Search result for

*retrieval*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: retrieval, -retrieval-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
retrieval(n) การกู้คืนมา, See also: การเอากลับมา, Syn. regaining, restoration

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
data retrievalการค้นคืนข้อมูลหมายถึง กระบวนการในการเรียกหา หรือนำข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลหรือสื่อเก็บข้อมูล กลับมาแสดงบนจอภาพหรือเครื่องปลายทาง (terminal)
retrieval(รีทรี'เวิล) n. การเอากลับคืนมา, การทำให้คืนสู่สภาพเดิม, การแก้ไข, การซ่อมแซม, การช่วยชีวิต, การกอบกู้

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
retrievalการค้นคืน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
information retrievalการค้นคืนสารสนเทศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
information retrievalการค้นคืนสารสนเทศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
trie (retrieval)ทรัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Information storage and retrieval systemระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Information storage and retrieval systemระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ, Example: <p>ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ หรือ ระบบการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการที่มีการคัดเลือก ควบคุม โครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงและกระบวนการใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องจากแหล่งภายในและภายนอก ให้ผู้ใช้ได้รับทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ โดยเป็นทั้งระบบที่จัดทำด้วยแรงงานคนและด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทหน้าที่ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในช่องทางที่เป็นทางการ และเป็นตัวกลางที่สำคัญเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับทรัพยากรสารสนเทศ <p>พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ มี 2 ช่วงคือ ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 และ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 <p>1. ช่วงก่อนทศวรรษ 1960 เป็นการพัฒนาระบบจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ของสถาบันบริการสารสนเทศประเภทห้องสมุด การจัดหมวดหมู่ซึ่งพัฒนามาเป็นระบบหมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งการจัดทำดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการพัฒนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก ซึ่งเป็นการถ่ายภาพย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อ เช่น กระดาษลงฟิล์ม เทคโนโลยีในการค้นคืนระบบแรก เป็นเทคนิคการทำเครื่องมือค้นประเภทบัตรเจาะบันทึกหัวเรื่อง การทำดรรชนี เช่น ควิก และริเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ทำบัตรรายการ <p>2. ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่สำคัญ เช่น การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่ คือ โอซีแอลซี (OCLC : Online Computer Library Center) และอาร์แอลไอเอ็น (RLIN : Research Libraries Information Network) บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ เช่น กลุ่มไดอะลอก ออบิต และอินเทร์เน็ตกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Information retrievalการค้นข้อสนเทศ, Example: <p>การค้นข้อสนเทศ หรือ การค้นคืนสารสนเทศ มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อค้นคืนเอกสารทั้งหมดในทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าเรื่องกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ออกมา โดยมีเอกสารที่ไม่เข้าเรื่องปะปนออกมาให้น้อยที่สุด การค้นคืนสารสนเทศมีหลักการพื้นฐานที่สำคัญ 2 ส่วน คือ <p>1. การจัดทำตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การจับคู่เพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแทนทั้งสองนี้ (ตัวแทนสาระของเอกสาร และตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้) <p>ระบบค้นคืนสารสนเทศ จำแนกประเภทได้หลายวิธี ที่สำคัญคือการจำแนกประเภทของระบบตามประเภทของสารสนเทศที่จัดเก็บและค้นคืนได้ ได้แก่ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ฐานข้อมูลตัวเลข ฐานข้อมูลภาพ และฐานข้อมูลมัลติมีเดีย <p>กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ <p>1. การทำความเข้าใจกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ <p>2. การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศที่เหมาะสม <p>3. การกำหนดความต้องการสารสนเทศในรูปแนวคิดและคำค้น <p>4. การกำหนดกลยุทธ์การค้น <p>5. การดำเนินการค้นและทบทวนผลการค้น <p>ปัจจัยสนับสนุนในการค้นหาสารสนเทศ ได้แก่ <p>1. การสัมภาษณ์ผู้ใช้ก่อนการค้นหา เช่น ประเภทของสารสนเทศที่ต้องการ ลักษณะการนำสารสนเทศไปใช้ ระดับความลุ่มลึก และปริมาณของสารสนเทศที่ต้องการ <p>2. เกณฑ์การคัดเลือกระบบค้นคืนสารสนเทศ เช่น ขอบเขต ความทันสมัย ระยะเวลา เนื้อหาสาระ ค่าใช้จ่าย <p>3. เทคนิคสำคัญในการค้นหาสารสนเทศ เช่น การกำหนดคำค้นด้วยศัพท์ควบคุม (Control vocabulary) และศัพท์ไม่ควบคุม (Uncontrol vocabulary) การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคำค้นด้วยตรรกะบูเลียน เทคนิคการตัดคำ และเทคนิคการระบุเขตข้อมูล <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2545). แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ : Information storage and retrieval หน่วยที่ 1-15. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cross-language information retrievalการค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cross-language information retrievalการค้นข้อสนเทศข้ามภาษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Information retrievalการค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Information storage and retrieval systemsระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Dialog (Information retrieval system)ไดอะล็อก (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [คอมพิวเตอร์]
DIALOG (Information retrieval system)ไดอะล็อก (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [TU Subject Heading]
Information retrievalการค้นข้อสนเทศ [TU Subject Heading]
Information storage and retrieval systemsระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ [TU Subject Heading]
ISIS (Information retrieval system)ไอซิส (ระบบการค้นข้อสนเทศ) [TU Subject Heading]
Eggs Retrievalเก็บไข่ [การแพทย์]

WordNet (3.0)
retrieval(n) (computer science) the operation of accessing information from the computer's memory
retrieval(n) the cognitive operation of accessing information in memory
recovery(n) the act of regaining or saving something lost (or in danger of becoming lost), Syn. retrieval

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Retrieval

n. The act retrieving. [ 1913 Webster ]

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
retrievalAs yardsticks to measure the effectiveness of information retrieval there exist those called 'recall ratio' and 'precision ratio'.

