(เบรานชฺ) { branched, branching, branches } n. กิ่งก้าน, กิ่ง, สาขา, แขนง, วิชาย่อย, ทางแยก, สายย่อย, แคว vt. แตกกิ่งก้านสาขา, , Syn.bough แยกแตกกิ่ง1. หมายถึง การแยกตัวออกไปจากโปรแกรมที่ทำอยู่ ไปทำโปรแกรมอีกอันหนึ่ง เช่น แยกออกจากโปรแกรมหลัก main program ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram ตามคำสั่ง Go to2. ความหมายที่ใช้กับ "ต้นไม้" tree มีความหมายถึงการแตกกิ่งก้านสาขา เช่นในการแสดงแฟ้มข้อมูลในโปรแกรม Windows Explorer ของ Windows 95
คำสั่งแยก (ทาง) หมายถึง การสั่งให้แยกไปทำงาน ณ จุดใดจุดหนึ่งตามคำสั่งในโปรแกรมหรือ ชุดคำสั่ง เช่น คำสั่ง GOTO หรือคำสั่งให้ CALL โปรแกรมย่อย (subroutine)
(คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบ, Syn.exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น
การถ่ายโอนข้อมูลหมายถึง การเคลื่อนย้ายข้อมูลจากที่เก็บในตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง หรืออาจหมายถึงการย้ายที่เก็บจากสื่อเก็บหนึ่งไปอีกสื่อหนึ่งก็ได้ หรือบางทีอาจหมายถึง การย้ายข้อมูลจากโปรแกรมหลัก (master program) ไปทำงานยังโปรแกรมย่อย (subprogram)
(ดีแอลแอล) ย่อมาจากคำว่า dynamic link library มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของโปรแกรมย่อยในระบบวินโดว์ และโอเอส/ทู โดยเฉพาะโปรแกรมเฉพาะงาน (routine) ที่มีโปรแกรมตั้งแต่สองโปรแกรมขึ้นไปแบ่งกันใช้หรือใช้ร่วมกันได้ เช่น Icon.dll, shell32.dll
ตัวแปรเฉพาะที่เป็นคำที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใช้อธิบายถึงข้อมูลที่แยกออกไปอยู่ในบางส่วนบางตอนของโปรแกรม เช่น อาจเป็นตัวแปลที่อยู่เฉพาะในโปรแกรมย่อยเท่านั้น
โปรแกรมหลักในการเขียนโปรแกรม หากมีบางส่วนของโปรแกรมที่มักจะต้องเขียนซ้ำกันบ่อย ๆ อาจจะใช้วิธีเขียนส่วนที่ซ้ำนี้แยกออกเป็นอีกโปรแกรมหนึ่งต่างหาก เรียกว่าโปรแกรมย่อย (subprogram) ส่วนโปรแกรมเดิมเรียกว่าเป็นโปรแกรมหลัก ในโปรแกรมหลักนี้ จะมีคำสั่งเรียกโปรแกรมย่อยมาใช้เมื่อใดก็ได้ บ่อยเท่าใดก็ได้ เป็นการช่วยประหยัดเวลาในการเขียนซ้ำ
หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีการแบ่งเป็นโปรแกรมย่อย (subprogram) หรือ โมดุล (module) หลาย ๆ อัน ทำให้เข้าใจได้ง่าย หลักการเขียนก็คือ แต่ละส่วนจะประกอบด้วยข้อคำสั่ง 3 ประเภท คือ กำหนดคำสั่งให้เรียงไปตามลำดับการทำงาน ที่เรียกว่า sequential มีคำสั่งให้เลือกทิศทางที่เรียกว่า conditional คือ มี IF-THEN-ELSE และมีการวนไปทำคำสั่งเดิมที่เรียกว่า loop คือมีคำสั่ง DO WHLE อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่คิดจะเป็นนักเขียนโปรแกรม ก็อาจจะไม่รู้จักคำสั่งประเภทนี้ และก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักโปรแกรมโครงสร้างด้วย