แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
23 ผลลัพธ์ สำหรับ 

อีกทีหนึ่ง

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -อีกทีหนึ่ง-, *อีกทีหนึ่ง*
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
- ไม่ครับ ผมหมายความว่าเราออกนอก นอกเส้นทางอีกทีหนึ่งนะครับPrey (2007)
ผมขอโทษอีกทีหนึ่ง.The Visitor (2007)
- มันรู้สึกดีจังได้เจอคุณอีกทีหนึ่ง จาคอปThe Visitor (2007)
เขาหนัก 75 ปอนด์ ต้องการให้อุ้มจากที่หนึ่งไปอีกทีหนึ่งGoodbye to All That (2008)
ซ้อมบทใหม่อีกทีหนึ่งAK-51 (2008)
หลังจากคริสมาสต์ เรามาลองดูอีกทีหนึ่งNew Haven Can Wait (2008)
ฉันแค่บอกว่าฉันรู้จัก กับคนที่รู้จักกับคนนี้อีกทีหนึ่งMandala (2009)
คนที่รู้จักกับอีกคนอีกทีหนึ่งMandala (2009)
โอ... และบราซีโน่อีกทีหนึ่ง ไม่ใส่มะเขือเทศThe Dwarf in the Dirt (2009)
อีกทีหนึ่งI Saw the Devil (2010)
วัตถุประสงค์หลักจริงๆ ของมัน คือเอาไว้รักษา รักษาระดับความหนาบาง ของเรซิ่นเหลวที่เข้าไปเคลือบ ชั้นพลาสติกหนาอีกทีหนึ่งThe Bones That Weren't (2010)
แล้วคุณจะงัดเอาลายฝ่ามือ ที่ผ่านมา 6 เดือนได้ไง? ออกจากแผ่นพลาสติก ที่โดนห่อหุ้มอย่างมิดชิด ใต้คอนกรีตอีกทีหนึ่งThe Bones That Weren't (2010)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[īk thī neung] (n, exp) EN: once more ; once again  FR: encore une fois
Hope Dictionary
การประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ
ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
ปลั๊กตัวเมียหมายถึง ปลั๊กไฟฟ้าแบบหนึ่งที่เป็นตัวรองรับ (มีแต่รูที่จะรับ การเสียบจากปลั๊กตัวผู้อีกทีหนึ่ง)
(เอชเอฟเอส) ย่อมาจาก hierarchical file system (แปลว่า ระบบการเก็บแฟ้มข้อมูลตามลำดับชั้น) เป็นระบบที่ช่วยทำให้จัดเก็บแฟ้มข้อมูลเป็นกลุ่ม วิธีการเก็บแบบนี้ เป็นการเก็บแฟ้มข้อมูลไว้ในโฟลเดอร์ (folder) เราจะเห็นสัญรูป (icon) ของโฟลเดอร์ต่าง ๆ นี้บนจอภาพ และเมื่อเปิดเข้าไปในแต่ละโฟลเดอร์ ก็จะมองเห็นแฟ้มข้อมูล หรืออาจจะมีโฟลเดอร์ย่อย (subfolder) อยู่ภายในโฟลเดอร์อีกทีหนึ่ง การเก็บแฟ้มในระบบนี้ ผู้ใช้เข้าใจได้ง่ายกว่าเรื่อง สารบบ (directory) และสารบบย่อย (subdirectory) ของดอส เพราะเห็นภาพชัดเจนกว่า
ระบบการเก็บแฟ้มข้อมูลตามลำดับชั้นใช้ตัวย่อว่า HFS เป็นระบบที่ช่วยทำให้จัดเก็บแฟ้มข้อมูลเป็นกลุ่ม วิธีการเก็บแบบนี้ เป็นการเก็บแฟ้มข้อมูลไว้ในโฟลเดอร์ (folder) เราจะเห็นสัญรูป (icon) ของโฟลเดอร์ต่าง ๆ นี้บนจอภาพ และเมื่อเปิดเข้าไปในแต่ละโฟลเดอร์ ก็จะมองเห็นแฟ้มข้อมูล หรืออาจจะมีโฟลเดอร์ย่อย (subfolder) อยู่ภายในโฟลเดอร์อีกทีหนึ่ง การเก็บแฟ้มในระบบนี้ ผู้ใช้เข้าใจได้ง่ายกว่าเรื่อง สารบบ (directory) และสารบบย่อย (subdirectory) ของดอส เพราะเห็นภาพชัดเจนกว่า
ย่อมาจาก hertz เป็นหน่วยวัดการสั่นสะเทือนของกระแสไฟฟ้าที่ใช้จำนวนมาก ๆ เพื่อวัดความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง 1 เฮิร์ทซ์ เท่ากับ 1 รอบต่อวินาที เมื่อวัดกันในขนาดจำนวนมากจริง ๆ จึงใช้หน่วยใหญ่ที่เรียกว่า เมกะเฮิร์ทซ์ (megahertz) ใช้ตัวย่อว่า MHz ไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะทำงานด้วยความเร็วประมาณ 25 - 60 เมกะเฮิร์ทซ์
(โลคะโม'เชิน) n. การเคลื่อนจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่ง, การเคลื่อนที่, อำนาจการเคลื่อนที่See Also:locomote vi. ดูlocomotionSyn.progress, movement, advanceAnt.stillness, rest
แผงหลักหมายถึง แผงวงจรหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อุปกรณ์ต่าง ๆ จะเข้าไปเชื่อมต่อด้วยอีกทีหนึ่ง เช่น ซีพียู (CPU) , รอม (ROM) , แรม (RAM) , ชิป (chip) และยังรวมถึงช่องที่เตรียมไว้เสียบแผ่นวงจรพิเศษที่อาจจะเพิ่มมาภายหลัง ที่เรียกว่า "แผงวงจรลูก" ดู daughterboard ประกอบ
(เน็ตไบออส) ย่อมาจาก Network Basic Input / Output System หมายความถึงไบออสที่ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับชนิดของอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผล ตลอดจนหน่วยความจำที่จะใช้ในเครือข่าย เพื่อช่วยไบออสของแต่ละเครื่องที่มีอยู่แล้วอีกทีหนึ่ง ดู Bios ประกอบ
ไบออสเครือข่ายใช้ตัวย่อว่า NetBIOS (อ่านว่า เน็ตไบออส) หมายความถึงไบออสที่ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับชนิดของอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผล ตลอดจนหน่วยความจำที่จะใช้ในเครือข่าย เพื่อช่วยไบออสของแต่ละเครื่องที่มีอยู่แล้วอีกทีหนึ่ง ดู BIOS ประกอบ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