue [ m ] ; conversation [ f ]
ช่างพูด[chang phūt] (adj) EN: given to talking ; talkative ; full of talk ; chatty  FR: bavard ; babillard
โดยคำพูด[dōi khamphūt] (adv) EN: in words
หัดพูดภาษาอังกฤษ[hat phūt phāsā Angkrit] (xp) EN: practise spoken English  FR: s'exercer à la pratique de l'anglais
การพูด[kān phūt] (n) EN: speech  FR: parole [ f ] ; expression [ f ]
การพูดคุย[kān phūtkhui] (n) EN: discussion  FR: discussion [ m ]
การพูดลับหลัง[kān phūt laplang] (n, exp) EN: gossip
การพูดมาก[kān phūt māk] (n, exp) FR: garrulité [ f ] (vx)
การพูดเพื่อธุรกิจ[kān phūt pheūa thurakit] (n, exp) EN: business speaking
การพูดปด[kān phūt pot] (n, exp) EN: lie
การพูดประจบ[kān phūt prajop] (n, exp) FR: adulation [ f ]
การพูดซ้ำเติม[kān phūt samtoēm] (n, exp) EN: incrimination
การพูดเท็จ[kān phūt thet] (n, exp) EN: lie
การพูดถึง[kān phūttheung] (n) EN: mention
การพูดโทรศัพท์[kān phūt thōrasap] (n, exp) EN: telephoning ; phoning ; making a telephone call ; making or receiving a call  FR: communication téléphonique [ f ]
การพูดโต้ตอบ[kān phūt tōtøp] (n, exp) EN: retort
การพูดย้ำ[kān phūt yam] (n, exp) FR: anaphore [ f ]
การประมวลผลคำพูด[kān pramūanphon khamphūt] (n, exp) EN: speech processing  FR: traitement de la parole [ m ]
กัดฟันพูด[katfan phūt] (v, exp) EN: speak reluctantly
คำพูด[khamphūt] (n) EN: speech ; words ; discourse ; remark ; vocable ; utterance  FR: parole [ f ] ; mot [ m ] ; propos [ m ]
คำพูดสัปดน[khamphūt sappadon] (n, exp) EN: obscene language ; dirty language ; foul language ; indecent language  FR: langage obscène [ m ]
คำพูดติดปาก[khamphūt titpak] (n, exp) EN: catchword ; catch phrase
คำพูดหยาบ[khamphūt yāp] (n, exp) FR: acyrologie [ f ]
ละครพูด[lakhøn phūt] (n, exp) EN: legitimate drama  FR: théâtre sérieux [ m ]
ลังเลที่จะพูดคุย[langlē thī ja phūtkhui] (v, exp) EN: be reluctant to talk
ไม่มีแรงจะพูด[mai mī raēng ja phūt] (xp) FR: ne plus avoir la force de parler
นักพูด[nakphūt] (n) EN: orator ; expert speaker  FR: orateur [ m ] ; tribun [ m ]
ไปพูดกับ[pai phūt kap] (v, exp) FR: s'adresser à
ภาษาพูด[phāsā phūt] (n, exp) EN: spoken language ; colloquial language ; colloquial speech  FR: langage parlé [ m ] ; langue parlée [ f ] ; parler [ m ]
ภาษาพูด[phāsā phūt] (n, exp) EN: colloquialism  FR: expression familière [ f ]
ผิดคำพูด[phit khamphūt] (v, exp) EN: break one's word ; go back on one's word ; break a promise  FR: manquer à sa parole
ผมควรจะพูดยังไง[phom khūan ja phūt yang-ngai] (xp) EN: what should I say ?  FR: que devrais-je dire ?
ผู้พูด[phū phūt] (n) EN: speaker  FR: orateur [ m ] ; locuteur [ m ]
พูด[phūt] (v) EN: talk ; speak ; say ; remark ; mention ; express ;discuss ; chatter  FR: parler ; dire ; s'exprimer ; prendre la parole ; mentionner ; exprimer ; raconter
พูดได้[phūt dai] (adj) EN: speaking  FR: parlant
พูดได้หลายภาษา[phūt dai lāi phāsā] (v, exp) FR: être plurilingue ; être polyglotte
พูดได้สามภาษา[phūt dai sām phāsā] (v, exp) FR: être trilingue
พูดได้สี่ภาษา[phūt dai sī phāsā] (v, exp) FR: être quadrilingue
พูดได้สองภาษา[phūt dai søng phāsā] (v, exp) FR: être bilingue
พูดฝรั่ง[phūt farang] (v, exp) EN: speak English ; speak an European language
พูดฟุ้ง[phūt fung] (v, exp) EN: talk big ; indulge in verbiage
พูดอีกที[phūt īk thī] (v, exp) EN: repeat  FR: répéter
พูดจา[phūtjā] (v) EN: converse ; speak ; confer  FR: converser
พูดจาทิ่มแทง[phūtjā thimthaēng] (v, exp) EN: take a verbal poke at s.o.  FR: envoyer des piques à qqn. ; lancer des piques à qqn.
พูดจาหยาบ[phūtjā yāp] (v, exp) EN: use vulgar language ; use coarse language
พูดจาหยาบโลน[phūtjā yāp lōn] (v, exp) EN: use coarse language ; use vulgar language ; have a rough tongue  FR: parler vulgairement ; s'exprimer platement ; parler de façon grossière
พูดจริงทำจริง[phūt jing tham jing] (xp) EN: speak seriously ; dare to speak and dare to act  FR: faire ce que l'on dit
พูดโจ่งแจ้ง[phūt jōngjaēng] (v, exp) EN: speak undisguisedly ; speak in no equivocal terms  FR: parler en termes non équivoques
พูดกำกวม[phūt kamkūam] (v, exp) EN: make ambiguous remarks ; talk in vague terms  FR: parler en termes vagues ; s'exprimer de manière ambigüe

Longdo Approved EN-TH
football(n) ถ้าในอเมริกา จะหมายถึง กีฬาอเมริกันฟุตบอล (ถ้าจะพูดถึงฟุตบอลในความหมายที่ใช้กันในบ้านเรา จะเรียกว่า soccer แทน)
quotation mark(n) อัญประกาศ หรือเครื่องหมายคำพูด (เครื่องหมายรูป
slag off(vt, slang) ด่าว่า, พูดในทางไม่ดี, [ to slag someone off ]
Stay tuned!(vi) เป็นภาษาพูด แปลว่า ติดตามต่อไป (ส่วนใหญ่ใช้ตามวิทยุหรือทีวี) เช่น Stay tuned for more details! Stay tuned to the brand new watch!
swamp(vi, slang) ท่วมท้นด้วยงาน (เป็นภาษาพูดในอเมริกา) เช่น Some offices will be swamped next week. อาทิตย์หน้าบางสำนักงานจะมีงานท่วมหัว
Come off it!(phrase,, colloq) อย่าล้อเล่นน่า, เลิกพูดเล่นได้แล้ว, Syn. Don't be ridiculous!
wanna(vt, colloq) ต้องการ (ภาษาพูด) เช่น I don't wanna go to school. ฉันไม่อยากไปโรงเรียนเลย, Syn. want to
Richter scale(n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude
ripper(n, slang) เยี่ยม, เจ๋ง, สนุกที่สุด (ภาษาพูด)
wake(n) การพบปะพูดคุยกันหลังจากที่มีเหตุการณ์ที่สำคัญผ่านไป โดยมากหมายถึง การไปชุมนุมกันที่บ้านของผู้ที่เสียชีวิตก่อนจะมีพิธีฝังศพ (โดยมักถูกอ้างว่ามีที่มาจาก การปลุกให้ผู้ตายมีชีวิตขึ้นมาอีก) เช่น A wake usually lasts 3 full days, afterwards on the 4th day the funeral takes place.
