แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
102 ผลลัพธ์ สำหรับ 

คำหลวง

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -คำหลวง-, *คำหลวง*
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)a kind of Thai literatureExample:เรื่องพระนลเป็นวรรณคดีประเภทคำหลวงThai Definition:คำประพันธ์ซึ่งเป็นชื่อพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์กลอนปนกัน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. คำประพันธ์ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์ร่าย คือ มหาชาติคำหลวงและพระนลคำหลวง, คำประพันธ์ที่แต่งมีลักษณะอย่างมหาชาติคำหลวง คือ นันโทปนันท-สูตรคำหลวง และพระมาลัยคำหลวง.
(กะนิกนัน) ว. ละเอียดยิ่ง เช่น ลวดหลายลายกณิกนันต์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ก. ตั้งหน้า, มุ่ง, เช่น อยู่เย็นยงงก่นเกอดพิจลการ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
(กะบูน) ว. งาม เช่น ก็ใช้สาวสนมอนนกบูร (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), คำนี้บางทีเขียนเป็น กระบูร กระบวร ขบูร ขบวร.
(กะปะนะ, กะปะนา) ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, (กลอน) เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน (ม. คำหลวง มัทรี).
(กะปะนก) น. ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศร หนึ่งน้นน (ม. คำหลวง ชูชก).
(กะมนทะ-) น. หม้อนํ้าสรง เช่น อนนเต็มในกมณฑลาภิเษก (ม. คำหลวง มหาราช).
(กะมนทะ-) น. นํ้าในหม้อ เช่น ชำระพระองค์ด้วยกมณฑโลทก (ม. คำหลวง มหาราช).
(กะมน) ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที (ม. คำหลวง หิมพานต์), บางทีใช้ว่า กระมล.
(กะมุด) น. บัว เช่น ส่งดวงกมุทให้กัณหา (ม. คำหลวง มัทรี).
(กฺรน-) น. ไม้คนทา (ลิปิ) เช่น กรนทาดาษดวงพรายก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
(กฺรัน-) น. กระเช้า เช่น คร้นนเช้าก็หิ้วกรนนเช้า ชายป่าเต้าไปหาชาย (ม. คำหลวง มัทรี).
(กอระ-) น. ทับทิม เช่น จงแต่งเขนแต่งขันธ์ ผ้าเกราะพรรณรายแพร้ว ดยรดาษแก้วกรพินธุ์ (ม. คำหลวง มหาราช).
(กัน-) น. ที่ล้อมวง เช่น จำเนียรกรรกงรอบนั้น (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ใช้เป็น กงกรร ก็มี เช่น แลสับสังกัดกงกรร (สมุทรโฆษ).
(กันกด) ว. หยาบช้า, เขียนเป็น กรรกษ ก็มี เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนีฯ (ม. คำหลวง ทศพร).
(กันซั้น) ก. ทัน, กระชั้น, เช่น พราหมณ์จะมากรรซ้นน (ม. คำหลวง กุมาร).
(กันนะ-) น. หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น (ม. คำหลวง มหาราช).
(กัน-) น. มือที่ประนม เช่น ถวายกรกรรพุม (ม. คำหลวง ทศพร)
(กัน-) น. ผ้า, ผ้าสไบ เช่น กรรแสงสวมคอหิ้ว ตายบทันลัดนิ้ว หนึ่งดี (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
(กัน-) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กฺระ-) น. กระลุมพาง, กลองหน้าเดียว, เช่น ปี่จีนโสดสรในใดต่าง ทงงกรลุมพางพอฟงง (ม. คำหลวง มหาราช).
(กฺระสาบ) น. กระษาปณ์ เช่น แลพราหมณ์น้นนได้ทองร้อยกรสาปน เปนลาภด้วยเดอรขอทานทุกวันวารแก่มหาชนทงงหลายบมิขาดเลย (ม. คำหลวง ชูชก).
ว. กระด้าง, หยาบ, เช่น หนงงหยาบสุรเสียงศัพท์ ดูก็กระกรับกระเกรียบ (ม. คำหลวง กุมาร).
ว. สูงชัน, กรวด, เขียนเป็น กรกวด ก็มี เช่น อยู่จอมด้วยกรกวด กิ่งก้านรวดรยงงามอยู่น้นน (ม. คำหลวง มัทรี).
ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา (มาลัยคำหลวง), ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, โบราณเขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.
ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. มาก, ใหญ่, เช่น ผักกาดกองกระชอมก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
ว. กระจ่าง เช่น เวหาเห็นกระช่าง (ม. คำหลวง กุมาร), กระซ่าง ก็ว่า.
ว. กระจ่าง เช่น กระซ่างฟ้าเห็นกัน (ม. คำหลวง สักบรรพ), กระช่าง ก็ว่า.
