ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*login*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: login, -login-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
loginลงบันทึกเข้าเป็นคำสั่งที่สั่งเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่เข้ากับเครือข่าย เพื่อจะได้ดึงแฟ้มข้อมูลหรือโปรแกรมมาใช้ได้ (อย่างไรก็ตาม บางทีอาจต้องใช้รหัสผ่าน จึงจะเข้าได้)

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
loginลงบันทึกเข้า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
loginลงบันทึกเข้า [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
login nameชื่อลงบันทึกเข้า [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
alveologingival fibreเส้นใยเหงือกยึดกระดูเบ้าฟัน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
fibre, alveologingivalเส้นใยเหงือกยึดกระดูกเบ้าฟัน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Catalogingการทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging in Publicationการจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
MAchine Readable Catalogingการลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้, Example: MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Names, Personal (Cataloging)ชื่อบุคคล (การทำบัตรรายการ) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Corporate heading (Cataloging)รายการนิติบุคคล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Descriptive catalogingการลงรายการเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of manuscriptการทำบัตรรายการต้นฉบับตัวเขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of mapsการทำบัตรรายการแผนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of nonbook materialsการทำบัตรรายการวัสดุไม่ตีพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of serial publicationsการทำบัตรรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of government publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of audio-visual materialsการทำบัตรรายการโสตทัศนวัสดุ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Anglo-American cataloging rulesกฎเกณฑ์การทำรายการแบบแองโกลอเมริกัน [TU Subject Heading]
Catalogingการทำรายการ (บรรณารักษศาสตร์) [TU Subject Heading]
Cataloging of audio-visual materialsการทำรายการโสตทัศนวัสดุ [TU Subject Heading]
Cataloging of computer network resourcesการทำรายการแหล่งข้อมูลข่ายงานคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading]
Cataloging of conference proceedingsการทำรายการรายงานการประชุม [TU Subject Heading]
Cataloging of government publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading]
Cataloging of serial publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading]
Corporate headings (Cataloging)รายการนิติบุคคล (การทำรายการ) [TU Subject Heading]
Descriptive catalogingการทำรายการส่วนบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Government headings (Cataloging)นามส่วนราชการ (การทำรายการ) [TU Subject Heading]
Subject catalogingการทำรายการส่วนเนื้อเรื่อง [TU Subject Heading]
Catalized catalogingการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง, Example: การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง เป็นการนำงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อทำหน้าที่จัดหมู่และทำรายการทรัพยากรสารสนเทศให้กับศูนย์กลาง หรือหอสมุดกลาง และห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน ซึี่งเป็นหน่วยงานย่อยอื่นๆ ภายใต้หน่วยงานใหญ่เดียวกัน โดยห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน จะทำหน้าที่เพียงบริการทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์และส่งมาให้บริการแต่เพียงอย่างเดียว <p> <p>การนำงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศไว้ที่ศูนย์กลาง จะทำให้ประหยัดทั้งบุคลากร ทรัพยากรสารสนเทศ การทำงานไม่ซ้ำซ้อน มีการทำงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากงานออกมาจากที่แหล่งเดียวกัน <p>ตัวอย่างของการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบศูนย์กลาง ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งสำนักหอสมุด ทำหน้าที่ตั้งแต่การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และส่งให้ห้องสมุดคณะบริการแก่ผู้ใช้ ทำให้ไม่ต้องมีบุคลากรที่ห้องสมุดคณะทำหน้าที่ที่ซ้ำซ้อนกันเหมือนกับสำนักหอสมุด สามารถเน้นหนักในงานด้านบริการได้อย่างเต็มที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Decentralized catalogingการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบกระจาย, Example: การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบกระจาย เป็นการจัดการงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศไว้ตามหน่วยงานต่างๆ ภายใต้สังกัดเดียวกัน กล่าวคือ หอสมุดกลาง และห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน ต่างก็ทำหน้าที่ตั้งแต่การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และการให้บริการ <p> <p>การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบกระจาย จะต้องมีการกระจายบุคลากรไปยังหน่วยงานต่างๆ ก่อให้เกิดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ซ้ำซ้อนกัน สิ้นเปลืองเวลาและสิ้นเปลืองบุคลากรในการทำงานอย่างเดียวกัน บุคลากรต้องทำหน้าที่แบบเดียวกัน ทำให้อาจจะไม่มีเวลาในการพัฒนาทางวิชาชีพ หรือเน้นการให้บริการเท่าใดนัก และอาจจะทำให้เกิดการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน <p>ตัวอย่าง ของการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบกระจาย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีหอสมุดกลาง และมีห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน ต่างต้องทำหน้าที่ตั้งแต่การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศในหน่วงงานเอง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Centralized catalogingการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง, Example: การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง เป็นการนำงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศไว้ที่ส่วนกลาง เพื่อทำหน้าที่วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศให้กับส่วนกลางหรือหอสมุดกลาง และหน่วยงานอื่นๆ หรือห้องสมุดคณะ หรือห้องสมุดสถาบัน ภายใต้หน่วยงานใหญ่เดียวกัน โดยห้องสมุดคณะ ห้องสมุดสถาบัน จะทำหน้าที่บริการทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจากส่วนกลางแต่เพียงอย่างเดียว <p> <p>การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง นี้ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ประหยัดบุคลากรในการทำหน้าที่เดียวกันอยู่ในที่แห่งเดียวกัน การทำงานไม่ซ้ำซ้อน สามารถเน้นการพัฒนาบุคลากรในด้านอื่นๆ ได้ง่าย และทำให้มีการทำงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน <p>ตัวอย่างของการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศแบบรวมศูนย์กลาง คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีสำนักหอสมุด ทำหน้าที่เป็นหอสมุดกลาง จัดหาทรัพยากรสารสนเทศและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศให้กับห้องสมุดคณะ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
subjectcatalogingรายการทรัพยากรสารสนเทศ

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Brute-force login.มีการล็อกอินแบบ Brute-force สิ่งที่น่าสนใจก็คือ... Firewall (2006)
Uh, those are, uh, ready for cataloging.เสร็จตรงนั้นแล้ว เก็บเข้าแฟ้มเลยนะ Smokey and the Bandit (2011)
Everything but the balance login.ทุกอย่างยกเว้น การล้อคอินเข้าดูงบดุล Taking Account (2011)
The login that's circled here was made from an IP address that I don't recognize.ที่วงเอาไว้เป็นที่อยู่ ไอพีที่ผมจำไม่ได้ Mea Makamae (2011)
That login was made from a home computer.นั้นมัน ล็อกอินมาจากคอมพิวเตอร์ที่บ้านคุณ Mea Makamae (2011)
I wanna watch you login.ฉันอยากเห็นนายล็อคอิน CTRL:A (2012)
I've been cataloging the victims' personal effects.หนูกำลังจัดผลกระทบของ ระเบิดที่มีต่อหยื่อค่ะ 47 Seconds (2012)
I'm still organizing, cataloging.ผมยังต้องจัดระบบ ทำรายการสินค้า Secret's Safe with Me (2012)
The interns are cataloging all the injuries now.พวกฝึกงานบันทึกอาการบาดเจ็บทั้งหมดครบแล้ว The Patriot in Purgatory (2012)
I'm gonna find a heavy-duty comsat right now, I need your login.กำลังหาที่เชื่อมต่อดาวเทียมขอ login นายด้วย Iron Man 3 (2013)
- It's not the eighties, nobody says "hack" anymore, give me your login.- ฉันจะขอรหัสนายไปทำถ้วยอะไรถ้าจะแฮก รีบบอกมาเร็วเข้า Iron Man 3 (2013)
I'm talking about the bank codes, passwords, login data...ฉันพูดคุยเกี่ยวกับรหัสธนาคาร รหัสผ่านข้อมูลเข้าสู่ระบบ ... Elysium (2013)
- l wonder. Professionally, I want to know if the admiral always behaves this way, Als Psychologin frage ich mich, ob sich der Admiral immer so verhält, Voyage to the Bottom of the Sea (1961)