two-timer(n) 1. คนที่นอกใจแฟนแอบไปมีความสัมพันธ์กับคนอื่น, 2. คนที่พูดอย่างทำอย่าง, Syn. betrayer
feather(n) ถ้าพูดถึงขนของสุนัข จะหมายถึงแผงขนที่ห้อยลงมาจากส่วนหลังของขาทั้งสี่ และใต้ลำตัว ลักษณะคล้ายชายครุย
concierge(n) |ที่มา:ภาษาฝรั่งเศส| พนักงานต้อนรับในโรงแรมที่พูดได้หลายภาษา ทำหน้าที่หิ้วกระเป๋าและเปิดประตู
put money where mouth is1. สนับสนุนช่วยเหลือโดยการให้สิ่งของ โดยเฉพาะการบริจาคเงิน 2. ลงมือทำ มากกว่าสักแต่พูด เช่น You can put money where your mouth is by asking all involved to put up $1 per post in a donation to relief organizations.
damn it!(phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย)
tell the truthพูดความจริง, กล่าวถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ เช่น I wasn't sure if Bobby was telling the truth.
stat(abbrev) 1) สถิติ ย่อมาจาก statistics 2) อย่างเฉียบพลัน, ทันทีทันใด ย่อมาจากภาษาพูดที่ว่า sooner than already there
to see a man about a horse(phrase, slang) เป็นการขอโทษเมื่อต้องการจะออกไปข้างนอก มักพูดเมื่อจะขอตัวไปห้องน้ำ หรือออกไปซื้อเครื่องดื่ม เช่น Can we stop, Simon? I have to see a man about a horse., Syn. to see a man about a dog
pork(vt, colloq) อึ้บ, แอ้ม (เป็นภาษาพูดแปลว่ามีเพศสัมพันธ์ มาจากคำว่า penetrate) เช่น I might go pork my girlfriend tonight., See also: To have sex with, Syn. To have sexual intercourse
I rest my case.(idiom) เป็นสำนวน หมายถึง เธอพูดถูก ฉันยอมแล้ว เช่น Ned's mother said he needs to leave home or he'll never be independent. His sister said, “But he can't even do his wash!” and his mother replied, “I rest my case.”, Syn. IRMC
bush telegraph(slang) พูดกันให้แซ่ด(มักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของตำรวจที่จะจับผู้ต้องสงสัยที่ซ่อนตัวอยู่(เปรียบเปรยดังเช่น ซ่อนอยู่หลังพุ่มไม้)) เช่น The police are baffled by the number and activity of the bush telegraphs.
God bless you!พระเจ้าคุ้มครองคุณ (หรือพูดสั้นๆว่า Bless you!) เป็นคำอวยพรที่พูดเมื่อบุคคลอื่นมีอาการจาม เพราะสมัยก่อนเชื่อกันว่า ขณะที่คนเราจามนั้นวิญญาณสามารถออกจากร่างได้ ทำให้อาจมีโรคภัยได้ง่าย
go for the jugular(phrase) กะจะเอาให้ถึงตาย สู้ยิบตา, วิจารณ์หรือพูดจาทิ่มแทงใจ เช่น Hannity did not go for the jugular with this opening, but rather he explained the issue fairly objectively and pressed for an opinion.
alogia[ออโลเจีย] (n) ความผิดปกติด้านพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคจิตเภท เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการด้านลบ ลักษณะคือพูดน้อย, เนื้อหาที่พูดมีน้อย , ใช้เวลานานกว่าจะตอบ
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS)(n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html)
condescend (to somebody)(vi) ปฏิบัติตนกับผู้อื่นในลักษณะที่คิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่า เช่น When giving a talk, be careful not to condescend to your audience. เวลาที่พูด ระวังอย่าพูดในลักษณะที่คิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้ฟัง
mansplaining(n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/
schmoozer(n) คนที่ชอบ schmooze, ชอบพูดคุยกับผู้อื่นในลักษณะคุยเก่ง, ร่าเริง, หรือเป็นมิตรมากๆ
schmooze(vi) การพูดคุยกับผู้อื่นในลักษณะคุยเก่ง, ร่าเริง, หรือเป็นมิตรมากๆ เช่น ในงานเลี้ยง เดิมคำนี้มักจะมีความหมายในเชิงลบ สื่อถึงคนที่คุยเก่ง แต่อาจเพื่อหาประโยชน์บางอย่างให้ตัวเอง แต่ในปัจจุบันก็มีความหมายในทางกลางๆ ไม่ได้เชิงลบเสมอไป ดูบทความอธิบายคำว่า schmooze ที่ https://dict-blog.longdo.com/whats-all-this-schmoozing-about-in-english/
condescending(adj) ประพฤติตนในลักษณะว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น เช่น His tone of voice was always so condescending. เขามักจะพูดโดยใช้นำเสียงในลักษณะเหมือนว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
accentuate(vt) พูดเน้น, See also: เน้นเสียงหนัก, อ่านเน้น, Syn. stress, accent
acid(adj) (คำพูด) ที่แหลมคม, See also: คำพูด ที่เสียดสี, ที่ทำให้รู้สึกแสบร้อน, Syn. sharp, biting
acid(n) คำพูดที่แหลมคม, See also: คำพูดที่เสียดสี, คำพูดที่ทำให้รู้สึกแสบร้อน
acrid(adj) ดุเดือด (คำพูด, กิริยาวาจา), See also: รุนแรง, เผ็ดร้อน, Syn. sarcastic, caustic
acrimonious(adj) เผ็ดร้อน (คำพูด, กิริยาวาจา), Syn. sharp, bitter, caustic
action(int) เริ่มถ่ายทำ (ภาพยนตร์), See also: คำพูดใช้ในเวลาเริ่มถ่ายทำภาพยนตร์แต่ละฉาก
add(vt) พูดต่อ, See also: พูดเติม, พูดเพิ่ม
addresser(n) ผู้ส่ง, See also: ผู้พูด, ผู้ส่งสาร
ad-lib(vi) แสดงหรือพูดอย่างไม่ได้เตรียมมาก่อน, Syn. ad lib, extemporize
ad-lib(vt) แสดงหรือพูดอย่างไม่ได้เตรียมมาก่อน, Syn. ad lib, extemporize
allude(vi) พูดเป็นนัย, See also: หมายถึง, Syn. refer
amplify(vi) พูดหรือเขียนโดยละเอียด, Syn. expatiate
aphasia(n) การสูญเสียความสามารถในการใช้หรือเข้าใจคำพูด เนื่องจากการบาดเจ็บทางสมอง
aphorise(vi) เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์, Syn. aphorize
aphorist(n) ผู้ที่เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์หรือคำพังเพย
aphorize(vi) เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์, Syn. aphorise
aposiopesis(n) การชะงักงันในขณะพูด
apostrophe(n) การพูดกับบุคคลในจินตนาการ, See also: การพูดกับบุคคลที่ล่วงลับไปแล้ว
archaism(n) การเลียนแบบคำพูดหรือเทคนิคโบราณ
articulate(vt) พูดเสียงดังชัดเจน
articulate(vi) พูดเสียงดังชัดเจน, Syn. enunciate, pronounce
articulate(adj) สามารถพูดได้
Actions speak louder than words.(idm) ลงมือทำดีกว่าเอาแต่พูด
address oneself to(phrv) พูดกับ
address to(phrv) ส่ง (คำพูด, ข้อเขียน, ข้อความ) ไปยัง, Syn. direct to
advert to(phrv) พูดถึง, See also: เอ่ยถึง, พูด, บอก, กล่าว, Syn. bring up, mention, talk about
air one's dirty linen in public(idm) พูดถึงเรื่องส่วนตัวในที่สาธารณะ, See also: เผยเรื่องส่วนตัวต่อสาธารณะ
all in one breath(idm) (พูด) กระหืดกระหอบ