ก. ตระหนก, กลัว, เช่น ก็กระดกตกใจกลววแก่มรณภยานตราย (ม. คำหลวง ชูชก).
น. ตาดเทศ เช่น อันทำด้วยกระดาษเทศทอพราย (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
น. ต้นหอม เช่น กระเทียมหอมรำแย้ ก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
น. กระทาชาย, คนผู้ชาย, เช่น อันว่ากระไทชายผู้หนึ่ง (ม. คำหลวง กุมาร; มหาราช).
น. กะโหลกหัว เช่น อีกกระบอกหววมึงกูจะผ่า (ม. คำหลวง ชูชก), ปักษ์ใต้ว่า บอกหัว.
น. กระแบะ เช่น เราจะให้บั่นให้แล่ ทุกกระแบ่จงหนำใจ (ลอ), ทุกกระแบ่เนื้อเห็นเปล่าเลย (ม. คำหลวง กุมาร).
น. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก.
ว. เป็นปุ่มป่ำ เช่น บนเขากระป่ำ (ม. คำหลวง กุมาร), มักใช้เข้าคู่กับคำ กระปุ่ม เป็น กระปุ่มกระป่ำ.
ว. อร่อย เช่น อนี้ต้นหว้าหวานกระป่ำ (ม. คำหลวง กุมาร; มัทรี).
(-หฺลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์ (ม. คำหลวง จุลพน).
ก. วนเวียน เช่น กระเวนกระวนกาม กวนอก พี่นา (นิ. นรินทร์), หวนตลบ เช่น หอมกระเวนกระวน, เขียนเป็น กรเวนกรวล ก็มี เช่น ชื่อจลาจรเรนทร์ หอมกรเวนกรวล อาจจิญจญจวนใจ (ม. คำหลวง มหาราช).
ผูกให้แน่น เช่น กระสันเข้าไว้กับหลัก, ผูกพันพระพี่น้องสองกระสันเข้าให้มั่นกับมือ (ม. คำหลวง กุมาร), รัด เช่น สายกระสัน
น. วิธี, อย่าง, อุบาย, เช่น กลกระเหน็จต่าง ๆ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
ก. เห่อ เช่น คนห่ามกระเห่อทำ อวดรู้ (พระนลคำหลวง อารัมภกถา).
ว. อิดโรย เช่น อกกระอิดกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง กุมาร).
ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
ว. อร่อย, หอมหวาน, เช่น ลิ้มไล้โอชกระเอบหวาน (ม. คำหลวง จุลพน).
ก. เอิบ, อิ่ม, เช่น เถ้ากระเอิบเรอสมออกแล (ม. คำหลวง กุมาร).
(กฺราง) ว. เสียงอย่างเสียงใบตาลแห้งที่ถูกลมพัดกระทบกัน เช่น ด่งงไม้รงงรจิตร อันอยู่ชชิดทางเทา ร่มเย็นเอาใจโลกย์ ลำโล้โบกใบกราง (ม. คำหลวง ชูชก).
(กฺราบ) ก. นอน เช่น เถ้าก็กราบกรนอึงอยู่นั้น (ม. คำหลวง กุมาร).
(กฺรามพฺลู) น. กานพลู เช่น แห้วหมูพิชกรามพลูก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)a kind of Thai literatureExample:เรื่องพระนลเป็นวรรณคดีประเภทคำหลวงThai Definition:คำประพันธ์ซึ่งเป็นชื่อพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์กลอนปนกัน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. คำประพันธ์ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์ร่าย คือ มหาชาติคำหลวงและพระนลคำหลวง, คำประพันธ์ที่แต่งมีลักษณะอย่างมหาชาติคำหลวง คือ นันโทปนันท-สูตรคำหลวง และพระมาลัยคำหลวง.
(กะนิกนัน) ว. ละเอียดยิ่ง เช่น ลวดหลายลายกณิกนันต์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ก. ตั้งหน้า, มุ่ง, เช่น อยู่เย็นยงงก่นเกอดพิจลการ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
(กะบูน) ว. งาม เช่น ก็ใช้สาวสนมอนนกบูร (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), คำนี้บางทีเขียนเป็น กระบูร กระบวร ขบูร ขบวร.
(กะปะนะ, กะปะนา) ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, (กลอน) เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน (ม. คำหลวง มัทรี).
(กะปะนก) น. ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศร หนึ่งน้นน (ม. คำหลวง ชูชก).
(กะมนทะ-) น. หม้อนํ้าสรง เช่น อนนเต็มในกมณฑลาภิเษก (ม. คำหลวง มหาราช).
(กะมนทะ-) น. นํ้าในหม้อ เช่น ชำระพระองค์ด้วยกมณฑโลทก (ม. คำหลวง มหาราช).
(กะมน) ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที (ม. คำหลวง หิมพานต์), บางทีใช้ว่า กระมล.
(กะมุด) น. บัว เช่น ส่งดวงกมุทให้กัณหา (ม. คำหลวง มัทรี).