There, a young psychologist took an interest in his case, and he was finally released on probation.Da sich dort eine junge Psychologin für seinen Fall interessierte, wurde er auf Bewährung entlassen. Antoine and Colette (1962)
You play Sidney, working-class assistant to the honorable Penelope Brown, amateur criminologist. That's you, Miss Marple.Du spielst Sidney, den Assistenten der Amateur-Kriminologin Penelope Brown. Murder Most Foul (1964)
She's a marine biologist at the aquarium.Sie ist Meeresbiologin und arbeitet im Aquarium. Send Me No Flowers (1964)
- I'm a psychologist, not a marriage...- Ich bin Psychologin, keine Ehe... Sex and the Single Girl (1964)
That's why I became a psychologist.Deswegen wurde ich Psychologin. Sex and the Single Girl (1964)
I am a psychologist, Mrs. Broderick and your husband has been talking to me about your marriage.Ich bin Psychologin, Mrs. Broderick, und Ihr Mann hat mit mir über Ihre Ehe gesprochen. Sex and the Single Girl (1964)
What became of your astrologer?Was ist mit der Astrologin? Frankie and Johnny (1966)
We need some planks immediately. Where do we get them, engineer?Tja, Schalholz ran, Technologin. Spur der Steine (1966)
As space biologist your duty is to collect any unknown substances but only with Captain Sano's express permission.Als Weltraum-Biologin haben Sie die Aufgabe, unbekannte Substanzen zu sammeln. Aber Sie müssen in jedem Falle die Erlaubnis von Captain Sano einholen. The X from Outer Space (1967)
I'm a scientist. not a cookIch bin eine Biologin und keine Köchin! The X from Outer Space (1967)
I understand that you're the only one that Princess Francesca will allow to cast her horoscope?Angeblich sind Sie die einzige Astrologin, der es gestattet ist, Prinzessin Francesca das Horoskop zu erstellen. The Astrologer (1967)
I am an astrologer.Ich bin Astrologin. The Astrologer (1967)
In view of the rumours of a revolution in your country, will you ignore the prediction of an astrologer as famous as Mademoiselle Varnay?In Anbetracht der Gerüchte um eine Revolution, können Sie da die Vorhersage einer so berühmten Astrologin einfach in den Wind schlagen? The Astrologer (1967)
There is a woman here at the airport, an astrologer.Hier am Flughafen ist eine Frau, eine Astrologin. The Astrologer (1967)
- An astrologer?- Eine Astrologin? The Astrologer (1967)
Colonel Stahl, I should like you to meet Mademoiselle Varnay, a very gifted astrologer.Colonel Stahl, ich möchte Ihnen Mademoiselle Varnay vorstellen, eine bekannte Astrologin. The Astrologer (1967)
Please advise me regarding the presence of an astrologer, Mademoiselle Varnay, on the plane.Bitte bestätigen Sie mir die Anwesenheit einer Astrologin namens Mademoiselle Varnay an Bord des Flugzeuges. The Astrologer (1967)
A great psychologist.Eine tolle Psychologin. Is There in Truth No Beauty? (1968)
- Tamara LOGINOVA- T. LOGINOVA Beg (1971)
- Tamara LOGINOVA Petka Scheglov- T. LOGINOVA Petka Scheglov Beg (1971)
I am an archaeologist.Ich bin Archäologin. Emmanuelle (1974)
I can't go any farther.Das ist unsere Biologin, Randi Bryce. James Kirk, Captain der Enterprise. Erster Offizier Spock. The Jihad (1974)
- Psychologist. Wants to know what's in my headEine Psychologin, die wissen will, was hier drin vorgeht. Incorrigible (1975)
"His questions about my mother reminded me "of the psychologist.Als er mich nach meiner Mutter fragte, fiel mir meine Befragung durch eine Psychologin wieder ein. Love on the Run (1979)
In there, we called her "the spychologist."Damals nannte man sie "Spychologin". Love on the Run (1979)
"I was only 1 3, but the spychologist wanted to know about my love life."Obwohl ich erst 13 war, fragte mich die "Spychologin" nach meinem Liebesleben. Love on the Run (1979)
She's with our police psychologist, Dr. Birkin.- Bei unserer Polizeipsychologin, Dr. Birkin. The Brood (1979)
Psychologist?- Psychologin? The Brood (1979)
I'm a physical anthropologist.Ich bin Anthropologin. Altered States (1980)
My mother, a clinical psychologist.Meine Mutter klinische Psychologin. Altered States (1980)
Ivan Loginovich!Iwan Loginowitsch! Rasputin (1981)
Ivan Loginovich, I'm losing my faith in you.Iwan Loginowitsch, ich glaube Ihnen nicht mehr! Rasputin (1981)