all talk(idm) ดีแต่พูด
allude to(phrv) พาดพิงถึง, See also: พูดถึงคนอื่นเป็นนัยๆ
at a loss for words(idm) พูดไม่ออก
babble(vi) พูดเป็นต่อยหอย, See also: พูดมาก, พูดไร้สาระ, Syn. chatter, gabble, prate
babble(vt) พูดอ้อแอ้, See also: พูดไม่เป็นภาษา, พูดไม่ชัด, Syn. drivel, gibber, wander
babbler(n) คนที่พูดไม่ชัด
back passage(n) ประตูหลัง (คำเลี่ยงพูดถึงรูทวารหนัก), See also: ช่องทวารหนัก, Syn. intestine, rectum
back talk(n) คำพูดหยาบคาย, Syn. backchat, insolence, impudence
backbite(vt) นินทาลับหลัง, See also: พูดให้ร้าย, ลอบกัด, ทำลายชื่อเสียง, Syn. scandalize
backbiting(n) การนินทาลับหลัง, See also: การพูดให้ร้าย, การลอบกัด, Syn. calumny, slander
backchat(n) คำพูดหยาบคาย, Syn. back talk
badinage(n) การพูดเล่น, See also: การพูดตลก, Syn. badinage, joke
bad-mouth(vt) พูดให้ร้ายคนอื่น
balderdash(n) การเขียนหรือพูดโง่ๆ (คำล้าสมัย), See also: การเขียนหรือพูดไร้สาระ, Syn. bombast, gibberish
ball breaker(n) คำพูดดูถูก (ผู้ชายใช้พูดกับผู้หญิง)
bally(adv) อย่างเสียงดัง (พูดคุย)
baloney(n) การพูดคุยไร้สาระ (คำสแลง), See also: คำพูดไร้สาระ, Syn. boloney
banter(n) การล้อเล่น, See also: การพูดหยอกเย้า, การเย้าแหย่
bark(vt) ตะคอก, See also: พูดก้าวร้าว, Syn. yell, shout, Ant. whisper
belabor(vt) พูดมากหรือตอกย้ำเกิน
belabour(vt) พูดมากหรือตอกย้ำเกิน
believe(vt) เชื่อว่าพูดจริง, See also: ถือว่า, Ant. disbelieve

Hope Dictionary
abracadabra(แอบราคะแดบ' บระ) n. คาถายันตร์, การพูดที่ไร้ความหมาย
active windowวินโดว์ที่กำลังใช้งานหมายถึง วินโดว์ที่กำลังใช้อยู่ หรืออาจพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ว่า เป็นวินโดว์ที่มีโปรแกรมที่กำลังเปิดใช้อยู่ หรืออยู่หน้าวินโดว์อื่น ๆ วินโดว์นี้ จะเป็นวินโดว์ที่ตอบสนองการสั่งงานทุกอย่าง ถ้าบนจอภาพมีวินโดว์แสดงอยู่มากกว่าหนึ่งวินโดว์ จะมีวินโดว์ใช้งานอยู่เพียงวินโดว์เดียว นอกนั้นเป็นวินโดว์ที่ไม่ได้ใช้งาน (non-active window) โดยปกติแล้ว ถ้าเป็นระบบไมโครซอฟต์ วินโดว์ของพีซี (PC) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะทราบว่า วินโดว์ ไหนเป็นวินโดว์ใช้งาน โดยดูที่แถบชื่อ (title bar) ถ้าวินโดว์ ใดมีแถบชื่อที่สีต่างกว่าวินโดว์อื่น วินโดว์นั้นจะเป็นวินโดว์ที่ใช้งานอยู่ ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช วินโดว์ใช้งานจะมีเส้นหลาย ๆ เส้น ในช่องแถบชื่อนั้น ส่วนวินโดว์ที่ยังไม่ใช้งานแถบชื่อจะว่างเปล่า
ad lib(แอดลิบ' แอด' ลิบ) การแสดงสด, การพูดกลอนสด
ad-lib(แอดลิบ' แอด' ลิบ) vt., vi. แสดงหรือพูดอย่างไม่ได้เตรียมมาก่อน. -ad-libber n.
add(แอด) vt., vi. เติม, บวก, เพิ่ม, เสริม, พูดเติม.
address(n. อะเดรส' , แอด' เดรส; -vi. อะเดรส') n., vi. (การ) ปราศรัยกับ, (การ) พูดกับ, (การ) เตรียม, คำปราศรัย, คำถวายพระพรชัยมงคล, คำจ่าหน้าซอง, กิริยาวาจา, บุคลิกลักษณะ, (การ) พูดจา, ความแคล่วคล่อง. -addresser n.ผู้ส่งจดหมาย,
adumbrate(แอดอัม' เบรท) vt. แลเงา, วาดโครงร่าง, วาดย่อ, พรรณาย่อ ๆ , พูดเป็นนัย, ทอดเป็นเงาบัง. -adumbration n., -adumbrative adj. (suggest)
adventure(แอดเวน' เชอะ) n. การเสี่ยงภัย, อันตรายที่คาดไม่ถึง, ความตื่นเต้น, ประสบการณ์ที่ตื่นเต้น, การร่วมในกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ตื่นเต้น, การเสี่ยง (เรื่องการเงิน) , อันตราย, โอกาส. -vt., vi. เสี่ยง, ถือโอกาส, เสี่ยงพูด. -adventureful adj.
advert(แอดเวอท') vi. ให้ความเห็น, หันความสนใจ, กล่าวถึง, พูดถึง, Syn. heed, refer
affluence(แอฟ' ฟลูเอินซฺ) n. ความมั่นคง, ความร่ำรวย, ความหลากหลาย (ความคิด, คำพูดและอื่น), Syn. wealth, plenty, Ant. poverty
afrikander(แอฟริคาน ' เดอะ, -เนอะ) ชาวอาฟริกาที่พูดภาษา Afrikaans. ชื่อพันธุ์วัวแดงชนิดหนึ่งในอาฟริกาใต้, Syn. Africander astern, abaft
algonquian(แอลกอง' เควน) n., adj. ตระกูลหนึ่งของภาษาอินเดียแดง, ผู้ที่พูดภาษานี้
algonquin(แอลกอง' คิน. -ควิน) n., (pl. -quins) อินเดียแดงที่พูดภาษา Algonquin
all-purpose computerคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ
allolaliaการพูดที่บกพร่องเนื่องจากศูนย์ควบคุมการพูดบกพร่อง
allude(อะลูด') vi. พูดถึง, พูดเป็นนัย, พาดพิงถึง, แย้ม, หมายถึง, Syn. refer, hint, indicate
allusive(อะลู' ซิฟว) adj. ซึ่งพาดพิงถึงบางอย่าง, ซึ่งอ้างอิง, ซึ่งพูดเป็นนัย, อุปมาอุปไมย.
alpha testการทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ
alpha versionรุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ
ambages(แอมเบ' เจซ) n. ทางวกวน, การพูดจาอ้อมค้อม (roundabout ways)
ambiguity(แอมบิกิว' อีที) n., (pl. -ties) ความมีสองนัย, ความหมายที่คลุมเครือ, คำพูดที่คลุมเครือ, ภาวะกำกวม, Syn. vagueness, deceptiveness, Ant. clearness, certainty
amphibolic(แอมฟิบอล' ลิค) adj. ไม่แน่นอน, มีความหมายสองนัย, การพูดจาคลุมเคลือ (uncertain)
amphibology(แอมฟิบอล' โลจี) n. การที่มีความหมายสองนัย, ความหมายที่คลุมเคลือ, ประโยคที่มีความหมายสองนัยฐ การพูดจาเหลวไหล. -amphibolical, amphibolous adj.
anarthria(แอน' นาเธรีย) n. ภาวะไร้สมรถภาพในการพูด (loss of articulate speech)
anglo-indian(แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน
anticlimax(แอนทีไคล' แมคซฺ) n. เหตุการณ ์ (ข้อสรุป, บทความ, การพูด, เนื้อหา) ที่สำคัญน้อยกว่าที่คาดหมายอย่างกระทันหัน, การเปลี่ยนความเข้มข้นหรือความสำคัญของเรื่องราวดังกล่าวอย่างทันที. -anticlimac-
antinomy(แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction)
aphasia(อะเฟ'เซีย) n. โรคพูดไม่ได้, -phasiac n. -aphasic adj. (speechlessness)
aphorise(แอฟ'ฟะไรซ) vi. เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์คำพังเพย. -aphoris (z) re n. (to utter aphorisms)
aphorist(แอฟ'ฟะริสทฺ) n. ผู้ที่เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์หรือคำพังเพย
apopemptic(แอพพะเพม'ทิค) adj. เกี่ยวกับการจากไป, เกี่ยวกับคำพูดที่ลาจากไป. -n. คำพูดลาจาก (leave-taking departing; valedictory)
apostrophe(อะพอส' ทระฟี) n. เครื่องหมายย่อ (ซ) , การพูดกับผู้ที่ไม่อยู่หรือล่วงลับไปแล้ว. -a-postrophic adj.
