14 ผลลัพธ์ สำหรับ 

เนื้ออ่อน

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -เนื้ออ่อน-, *เนื้ออ่อน*
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)Ompok bimaculatusSee Also:Cryptoperus limpokSyn.ปลาเนื้ออ่อน, ชะโอน, โอน, แดง, นาง, เกด, ปีกไก่, น้ำเงิน, หน้าสั้น, สยุมพรExample:ปลาเนื้ออ่อนพบได้ตามแม่น้ำและแหล่งน้ำทั่วไปUnit:ตัวThai Definition:ชื่อปลาน้ำจืดหลายชนิดในวงศ์ Siluridae ไม่มีเกล็ด มีฟันเล็กแต่แหลมคม ลำตัวแบนข้างมากบ้างน้อยบ้าง
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดกลางหลายชนิดในวงศ์ Siluridae ไม่มีเกล็ด มีฟันเล็กแต่แหลมคม ลำตัวแบนข้างมากบ้างน้อยบ้าง เช่น ชนิด Phalacronotus apogon (Bleeker), P. bleekeri (Günther), Kryptopterus cryptopterus (Bleeker), K. limpok (Bleeker), Ompok bimaculatus (Bloch), O. hypophthalmus (Bleeker), Ceratoglanis scleronemus (Bleeker), ข้างท้องมักเป็นสีเงิน ขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ ๒๐-๗๗ เซนติเมตร อาจมีหรือไม่มีครีบหลังก็ได้ บางชนิดลำตัวด้านหลังสีเทาอมเขียวหรือสีนํ้าตาล, มีชื่อไทยที่เรียกแตกต่างกันหรือซํ้าซ้อนกันระหว่างชนิด ได้แก่ ชะโอน โอน แดง นาง เกด ปีกไก่ นํ้าเงิน หน้าสั้น สยุมพร หรือ เซือม.
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Nwith พิธีศาสนาแรกเหล่านี้หลังจาก, \แรงดึงดูดของโลกน่ากลัว... ...เขาตรา girl on แต่ละคน ไหล่... ...การเผาไหม้ตัวเลข into their เนื้ออ่อนSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
เนื้ออ่อนๆ แสนบอบบางของคุณThe Perfect Man (2005)
ทนทุกข์จากโรคกล้ามเนื้ออ่อนแอ ที่กำลังแย่ลง97 Seconds (2007)
ไม่ใช่.. ไม่มีกล้ามเนื้ออ่อนแรงHouse Divided (2009)
เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงYou Don't Know Jack (2010)
แต่เมื่อสองปีก่อนในวัย 50 เค้าเข้ารับการรักษาโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง...You Don't Know Jack (2010)
เริ่มแรกมันจะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง และเป็นตะคริวGauntlet (2011)
ไม่เก๊ทเหรอ ฉันใส่ยาที่ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงThe Hangover Part II (2011)
โรคนี้เจอบ่อยกว่าพวกโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง, ซิสติกไฟโบรซิส และฮันติงตั้นรวมกันอีกThe Doll in the Derby (2013)
ซึ่งคล้ายหัวใจวายเพราะกล้ามเนื้ออ่อนแรงManchester by the Sea (2016)
เป็นอัลไซเมอร์? กล้ามเนื้ออ่อนแรง?Logan (2017)
Longdo Approved EN-TH
(n, name)โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html)
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