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
retrieval
retrieval

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
retrieval

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
检索[jiǎn suǒ, ㄐㄧㄢˇ ㄙㄨㄛˇ,   /  ] retrieval; retrieve; research #6,711 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Abfragen { n }; Abrufen { n } | Abrufen von Systemmeldungenretrieval | system message retrieval [Add to Longdo]
Abfragesprache { f }query language; retrieval language [Add to Longdo]
Abfragestation { f }retrieval terminal [Add to Longdo]
Abfragesystem { n }retrieval system [Add to Longdo]
Apportieren { n }retrieval [Add to Longdo]
Datenabruf { m }data retrieval [Add to Longdo]
Regalbedienfahrzeug { n } (RFZ); Regalbediengerät { n }; Regalförderzeug { n }(racking) storage and retrieval vehicle [Add to Longdo]
Regalbediengerät { n } | Regalbediengeräte { pl }storage and retrieval machine (SRM) | storage and retrieval machines [Add to Longdo]
Rettung { f }; Bergung { f }retrieval [Add to Longdo]
Rückgewinnung { f }retrieval [Add to Longdo]
Wiederauffinden { n }retrieval [Add to Longdo]
Wiedererlangen { n }retrieval [Add to Longdo]
Wiedergutmachen { n }; Wiedergutmachung { f }; Wettmachen { n }retrieval [Add to Longdo]
Wiederherstellung { f }; Wiederherstellen { n }retrieval [Add to Longdo]
Zurückholen { n }; Hervorholen { n }; Herausholen { n }retrieval [Add to Longdo]
hoffnungslos { adj }beyond retrieval [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
検索[けんさく, kensaku] (n, vs) looking up (e.g. a word in a dictionary); retrieval (e.g. data); searching for; referring to; (P) #1,341 [Add to Longdo]
回収[かいしゅう, kaishuu] (n, vs) collection; recovery; withdrawal; retrieval; (P) #5,495 [Add to Longdo]
あいまい検索;曖昧検索[あいまいけんさく, aimaikensaku] (n) { comp } fuzzy reference; ambiguous search; ambiguous retrieval [Add to Longdo]
インフォメーションリトリーバル[infome-shonritori-baru] (n) information retrieval [Add to Longdo]
クロスランゲージ情報検索[クロスランゲージじょうほうけんさく, kurosurange-ji jouhoukensaku] (n) { comp } cross-language information retrieval; CLIR [Add to Longdo]
検索ポート[けんさくポート, kensaku po-to] (n) { comp } retrieval port [Add to Longdo]
構造体取出し[こうぞうたいとりだし, kouzoutaitoridashi] (n) { comp } structure retrieval [Add to Longdo]
参照検索[さんしょうけんさく, sanshoukensaku] (n) { comp } reference retrieval [Add to Longdo]
参照事項検索[さんしょうじこうけんさく, sanshoujikoukensaku] (n) { comp } reference retrieval [Add to Longdo]
情報検索[じょうほうけんさく, jouhoukensaku] (n) { comp } information retrieval [Add to Longdo]
想起[そうき, souki] (n) (1) remembering; recollection; recall; retrieval; (vs) (2) to remember; to recall; to recollect; to call to mind; to envision [Add to Longdo]
内容検索[ないようけんさく, naiyoukensaku] (n) { comp } content retrieval [Add to Longdo]
文献検索[ぶんけんけんさく, bunkenkensaku] (n) { comp } document retrieval [Add to Longdo]
連想検索[れんそうけんさく, rensoukensaku] (n) { comp } associative retrieval [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
検索[けんさく, kensaku] retrieval (vs), looking up (a word in a dictionary), searching for, referring to [Add to Longdo]
検索ポート[けんさくポート, kensaku po-to] retrieval port [Add to Longdo]
構造体取出し[こうぞうたいとりだし, kouzoutaitoridashi] structure retrieval [Add to Longdo]
再現率[さいげんりつ, saigenritsu] retrieval rate [Add to Longdo]
参照検索[さんしょうけんさく, sanshoukensaku] reference retrieval [Add to Longdo]
参照事項検索[さんしょうじこうけんさく, sanshoujikoukensaku] reference retrieval [Add to Longdo]
情報検索[じょうほうけんさく, jouhoukensaku] information retrieval, IR [Add to Longdo]
内容検索[ないようさくいん, naiyousakuin] content retrieval [Add to Longdo]
文献検索[ぶんけんけんさく, bunkenkensaku] document retrieval [Add to Longdo]
連想検索[れんそうけんさく, rensoukensaku] associative retrieval [Add to Longdo]
曖昧検索[あいまいけんさく, aimaikensaku] ambiguous search, ambiguous retrieval [Add to Longdo]

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top