apostrophise(อะพอส'ทระไฟซ) vt., vi. พูดกับผู้ที่ไม่อยู่ หรือตายไปแล้วเสมือนกับว่าผู้นั้นอยู่ ณ ที่นั้น
argue(อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate
articulate(อาร์ทิค'คิวเลท) adj. เป็นข้อ, เป็นปล้อง, ออกเสียงชัดเจน, สามารถพูดได้, ชัดเจน, มีความหมาย. -vt. ออกเสียงชัดเจน, พูดอย่างชัดเจน, ต่อกัน, ประกบ. -articulability, articulateness, articulacy n., Syn. clear, enunciate, Ant. indistinct, confused
articulation(อาร์ทิคคิวเล'เชิน) n. การต่อกัน, การเชื่อมประกบ, กระบวนการพูดได้อย่างชัดเจน, ข้อต่อ, ปล้อง, ระดับที่ชัดเจน. -articulatory adj., Syn. joint
articulator(อาร์ทิค'คิวเลเทอะ) n. ผู้ที่พูดหรือออกเสียงได้ชัดเจน, สิ่งที่มีเสียงที่ชัดเจน, อวัยวะที่ใช้สำหรับพูด (เช่น ลิ้น, ริมฝีปาก)
babble(แบบ'เบิล) vt., vi. พูดไม่ชัด, พูดพล่าม, พูดไม่เป็นสาระ, พูดจ้อ, เปิดเผยความลับ n. การพูดพล่ามหรือไม่เป็นสาระ, ถ้อยคำไม่เป็นสาระ
babbling(แบบ'บลิง) n. การพูดพล่าม, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดไม่ชัด adj. ซึ่งพูดพล่ามหรือไม่ชัด
badinage(แบด'ดินาจฺ) { badinaged, badinaging, badinages } vt., n. (การ) เย้าแหย่, พูดล้อเลียน, Syn. banter
balderdash(บอล'เดอะแดช) n. คำพูดที่เหลวไหล, ความเหลวไหล, Syn. nonsense, Ant. logic, sense
balloon helpคำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ
barber(บาร์'เบอร์) { barbered, barbering, barbers } n. ช่างตัดผม, ช่างโกนหนวดเครา, กัลบก, คนที่พูดมาก vt. ตัดหรือโกนหนวดเครา
bawd(บอด) n. แม่เล้า, โสเภณี, คำพูดหยาบคาย, ผู้ล่อลวงหญิงมาให้ทำประเวณี ', Syn. parapet
bawdy(บอ'ดี) adj. หยาบคาย, ลามก n. คำพูดหยาบคาย, คำเขียนที่หยาบคาย, Syn. indecent
belabor(บิเล'เบอะ) { belabored, belaboured, belaboring, belabouring, belabors, belabours } vt. ถกเถียง, พูดมากเกินไปเกี่ยวกับ, กล่าวหา, เหยียดหยาม, ตีแรง
belabour(บิเล'เบอะ) { belabored, belaboured, belaboring, belabouring, belabors, belabours } vt. ถกเถียง, พูดมากเกินไปเกี่ยวกับ, กล่าวหา, เหยียดหยาม, ตีแรง
bigmouthn. คนปากมาก, คนปากบอน, คนพูดปากมาก
bilge(บิลจฺ) { bilged, bilging, bilges } n. ส่วนที่โป่งออกของถังไม้, ก้นถัง, บริเวณโป่งออกของท้องเรือ, น้ำสกปรกใต้ท้องเรือ, คำพูดที่ไร้สาระ vi. ท้องเรือรั่ว vt. เจาะใต้ท้องเรือ
bilingual(ไบลิง'กวล) adj. พูดเป็นสองภาษา, เขียนเป็นสองภาษา, See also: bilinguality, bilingualism n.

Nontri Dictionary
addresser(n) ผู้พูด, ผู้ส่งจดหมาย
advert(vi) เหไป, ให้ความสนใจ, พูดถึง, เบน
advocacy(n) การพูดสนับสนุน, การแก้ต่าง, ทนาย
advocate(vt) สนับสนุน, เป็นทนาย, พูดแก้ต่าง, โฆษณาชวนเชื่อ
allegation(n) การพูดพล่อย, การกล่าวหา, ข้อกล่าวหา, ข้ออ้าง
allege(vt) พูดพล่อย, อ้าง, กล่าวหา
allude(vi) พูดถึง, หมายถึง, พาดพิงถึง, อ้างถึง
allusion(n) การพาดพิง, การพูดถึง, การหมายถึง
approachable(adj) ซึ่งเข้าถึงได้, ไปมาสะดวก, พูดง่าย
articulation(n) การพูดชัดแจ้ง, การเชื่อม, การประกบ, ปล้อง, ข้อต่อ
aside(n) การพูดป้องปาก
babble(n) การพูดพล่อย, การพูดพล่าม, การพูดจ้อ, เสียงอึกทึก
babble(vi) พูดพล่อย, พูดพล่าม, พูดจ้อ, พูดไร้สาระ
babbler(n) คนพูดพล่อย, คนพูดจ้อ, คนพูดพล่าม
badinage(n) การพูดล้อเลียน, การพูดเย้าแหย่
bilingual(adj) พูดได้สองภาษา
blab(vi, vt) พูดพล่อย, พูดมาก, เปิดเผยความลับ
blabbermouth(n) คนพูดพล่อยๆ, คนพูดมาก
bluff(n) ตลิ่งชัน, ผาชัน, ศพ, การพูดลวง
blunder(vt) พูดโง่ๆ, แพร่งพราย
blurt(n) การพูดโพล่ง
blurt(vi) พูดโพล่ง
bombast(n) คำพูดรื่นหู, คำพูดโว, เครื่องรอง
bore(n) การไช, การเจาะ, รู, ช่อง, ความน่าเบื่อ, คนพูดมาก
bouncer(n) คนโกหก, คนโป้ปด, คนพูดเท็จ
brag(n) การคุยโว, การโม้, การพูดอวด
brag(vi) คุยโว, โม้, พูดอวด
braggart(adj) ชอบโม้, ชอบคุยโว, ชอบพูดอวด
braggart(n) คนชอบโม้, คนอวดดี, คนพูดอวด
bubble(n) ฟองน้ำ, คำพูดเหลวไหล, การโกง
bull(n) วัวตัวผู้, ช้างพลาย, สัตว์ตัวผู้, การโกหก, การพูดเกินจริง
byword(n) ภาษิต, สุภาษิต, คำขวัญ, คำพูดกันบ่อยๆ
catchword(n) คำพูดติดปาก, คำขวัญ
chat(vi) พูดคุย, คุยเล่น
chatter(n) การพูดพล่อย, การพูดไร้สาระ, การพูดเหลวไหล
chatter(vi) พูดพล่อย, พูดเหลวไหล, พูดเจื้อยแจ้ว
chatty(adj) ชอบพูดพล่อย, ชอบพูดไร้สาระ, ช่างพูด
circumlocution(n) การพูดน้ำท่วมทุ่ง, การพูดวกวน
colloquial(adj) เกี่ยวกับภาษาพูด
colloquialism(n) ภาษาปาก, ภาษาพูด, คำพูดธรรมดาๆ
commonplace(n สิ่งธรรมดาๆ, คำพูดซ้ำๆ) ซากๆ
conversation(n) การสนทนา, การปฏิสันถาร, การติดต่อ, การพูดคุยกัน
conversational(adj) ชอบสนทนา, ชอบพูดคุย
converse(vi) สนทนา, ปฏิสันถาร, ติดต่อ, พูดคุย
dally(vt) เล่นสนุก, ล้อเล่น, ฆ่าเวลา, พูดเล่นลิ้น, เกี้ยวเล่นๆ
declaim(vi) พูดในที่ชุมนุมชน, แสดงปาฐกถา, แสดงสุนทรพจน์
declamation(n) การพูดในที่ชุมนุมชน, ปาฐกถา, การแสดงสุนทรพจน์
deliverance(n) การพูด, การนำส่ง, การปลดปล่อย, อิสรภาพ, การแถลงการณ์, การคลอดลูก
delivery(n) การพูดจา, การกล่าวสุนทรพจน์, การส่งมอบ, การคลอดลูก
descant(vi) พูดยืดยาว, ร้องเพลง

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*talk to the group*พูดคุยกับกลุ่ม
*talk to the group*พูดคุยกับกลุ่ม
conversative(adj) เกี่ยวกับการติดต่อพูดคุยกันระหว่างผู้คนในสังคม
get serious(phrase) พูดจริงๆ, อย่าพูดเป็นเล่น