Not at all lightly, Ivan Loginovich.Keinesfalls, Iwan Loginowitsch. Rasputin (1981)
I am a professional psychologist. I spend most of my time engaged in this ghostly hobby. Which makes me the most irresponsible woman of my age that I know.Ich bin Psychologin von Beruf, aber die meiste Zeit wende ich für dieses Geister-Hobby auf, darum bin ich die wohl verrückteste Frau in meinem Alter, die ich kenne. Poltergeist (1982)
He's a gift from an amorous ornithologist.Ein Geschenk von einer verliebten Ornithologin. Scene Steelers (1983)
I have a Ph.D. In psychology.- Ich bin promovierte Psychologin. Steele in Circulation (1983)
You tell a man you're a doctor of psychology... you end up going home by yourself.Sagt man einem Mann, man ist Psychologin, bleibt man Single. Steele in Circulation (1983)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ลงบันทึกเข้า[long bantheuk khao] (n) EN: login  FR: login [ m ]

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
login
cataloging

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
登录[dēng lù, ㄉㄥ ㄌㄨˋ,   /  ] login; register #5,617 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Anthropologe { f }; Anthropologin { f }anthropologist [Add to Longdo]
Biologe { m }; Biologin { f } | Biologen { pl }biologist | biologists [Add to Longdo]
Dendrologe { m }; Dendorologin { f } | Dendrologen { pl }dendrologist | dendrologists [Add to Longdo]
Geologe { m }; Geologin { pl } | Geologen { pl }geologist | geologists [Add to Longdo]
Gerontologe { m }; Gerontologin { f }; Alternsforscher { m }; Alternsforscherin { f }gerontologist [Add to Longdo]
Gynäkologe { m }; Gynäkologin { f }gynecologist; gynaecologist [Add to Longdo]
Katalogisierung { f }cataloging; cataloguing [Add to Longdo]
Meeresbiologe { m }; Meeresbiologin { f }marine biologist [Add to Longdo]
Mikrobiologe { f }; Mikrobiologin { f }microbiologist [Add to Longdo]
Ornithologe { m }; Ornithologin { f }; Vogelkundler { m }ornithologist [Add to Longdo]
Pathologe { m }; Pathologin { f }pathologist [Add to Longdo]
Seismologe { m }; Seismologin { f } | Seismologen { pl }seismologist | seismologists [Add to Longdo]
katalogisieren | katalogisierend | katalogisiertto catalogue | cataloging; cataloguing | cataloged; catalogued [Add to Longdo]
Androloge { m }; Andrologin { f } [ med. ]andrologist [Add to Longdo]
Kardiologe { m }; Kardiologin { f }; Herzspezialist { m }; Herzspezialistin { f } [ med. ] | Kardiologen { pl }; Herzspezialisten { pl }cardiologist; heart specialist | cardiologists; heart specialists [Add to Longdo]
Radiologe { m }; Radiologin { f }; Röntgenarzt { m }; Röntgenärztin { f } [ med. ]radiologist [Add to Longdo]
Urologe { m }; Urologin { f } [ med. ] | Urologen { pl }urologist | urologists [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
ログイン[roguin] (n, vs) { comp } login #924 [Add to Longdo]
挨拶[あいさつ, aisatsu] (n, vs, adj-no) (1) greeting; greetings; salutation; salute; (2) speech (congratulatory or appreciative); address; (3) reply; response; (4) (sl) revenge; retaliation; (exp) (5) (See 御挨拶) a fine thing to say (used as part of a sarcastic response to a rude remark); (6) (orig. meaning) dialoging (with another Zen practitioner to ascertain their level of enlightenment); (P) #6,028 [Add to Longdo]
オートログイン[o-toroguin] (n) { comp } auto login; auto-login [Add to Longdo]
リモートログイン[rimo-toroguin] (n) { comp } remote login [Add to Longdo]
ログインシェル[roguinshieru] (n) { comp } login shell [Add to Longdo]
ログインスクリプト[roguinsukuriputo] (n) { comp } login script [Add to Longdo]
ログイン名[ログインめい, roguin mei] (n) { comp } login name [Add to Longdo]
一挨一拶[いちあいいっさつ, ichiaiissatsu] (n) (arch) (See 挨拶) dialoging (with another Zen practitioner to ascertain their level of enlightenment) (source of modern word aisatsu) [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
リモートログイン[りもーとろぐいん, rimo-toroguin] remote login [Add to Longdo]
ログイン[ろぐいん, roguin] login (vs) [Add to Longdo]
ログインシェル[ろぐいんしえる, roguinshieru] login shell [Add to Longdo]
ログイン名[ログインめい, roguin mei] login name [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top