(-รด) น. ลูกชาย (ใช้แก่เจ้านาย) ใช้ว่า พระราชโอรส หรือ พระโอรส.
น. สามัญชนที่เป็นตาของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา.
น. สามัญชนที่เป็นยายของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา.
(คฺลอด) ก. ออกลูก, ออกจากครรภ์, ราชาศัพท์ว่า ประสูติ เช่น ประสูติพระราชโอรส ประสูติพระราชธิดา
น. ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งมีพระโอรสพระธิดา.
น. เจ้าโดยกำเนิดหรือที่สถาปนาขึ้น, เรียกพระราชโอรสและพระราชธิดาชั้นเจ้าฟ้า ว่า เจ้าครอกฟ้า, เรียกพระองค์เจ้า ว่า เจ้าครอก, และเรียกหม่อมเจ้า ว่า ครอก.
น. ตำแหน่งภรรยาของพระมหากษัตริย์ ซึ่งไม่มีพระราชโอรสพระราชธิดา
ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๑-๕ ซึ่งไม่มีพระราชโอรสพระราชธิดา.
น. ตำแหน่งภรรยาของพระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระราชโอรสพระราชธิดา
ตำแหน่งภรรยาของกรมพระราชวังบวรฯ วังหน้า ในรัชกาลที่ ๑-๔ ซึ่งมีพระราชโอรสพระราชธิดา
น. สกุลยศของพระราชโอรสหรือพระราช-ธิดาที่ประสูติแต่พระมเหสี หรือประสูติแต่พระมารดาที่เป็นพระราชธิดาหรือพระราชนัดดาของพระมหากษัตริย์, สกุลยศของพระราชนัดดาของพระมหากษัตริย์ที่ทั้งพระบิดาและพระมารดาเป็นเจ้าฟ้า
น. การขับกล่อมพระราชโอรสพระราชธิดาในพระราชพิธีสมโภชขึ้นพระอู่.
ก. ตาย เช่น มาตรแม้นพระองค์ชีวงคต โอรสจะม้วยสังขาร์ (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้แก่สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี).
น. ห้องโถงขนาดใหญ่ในพระที่นั่ง สำหรับพระมหากษัตริย์เสด็จออกว่าราชการ ออกมหาสมาคม รับแขกเมือง, ห้องโถงซึ่งต่อออกมาจากตำหนักเจ้านายที่เป็นพระราชโอรสที่ทรงกรม และทรงเป็นผู้ปฏิบัติพระกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง ใช้สำหรับเสด็จออกให้เฝ้าหรือว่าราชการ.
น. คำที่พระราช-โอรสพระราชธิดาทรงเรียกพระราชบิดาที่เป็นพระมหากษัตริย์
คำเรียกพระราชโอรสพระราชธิดาซึ่งเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก ประสูติแต่พระอัครมเหสี, ใช้ว่า ทูลหม่อม ก็มี, หากเจ้านายทรงเรียกพระประยูรญาติที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก จะระบุคำแสดงความเป็นเครือญาติท้ายคำว่า ทูลกระหม่อม เช่น ทูลกระหม่อมปู่ ทูลกระหม่อมพ่อ ทูลกระหม่อมลุง ทูลกระหม่อมป้า ทูลกระหม่อมอา.
ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของเล็กหรือของที่ยกได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย.
ก. ถวาย (ใช้แก่สิ่งของใหญ่หรือของที่ยกขึ้นให้ไม่ได้ที่ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เขียนว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย ก็ได้ แต่ต้องอ่านว่า น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย.
น. หน้าที่ เช่น อันการสงครามครั้งนี้ ไว้นักงานพี่จะช่วยหัก (รามเกียรติ์ ร. ๑), เจ้าพนักงาน เช่น เหวยนักงานเอ๋ย เร่งรุกเร็วบัดนี้พลัน จงแสดงทุกข์แห่งโอรส ให้ปรากฏโดยคดี ว่าบัดนี้หมู่สีพีลงโทษ โกรธจอมธรรม์ (ม. คำหลวง หิมพานต์).
น. ชื่อ (ใช้เฉพาะสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), ราชาศัพท์ใช้ว่า พระนามาภิไธย เช่น ทรงลงพระนามาภิไธย.
น. พิธีป้อนนํ้าโดยใช้ช้อนทองคำตักน้ำบริสุทธิ์ป้อนพระราชโอรสหรือพระราชธิดาเป็นครั้งแรกในพระราชพิธีสมโภช ๓ วัน.
ส. ท่าน (ใช้แก่สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
ก. ไปพบ, ไปหา, ใช้แก่สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
น. สมเด็จพระบรมราชินี ลงมาจนถึงพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์.
น. สกุลยศสำหรับพระราชโอรสหรือพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดา, สกุลยศสำหรับพระโอรสหรือพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าที่พระมารดาเป็นพระองค์เจ้า, สกุลยศสำหรับพระโอรสหรือพระธิดาในพระองค์เจ้าที่ประสูติแต่พระมารดาซึ่งเป็นพระองค์เจ้า, อิสริยยศสำหรับหม่อมเจ้าหรือสามัญชนที่ได้รับสถาปนา.
น. พระองค์เจ้าที่มิได้เป็นพระราชโอรสพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์และหม่อมเจ้า.
น. ยุพราช, ราชโอรสที่ยังเยาว์พระชนม์, (โบ) พระราชโอรสที่ประสูติจากพระสนม.
น. โอรสหรือธิดาของกษัตริย์เมืองใหญ่.
น. คำนำหน้านามพระราชโอรสพระราชธิดาในสมัยรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔, คำนำหน้านามพระราชธิดาในสมัยรัชกาลที่ ๔ ถึงปัจจุบัน, เรียกเต็มว่า พระเจ้าลูกเธอ, ถ้ามีพระมารดาเป็นพระองค์เจ้าขึ้นไป เรียกว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ.
น. คำนำหน้านามพระราชโอรสในสมัยรัชกาลที่ ๔ ถึงปัจจุบัน, เรียกเต็มว่า พระเจ้าลูกยาเธอ, ถ้ามีพระมารดาเป็นพระองค์เจ้าขึ้นไป เรียกว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ.
น. พระราชโอรสหรือพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์
เรียกเมืองที่พระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ไปครอง ว่า เมืองลูกหลวง.
(สะหฺวันคด, สะเด็ด-) ก. ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้แก่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี หรือผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเป็นการเฉพาะ เช่น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร).
(สะเด็ด) น. คำเรียกเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา.
น. พระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ ชั้นพระองค์เจ้าที่ทรงกรม.
ก. เดินทาง (ใช้แก่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี) เช่น เสด็จพระราชดำเนินโดยทางสถลมารค เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง.
(-สะหฺวันคด) ก. ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้แก่พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรม-ราชินี หรือผู้ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเป็นการเฉพาะ เช่น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเจ้าบรม-วงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร).
น. สกุลยศของพระโอรสหรือพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้า ซึ่งประสูติแต่มารดาที่เป็นหม่อมเจ้าหรือสามัญชน, สกุลยศของพระโอรสหรือธิดาในพระองค์เจ้า.
น. พระองค์เจ้าที่มิได้เป็นพระราชโอรสพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์และหม่อมเจ้า, ใช้ว่า พระอนุวงศ์.
(-รด) น. ลูกของตนเอง. (แผลงมาจาก โอรส).