glibพูดพล่อยๆ พูดไม่คืิด
grunt(vi, vt) พูดเสียงต่ำๆอยู่ในคอ (เพื่อแสดงว่าหงุดหงิด, รำคาญ, ไม่ใส่ใจ)
Hedge(n, vi) [ Linguistics: Pragmatics ] n. คำบ่งชี้ความไม่แน่ใจ คำบ่งชี้การพูดออกตัว การพูดออกตัว โดยใช้ คำ วลี หรือประพจน์เพื่อป้องกันตัวของผู้พูดในกรณีที่พูดผิด ไม่มั่นใจ เช่น วันนี้ฝนอาจจะตก คำว่า อาจจะ คือ hedge ชนิดหนึ่งที่บ่งชี้ว่าผู้พูดมีความไม่มั่นใจ มีความกำกวม ซึ่งฝนจะตกหรือไม่ตกผู้พูดก็ไม่ได้พูดผิด เพราะคำว่า อาจจะ มีความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิด 50/50 v. พูดออกตัว พูดกำกวม พูดป้องกันตัว, See also: softener, downtoner, understatement, weakener, tentativeness, stance m, Syn. mitigator
hi5(n) เว็บไซต์ยอดนิยมของคนไทย ซึ่งสามารถลงรูปถ่ายส่วนตัว ลงเพลง อัพjournalสั้นๆ หรือแม้แต่ตกแต่ง พูดคุยสื่อสารกับชาวบ้าน http://www.hi5.com/
I'll say(phrase) อย่างว่านั้นแหละ (จริงอย่างที่พูด)
in questionอันที่ คนที่ สิ่งที่กำลังพูดถึง
insinuatesaid in an indirect way, especially something unpleasant การพูดจาเสียดสี
keypals(n) กลุ่มคนที่พูดคุยกับเราโดยไม่เห็นหน้า(โดยเฉพาะบนอินเตอร์เน็ท)
lay it on the thick(idioms) พูดเกินจริง ใช้กับการชมเชย แก้ตัว หรือตำหนิ
man of a few words(adj) พูดน้อย ไม่ปริปาก ไม่พูด, See also: silent, A. talkative, Syn. reticent
mansplainingการกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม
moonspeak(slang) การพูดภาษาที่คนอื่นไม่เข้าใจ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA)
overexaggerate(vi) พูดเกินความจริง, โอเว่อร์
pragmaticข้อตกลงในการใช้ภาษา เช่นการเว้นช่องไฟระหว่างคำ และควรพูดนานแค่ไหน แล้วจึงเปลี่ยนให้ฝ่ายตรงข้ามพูดบ้าง
psycholinguistics[げんごしんりがく] (n) การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของภาษากับลักษณะพฤติกรรมของผู้พูด
tight-lipped(adj) พูดน้อย ไม่ปริปาก ไม่พูด, See also: silent, A. talkative, Syn. reticent
tongue-in-cheek(adj) พูดเหน็บแนมแบบขำๆ; แซว (spoken with gentle irony and meant as a joke)
toss aroundtoss around something 1. คิดหรือพิจารณาเกี่ยวกับ.... (to consider or think about something.) Some of us have been tossing around suggestions for improving the show. The morning newspapers print the news, and then commentators toss it around on the evening TV news shows. 2. ใช้คำพูดโดยไม่คิดให้รอบคอบเสียก่อน (to use words without thinking carefully about them.) The financial press tossed around words like “crash” and “disaster.” Students toss bad words around freely.
touch base[ทัชเบส] (with something)การติดต่อหรือพูดคุยกับบางคนเพื่อข้อมูลบางอย่างแบบคร่าวๆ เช่น Let's touch base before the meeting. I have some important information for you.
triteness(n) (คำพูด, ภาษิต, ความเห็น)ที่มีผู้พูดกันมากมายจนเบื่อหู
weng[เหวง] (n, modal, verb) พูดไม่รู้เรื่อง, มึนงง, พูดนอกเรื่อง บอกเป็นนัย ๆ ว่าข้าพเจ้าเป็นฝ่ายถูก มักจะถูกนำมาใช้เมื่อกำลังไม่ได้สิ่งที่ตนเองต้องการ (เริ่มใช้ครั้งแรกบนโต๊ะเจรจา), Syn. confuse
weng[เหวง] (vt) พูดไม่รู้เรื่อง, มึนงง, พูดนอกเรื่อง บอกเป็นนัย ๆ ว่าข้าพเจ้าเป็นฝ่ายถูก มักจะถูกนำมาใช้เมื่อกำลังไม่ได้สิ่งที่ตนเองต้องการ (เริ่มใช้ครั้งแรกบนโต๊ะเจรจา), See also: wenger, Syn. confuse
When it comes to (s/o, s/th)(phrase) เมื่อพูดถึงคุณ, เมื่อกล่าวถึงคุณ, เมื่อนึกถึงคุณ
you can say it again(phrase) พูดอีกก็ถูกอีก
You're close(phrase) (ที่คุณพูดนั้น) ใกล้เคียง
ซากอ้อย(n, slang) เศษซากของประโยชน์ ไม่ได้มีห่าอะไรเล้ย...ซากอ้อยว่ะ เดิมทีปรากฎอยู่ในเนื้อเพลงของวง so cool มีคนมาพูดผ่านๆ หูนายวิชัย นายวิชัยนำไปเขียนลงบล็อก จากบล็อกลงหนังสือ... ว่าแต่จะบอกที่มาทำซากอ้อยอะไรวะ

Longdo Approved JP-TH
でたらめ[でたらめ, detarame] มั่ว(พูดมั่วๆ)
弊社[へいしゃ, heisha] (n) บริษัทของผู้พูด เป็นคำสุภาพแบบถ่อมตัว เมื่อพูดถึงบริษัทของตนเอง มักใช้เป็นภาษาเขียนในจดหมาย, Ant. 御社
曰く[いわく, iwaku] (vt) พูด อธิบาย
確言[かくげん, kakugen] (vt) พูดอย่างแน่ชัด
自宅[じたく, jitaku] (n) บ้าน ใช้เมื่อพูดถึงบ้านของคนคนหนึ่ง
話す[はなす, hanasu] (n, vi, vt, adj, adv, s) บอก, พูด, เล่า
語る[かたる, kataru] (vt) พูด, แจ้ง, See also: 話す
音声[おんせい, onsei] (n) เสียงพูด (ของคน)

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
生意気[なまいき, namaiki] (adv) อย่างไม่อาย, อย่างหน้าด้านๆ, อย่างใจกล้าหน้าด้าน, อย่างไร้ยางอาย<BR> <BR> Eg.<BR> 彼の生意気態度は我慢できない。<BR> ทนลักษณะท่าทางหน้าด้านของเขาไม่ได้แล้ว<BR> <BR> 生意気を言うようですが、そうしない方がいいでしょう。<BR> ดูเหมือนว่าจะพูดอย่างไม่อายเลยนะ ไม่ทำแบบนั้นน่าจะดีกว่านะ<BR>
早口言葉[はやくちことば, hayakuchikotoba] (vt) การพูดเร็วๆจนลิ้นพันกัน, ลิ้นพันกันจากการพูดเร็วๆ, ลิ้นพันกัน
意味[いみ, imi] (n) ความหมาย (คำศัพท์, คำพูด)
明かん (アカン)[あかん, akan] (ภาษาพูด)ใช้ไม่ได้ ไม่ได้การ
ほざく[ほざく, hozaku] พ่น(คำพูด)พล่าม , เห่า
元請け[もとうけ, motouke] ผู้ยื่นข้อตกลง, ผู้สัญญา (เป็นคำพูดที่มักใช้ในข้อสัญญา ข้อตกลง มักจะใช้คู่กับ 下請け=したうけ=Subcontractor=ผู้รับข้อตกลง), See also: A. 下請け, R. 下請け
下請け[したうけ, shitauke] ผู้รับข้อตกลง, ผู้ทำสัญญา (เป็นคำพูดที่มักใช้ในข้อสัญญา ข้อตกลง มักจะใช้คู่กับ 元請け=もとうけ=Contractor=ผู้ยื่นข้อตกลง), See also: A. 元請け, R. 元請け
書面[しょめん, shomen] เอกสาร (มักใช้หรือพูดในเวลาที่ต้องการจะกล่าวถึงวิธีการ เช่น บอกด้วยปากเปล่า อย่างกรณี 書面 นี้ก็จะเป็นว่า ด้วยเอกสาร หรืออาจจะใช้ในความหมายในลักษณะที่ว่า ในหน้าเอกสาร) ความแตกต่างระหว่าง 書類 ก็คือ 書類 มักใช้ในความหมายถึงเอกสารทั่วไปโดยปกติ, See also: R. 書類
なんちゃって[なんちゃって, nanchatte] (adj, phrase) คำว่า なんちゃって มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า กำมะลอ, จอมปลอม, ปลอม หรือ ไม่ใช้ของแท้ มักนำเอาไปขยายหน้าคำนามได้เป็นความหมาย อะไรอะไรจอมปลอม (พูดโดยใส่ความรุ้สึกอารมณ์ประชดประชัน)
口癖[くちぐせ, kuchiguse] คำพูดติดปาก
げきちん[げきちん, gekichin] (slang) มุขแป้ก หรือ พูดเรื่องตลกแต่ไม่ขำ
なんちゃって[なんちゃって, nanchatte] (phrase) อธิบาย: เป็นคำใช้ล้อเลียน หรือเวลาต้องการพูดล้อเล่น ติดตลก แปลได้หลายอย่าง เช่น ไม่ใช่ซะกะหน่อย ซะอย่างงั้น กลายเป็นงั้นไป ฯลฯ ตัวอย่างการใช้ ใช้ต่อท้ายประโยคหรือบทพูด เพื่อจะบอกว่าสิ่งที่พูดมาทั้งหมดโม้ หรือโกหก
命綱[いのちづな, inochizuna] (n) 1.เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เวลาทำงานในที่สูง หรือบนเรือ <BR>2.ฟางเส้นสุดท้าย (มีความหมายว่า เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวสุดท้าย ถ้าไม่มีสิ่งที่พูดมาข้างต้น จะไม่สามารถทำให้ลุล่วงสำเร็จไปได้ หรือว่าทำให้ตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก หรืออันตรายถึงชีวิต)
やせ我慢[やせがまん, yasegaman] ฝืนทำ ฝืนใจ(กิน) กัดฟัน(พูด) ฝืนทำเป็น...
比喩[ひゆ, hiyu] การพูดเปรียบเทียบ การอุปมาอุปไมย
台詞[せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance
ボーカル[ぼーかる, bokaru] (adj) (โว'เคิล) adj. เกี่ยวกับเสียงเปล่ง, เกี่ยวกับเสียงพูด, เกี่ยวกับเสียงร้อง, แสดงด้วยวาจา. n. เสียงดังกล่าว, เสียงร้อง., S. . vocally adv.
言い寄る[いいよる, iiyoru] (vt) พูดเกี้ยว, จีบ
ドタキャン[どたきゃん, dotakyan] (colloq) Dotacan เป็นภาษาพูด หมายถึง เดทหรืองาน ที่ล้มเหลวก่อนจะได้เริ่ม
へりくつ[へりくつ, herikutsu] (n) การพูดเล่นลิ้น เล่นลิ้น
これ[これ, kore, kore , kore] (n) นี่, สิ่งนี้ (สิ่งของที่อยู่ใกล้ตัวผู้พูด)
あれ[あれ, are, are , are] (n) โน่น, สิ่งโน้น (สิ่งของที่อยู่ไกลจากทั้งตัวผู้พูดและผู้ฟัง)
ここ[ここ, koko, koko , koko] (pron) ที่นี่, ตรงนี้ (สถานที่ที่ตัวผู้พูดอยู่)
ここ[ここ, koko, koko , koko] (pron) ที่นี่, ตรงนี้ (สถานที่ที่ตัวผู้พูดอยู่), See also: S. こちら
あそこ[あそこ, asoko, asoko , asoko] (pron) ที่โน่น, ตรงโน้น (สถานที่ที่อยู่ไกลจากทั้งตัวผู้พูดและผู้ฟัง), See also: S. あちら
ギクシャク[ぎくしゃく, gikushaku] (adv) ไม่ไหลลื่น, ตะกุกตะกัก (เรื่องราว, การพูด, ท่าทาง, ฯลฯ)
小官[しょうかん, shoukan] (n) กระผม, ข้าน้อย เป็นคำแทนตนเมื่อพูดกับเจ้านายหรือผู้บังคับบัญชาของตนเอง
戻ってきたのは[もってきたのは, mottekitanoha] (n) การพูดไม่ออก, การเป็นใบ้ชั่วคราว (จากความตะลึง)
どころか[もってきたのは, dokoroka] (exp) ไม่ต้องพูดถึง..., ลืมเรื่อง...ไปได้เลย
言動[げんどう, gendou] กริยาวาจา, คำพูดเเละการกระทำ

Saikam JP-TH-EN Dictionary
致す[いたす, itasu] TH: ทำ(รูปถ่อมตน ใช้กับการกระทำของผู้พูด)  EN: to do (pol)
打ち合せ[うちあわせ, uchiawase] TH: การนัดหมายเพื่อพบปะพูดคุย  EN: previous arrangement
構いません[かまいません, kamaimasen] TH: คำพูดที่ใช้บอกฝ่ายตรงข้ามให้สบายใจว่าผู้พูดไม่ถือสา แปลว่า ไม่เป็นไร  EN: it doesn't matter
申す[もうす, mousu] TH: พูด
述べる[のべる, noberu] TH: พูดถึง  EN: to mention
喋る[しゃべる, shaberu] TH: พูด  EN: to talk
居る[おる, oru] TH: อยู่(เป็นรูปถ่อมตนใช้กับพฤติกรรมของผู้พูด)  EN: to be (hum)
存じる[ぞんじる, zonjiru] TH: ทราบ(รูปถ่อมตนของผู้พูด)  EN: to know (hum)
云う[いう, iu] TH: พูด  EN: to say
話せる[はなせる, hanaseru] TH: พูดได้  EN: to be able to speak
頂く[いただく, itadaku] TH: รับ(คำถ่อมตนของผู้พูด)
前者[ぜんしゃ, zensha] TH: อย่างแรก, ตัวแรก(ของที่พูดถึงก่อน)  EN: the former
語り合う[かたりあう, katariau] TH: พูดคุยกัน  EN: to talk together
対話[たいわ, taiwa] TH: การสนทนาพูดตอบโต้  EN: interactive
表わす[あらわす, arawasu] TH: แสดงออกมา(โดยคำพูดหรือท่าทาง)  EN: to express
言う[いう, iu] TH: พูด
参る[まいる, mairu] TH: มา(คำถ่อมตนของผู้พูด)  EN: to come (hum)
参る[まいる, mairu] TH: ไป(เป็นคำถ่อมตนของผู้พูด)  EN: to go
仰る[おっしゃる, ossharu] TH: พูด(เป็นคำยกย่องฝ่ายตรงข้าม)  EN: to say (hon)
召し上がる[めしあがる, meshiagaru] TH: รับประทาน(รูปสุภาพใช้กับประธานที่เป็นผู้อื่น ไม่ใช่ผู้พูด)  EN: to eat (pol)
くれる[くれる, kureru] TH: ให้(ผู้รับจะต้องเป็นผู้พูดหรือพวกเดียวกับผู้พูด)  EN: to be given
くれる[くれる, kureru] TH: (ทำอะไร)ให้(แก่ผู้พูดหรือพวกเดียวกับผู้พูด)
出来上がり[できあがり, dekiagari] TH: เป็นคำพูดบอกว่าทำงานหรือบางสิ่งบางอย่างเสร็จเรียบร้อยแล้ว  EN: be finished
前方[ぜんぽう, zenpou] TH: ด้านหน้าของผู้พูด  EN: forward
黙る[だまる, damaru] TH: นิ่งเงียบไม่พูดจา  EN: to be silent
過言[かごん, kagon] TH: การพูดเกินจริง  EN: exaggeration
過言[かごん, kagon] TH: การพูดมากไป  EN: saying too much
話し合う[はなしあう, hanashiau] TH: เจรจาพูดคุย  EN: to discuss
因みに[ちなみに, chinamini] TH: ไหน ๆ ก็พูดแล้ว  EN: incidently
発言[はつげん, hatsugen] TH: การกล่าวคำพูดออกมา

Longdo Approved DE-TH
Er kommt erst heute nach seinem Urlaub.เขาเพิ่งจะมาวันนี้หลังจากที่หยุดพักร้อนมา, erst ใช้เสริมเหตุการณ์ที่ผู้พูดรู้สึกว่า เพิ่งเกิดขึ้น, ไม่นานมานี้
Stimme(n) |die, pl. Stimmen| เสียงคนพูด, See also: der Schall, das Geräusch
dennใช้เป็นคำเน้น ไม่มีความหมายที่แน่นอน ใช้เสริมในประโยคเพื่อให้ฟังดูนุ่มขึ้น อาจแปลเป็นไทยภาษาพูดว่า 'ล่ะ' เช่น Was machst du denn da? เธอทำอะไรอยู่หรือเนี่ย (ถ้าไม่มี denn ฟังดูห้วนคล้ายว่า เธอทำอะไรอยู่)
erneut(adv) ครั้งใหม่, อีกครั้ง (ภาษาเขียน) เช่น erneut sagen พูดซ้ำอีกครั้ง, Syn. wieder
halten(vt) |hält, hielt, hat gehalten| รักษาไว้, คงไว้ เช่น Ordnung halten รักษากฏ, das Versprechen halten รักษาคำพูด
heraus(adv) บ่งชี้ทิศทางออกข้างนอกของผู้พูด เช่น Heraus mit dir! ออกไปซะ
sagenพูด, กล่าว |sagte, gesagt|
sprechen(vi) |spricht, sprach, gesprochen| พูด, กล่าว, ปราศัย เช่น Wovon sprichst du? เธอพูดถึงอะไรนะ
Kerl(n) |der, pl. Kerle/Kerls| ชายหนุ่ม (ภาษาพูด), See also: Junge, Mann
süß(adj) น่ารัก(ท่าทางกิริยา การพูด), See also: hübsch
Stimme(n) |die, pl. Stimmen| เสียงพูด เสียงร้อง
man(n) |Singl.| ผู้คนหรือเรา เป็นคำสรรพนามที่ใช้บ่งถึงเหตุการณ์ทั่วไป เช่น Man spricht nicht mit vollem Mund. เราไม่ควรพูดขณะทานข้าวหรือมีข้าวเต็มปาก
auf die Nerven gehenกวนประสาท, รบกวน, สร้างความรำคาญ เช่น Deine Rederei geht mir langsam auf die Nerven. การพูดของเธอเริ่มกวนประสาทฉัน
recht habenถูกต้อง, พูดได้ถูกต้อง เช่น Er hat mit dieser Aussage recht.
Komm zur Sache!(phrase) เข้าเรื่องกันเถอะ (อาจแปลได้ว่า อย่ามัวพล่ามน้ำท่วมทุ่ง! ในเวลาที่คนพูดเริ่มอารมณ์ไม่ดี)
Na und?(phrase) เหรอ แล้วไง? (ภาษาพูด)
Morgen!(phrase) อรุณสวัสดิ์, สวัสดีตอนเช้า ใช้พูดกันสั้นๆ ย่อมาจาก Guten Morgen!
Guten Tag!(phrase) สวัสดี (ใช้พูดเวลากลางวัน)
Guten Abend!(phrase) สวัสดี (ใช้พูดตอนเย็น) อาจพูดสั้นๆว่า Abend!
Gute Nacht!(phrase) ราตรีสวัสดิ์ อาจพูดสั้นๆว่า Nacht!
bitteไม่เป็นไร เป็นคำสุภาพใช้ตอบรับเวลาที่มีคนพูดขอบคุณ เช่น Vielen Dank. - Bitte (schön)!
Tschüss!ลาก่อน, บ๊ายบาย, ไปล่ะ (ใช้พูดเวลาร่ำลา), See also: Auf Wiedersehen!
große Toilette machen(vt) อุจจาระ (เป็นภาษาพูดเพื่อหลีกเลี่ยงคำว่า อุจจาระ) เช่น Wann haben Sie zum letzten Mal die große Toilette gemacht? คุณอึครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่
pinkeln(vi) |pinkelte, hat gepinkelt| ปัสสาวะ ;ปกติคนเยอรมันไม่พูดว่าไปปัสสาวะ แต่จะพูดว่า Ich möchte auf die Toilette gehen., Wo ist die Toilette? ขอไปห้องน้ำหน่อย หรือ Ich bin gleich wieder da. ขอตัวเดี๋ยวมา
bedeckt(adj) (พูดถึงสภาพอากาศ) มีเมฆปกคลุม
überreden(vt) |überredete, hat überredet| พูดจาหว่านล้อม เช่น Mein Kind hat mich dazu überredet, ihm ein Spielzeug zu kaufen. ลูกของผมหว่านล้อมให้ผมซื้อของเล่นให้เขา, See also: die Überedung
ansprechen(vt) |sprach an, hat angesprochen| ทัก, เอ่ย, พูดจาทักทาย เช่น Er hat als erstes mich auf der Party angesprochen. เขาเป็นคนแรกที่ทักฉันในงานเลี้ยง
der Plausch(n) การคุยสนทนา (ไม่เป็นทางการ เป็นภาษาพูด), การซุบซิบ, Syn. das Gespräch
schwören(vi, vt) |schwor, hat geschworen| สาบานต่อหน้าศาลว่าที่พูดมาเป็นความจริง
nennenswert(adj) ที่น่าเอ่ยถึง, เป็นที่น่าพูดถึง เช่น Diese Woche hat sie keinen nennenswerten Fortschritt. อาทิตย์นี้เธอไม่มีผลงานความก้าวหน้าที่น่าเอ่ยถึงเลย, Syn. erwähnenswert
Aufmerksamkeit(n) |die, pl. Aufmerksamkeiten| ความสนใจ, ความเอาใจใส่ เช่น Vielen Dank für Ihre Aufmerksamkeit! ขอบคุณมากสำหรับความสนใจของคุณ หรือ ขอบคุณมากที่คุณตั้งใจฟัง (มักใช้หลังจากผู้พูดจบการอภิปราย)
spüren(vi, vt) |spürte, hat gespürt| รู้สึกถึง, รับความรู้สึก, รับรู้ เช่น Du sollst spüren, daß sie immer für dich da ist. นายควรรับรู้ไว้ว่าเธออยู่ตรงนี้เสมอสำหรับนาย (สังเกตความแตกต่างระหว่าง spüren และ fühlen โดยมาก fühlen ใช้บ่งความรู้สึกทางร่างกาย เช่น Ich fühle mich schlecht.ซึ่งจะไม่พูดว่า Ich spüre schlecht. ), See also: Related: fühlen
schweigen(vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein
sich äußern(vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen
Unglück(n) |das, nur Sg.| ความโชคร้าย หรือ ไม่มีดวง, อุบัติเหตุ, โศกนาฏกรรม ตัวอย่างการใช้คำ 1° Bei diesem Unglück sind 13 Schüler aus Stuttgart gestorben. = ในโศกนาฏกรรม ครั้งนี้ ทำให้นักเรียนจากเมืองชตุ๊ดการ์ด, เยอรมนี ได้เสียชีวิตลง 13 คน 2° Busunglück = อุบัติเหตุโดยรถโดยสารประจำทาง ( ร้ายแรงกว่า Autounfall หน่อย เพราะจำนวนผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตมีจำนวนมากกว่า ) 3° Das bringt mir Unglück! = ผม ช่างโชคร้าย อะไรเช่นนี้ ( Unglück นิยมพูด โดยละ Artikel, das ) 4° Unglücklicherweise, daß ich deine Geschichte erfahren habe! = ช่างโชคร้าย อะไรเช่นนี้ ที่ผมต้องมารับรู้ เรื่องราวของคุณอย่างนี้นะ! ), See also: die Katastrophe, das Pech, Syn. der Unfall
in etwaโดยประมาณ, สัก... (ภาษาพูด) ตัวอย่างการใช้คำ a: Wann bist du angekommen? = คุณมาถึงตั้งแต่เมื่อไหร่ละเนี่ย? b: In etwa 10 Minuten schon. = อ๋อ ก็สัก 10 นาที แล้วล่ะ, See also: etwa, Syn. ungefähr
versoffen(adj, adv, slang) เมา หรือ มึนเพราะดื่มแอลกอฮอล์ ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Deine Stimme klingt irgendwie versoffen. = เวลาคุณพูด เสียงคุณเหมือนจะบอกว่า คุณเมาเลยนะ ( หรือว่า versoffene Stimme ก็ได้ ) 2° Mein Onkel ist immer versoffen. = ลุงฉันอะน่ะ เมาเป็นประจำ, See also: A. bewusst, Syn. betrunken
stumm(adj, adv) เป็นใบ้ หรือ ไม่ยอมพูด เช่น 1° Er sitzt die ganze Zeit stumm da. = เขานั่งเงียบไม่ยอมพูดอะไรตลอดเวลา 2° Meine einzige Tochter ist nach dem Unfall stumm geworden. = ลูกสาวคนเดียวของผมกลายเป็นใบ้หลังจากเกิดอุบัติเหตุครั้งนั้น
neunmalkluges Gerede(n) |das, pl. neunmalkluge Gerede| การแสดงออกหรือคำพูดที่แสดงว่าผู้พูดรู้ในสิ่งต่างๆ ดีกว่าคนอื่นๆ, การอวดรู้, Syn. die Angeberei
Lügner(n) |der, pl. Lügner| คนโกหก, คนที่พูดปดมดเท็จ
Lügnerin(n) |der, pl. Lügnerinnen| คนโกหก, คนที่พูดปดมดเท็จ
sprachlos(adj) อึ้งจนพูดไม่ออก หรือ ดีใจ, ประหลาดใจจนพูดไม่ออก (vor Freude; Schreck; Überraschung; Erstaunen sprachlos sein), See also: Related: die Sprachlosigkeit
Schatz(n, slang) |der, pl. Schätze| ที่รัก (เป็นภาษาพูดสำหรับคู่รักหรือพ่อแม่กับลูก) เช่น Bist du schon zurück, mein Schatz? เธอกลับมาแล้วหรือจ๊ะ ที่รักจ๋า
abschleppen(vt) |schleppte ab, hat abgeschleppt| รับ(คน), นำใครกลับบ้าน(โดยหวังจะมีเซ็กส์ด้วย ในภาษาพูดบางครั้ง)
sich verhören(vt) |verhörte sich, hat sich verhört| ฟังผิด เช่น Sagtest du 'Autobahn' oder habe ich mich verhört? เธอพูดว่าออโต้บาน หรือว่าฉันฟังผิดนะ
sich versprechen(vt) |versprach sich, hat sich versprochen| พูดผิด เช่น Der Redner war sehr nervös und hat sich dauernd versprochen. ผู้พูดอภิปรายตื่นเต้นเกินไป และพูดผิดตลอดเวลา
Tschüß!(phrase) ลาก่อน, บ๊ายบาย (ข้อแตกต่างจาก Auf Wiedersehen! คือ Tschüß! สามารถใช้พูดได้ทุกกรณีไม่ว่าจะเป็นสู่เพื่อน, คนสนิทหรือคนที่ทำงานที่เจอกันเกือบทุกวัน, หรือตามร้านค้าสำนักงาน), See also: Auf Wiedersehen!, Syn. Ciao!
Stil(n) |der, pl. Stile| สไตล์หรือลักษณะวิธีการพูดหรือเขียนเฉพาะบุคคล เช่น Sie hat einen lebendigen Stil beim Sprechen. เธอคนนี้มีวิธีการพูดที่มีชีวิตชีวา
duzen sich(vt) พูดคุยกันด้วย du (เธอ) ใช้ภาษาเป็นกันเองไม่ใช้คำว่า Sie (คุณ) เช่น Er duzt sich mit seinem Professor. เขาพูด du กับศาสตราจารย์
duzen(vt) |duzte, hat geduzt, + jmdn.| พูดกับใครคนหนึ่งด้วย du (เธอ) ใช้ภาษาเป็นกันเองไม่ใช้คำว่า Sie (คุณ)

Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
geil[ไกย] ยอดเยี่ยม ดีเลิศ (เป็นภาษาพูด เหมือนคำว่า เจ๋ง เทพ สุดยอด) เช่น Du bist einfach geil und wunderschön!
telefonieren(vt) พูดโทรศัพท์
Verdammt noch mal!; Verflucht noch mal!(phrase) damn it! (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย)

Longdo Approved FR-TH
au revoir!(phrase) แล้วพบกันใหม่ (เวลาจากกันควรพูดคำลา ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ฝรั่งเศส)
parole(n) |f| คำ(ภาษา), คำพูด เช่น la parole de Dieu คำจากพระเจ้า
s'en aller(v/pr,, reflexiv) ออกไปจากที่ ที่ผู้พูดกำลังอยู่ขณะนั้น, Syn. partir
allôสวัสดี (ใช้พูดทักทายทางโทรศัพท์เท่านั้น)
madameเป็นคำนำหน้าชื่อของผู้หญิงที่สุภาพ ไม่จำเป็นต้องแต่งงานแล้ว คล้ายกับ นางและนางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Madame Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mme. Chantel, See also: mademoiselle, Ant. monsieur, Related: mademoiselle
mademoiselleเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame
monsieurเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), Ant. madame, mademoiselle
entendre(vt) ฟัง, (comprendre)เข้าใจ, (vouloir dire)แสดงความคิดเห็น, (vouloir)ต้องการจะ เช่น j'entends par là que... = ฉันอยากจะบอกว่า..., ผมอยากจะพูดว่า...
dire(vt) |je dis, tu dis, il dit, nous disons, vous dites, ils disent| พูด, กล่าว
beaucoup(adj, adv) มาก, มากมาย, เยอะ เช่น J'ai beaucoup de travail. ผมมีงานมาก, On parle beaucoup de ce film. ผู้คนพูดถึงภาพยนต์เรื่องนี้กันมาก
Je vous en prie.(phrase) ไม่เป็นไร (ใช้ในกรณีที่มีคนขอบคุณเรา มีความหมายเท่ากับ You're welcome.ในภาษาอังกฤษ เป็นภาษาสุภาพ ถ้าพูดกับคนคุ้นเคยกันใช้ประโยคที่ว่า Je t'en prie!), Syn. De rien!, Il n'y a pas de quoi.
Il n'y a pas de quoi.|อาจพูดสั้นๆได้ว่า pas de quoi!| ไม่เป็นไร (ใช้ในกรณีที่มีคนขอบคุณ), Syn. De rien!, Je t'en prie!, Je vous en prie.
bon appétit(phrase) ขอให้เจริญอาหาร ขอให้อร่อย (ใช้พูดก่อนรับประทานอาหาร ซึ่งเป็นธรรมเนียมในฝรั่งเศส)
argot(n) |m| ภาษาสแลง, ภาษาพูด เช่น Les mots du Dictionnaire de la langue française pour l'usage argot.

Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
be supposed toน่าจะ, ควรจะ, เป็นการแสดงความคาดหวังของผู้พูดต่อประธานในประโยคว่าน่าจะทำกริยาที่ระบุไว้
convaincre(vi, vt) ทำให้เชื่อหรือเลื่อมใส, โน้มน้าวใจ ( โดยส่วนใหญ่แล้วเนื่องจากผู้พูดต้องการหรืออยากจะทำอะไรบางอย่าง ที่ควรจะได้รับการอนุญาต หรือ ความเห็นด้วยก่อน ), Syn. persuader
see each other[ซี อีช อาเธอ] (phrase) พบปะ พูดคุย เยี่ยมเยี่ยน, See also: talk, Syn. visit

Time: 0.956 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/