(กฺรน-) น. ไม้คนทา (ลิปิ) เช่น กรนทาดาษดวงพรายก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
(กฺรัน-) น. กระเช้า เช่น คร้นนเช้าก็หิ้วกรนนเช้า ชายป่าเต้าไปหาชาย (ม. คำหลวง มัทรี).
(กอระ-) น. ทับทิม เช่น จงแต่งเขนแต่งขันธ์ ผ้าเกราะพรรณรายแพร้ว ดยรดาษแก้วกรพินธุ์ (ม. คำหลวง มหาราช).
(กัน-) น. ที่ล้อมวง เช่น จำเนียรกรรกงรอบนั้น (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ใช้เป็น กงกรร ก็มี เช่น แลสับสังกัดกงกรร (สมุทรโฆษ).
(กันกด) ว. หยาบช้า, เขียนเป็น กรรกษ ก็มี เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนีฯ (ม. คำหลวง ทศพร).
(กันซั้น) ก. ทัน, กระชั้น, เช่น พราหมณ์จะมากรรซ้นน (ม. คำหลวง กุมาร).
(กันนะ-) น. หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น (ม. คำหลวง มหาราช).
(กัน-) น. มือที่ประนม เช่น ถวายกรกรรพุม (ม. คำหลวง ทศพร)
(กัน-) น. ผ้า, ผ้าสไบ เช่น กรรแสงสวมคอหิ้ว ตายบทันลัดนิ้ว หนึ่งดี (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
(กัน-) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(กฺระ-) น. กระลุมพาง, กลองหน้าเดียว, เช่น ปี่จีนโสดสรในใดต่าง ทงงกรลุมพางพอฟงง (ม. คำหลวง มหาราช).
(กฺระสาบ) น. กระษาปณ์ เช่น แลพราหมณ์น้นนได้ทองร้อยกรสาปน เปนลาภด้วยเดอรขอทานทุกวันวารแก่มหาชนทงงหลายบมิขาดเลย (ม. คำหลวง ชูชก).
ว. กระด้าง, หยาบ, เช่น หนงงหยาบสุรเสียงศัพท์ ดูก็กระกรับกระเกรียบ (ม. คำหลวง กุมาร).
ว. สูงชัน, กรวด, เขียนเป็น กรกวด ก็มี เช่น อยู่จอมด้วยกรกวด กิ่งก้านรวดรยงงามอยู่น้นน (ม. คำหลวง มัทรี).
ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา (มาลัยคำหลวง), ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, โบราณเขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.
ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
ว. มาก, ใหญ่, เช่น ผักกาดกองกระชอมก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
ว. กระจ่าง เช่น เวหาเห็นกระช่าง (ม. คำหลวง กุมาร), กระซ่าง ก็ว่า.
ว. กระจ่าง เช่น กระซ่างฟ้าเห็นกัน (ม. คำหลวง สักบรรพ), กระช่าง ก็ว่า.
ก. ตระหนก, กลัว, เช่น ก็กระดกตกใจกลววแก่มรณภยานตราย (ม. คำหลวง ชูชก).
น. ตาดเทศ เช่น อันทำด้วยกระดาษเทศทอพราย (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
น. ต้นหอม เช่น กระเทียมหอมรำแย้ ก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
น. กระทาชาย, คนผู้ชาย, เช่น อันว่ากระไทชายผู้หนึ่ง (ม. คำหลวง กุมาร; มหาราช).
น. กะโหลกหัว เช่น อีกกระบอกหววมึงกูจะผ่า (ม. คำหลวง ชูชก), ปักษ์ใต้ว่า บอกหัว.
น. กระแบะ เช่น เราจะให้บั่นให้แล่ ทุกกระแบ่จงหนำใจ (ลอ), ทุกกระแบ่เนื้อเห็นเปล่าเลย (ม. คำหลวง กุมาร).
น. ต้นตะแบก เช่น หูกวางพรรค์กระแบก (ม. คำหลวง จุลพน), ตระแบก ก็เรียก.
ว. เป็นปุ่มป่ำ เช่น บนเขากระป่ำ (ม. คำหลวง กุมาร), มักใช้เข้าคู่กับคำ กระปุ่ม เป็น กระปุ่มกระป่ำ.
ว. อร่อย เช่น อนี้ต้นหว้าหวานกระป่ำ (ม. คำหลวง กุมาร; มัทรี).
(-หฺลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์ (ม. คำหลวง จุลพน).
ก. วนเวียน เช่น กระเวนกระวนกาม กวนอก พี่นา (นิ. นรินทร์), หวนตลบ เช่น หอมกระเวนกระวน, เขียนเป็น กรเวนกรวล ก็มี เช่น ชื่อจลาจรเรนทร์ หอมกรเวนกรวล อาจจิญจญจวนใจ (ม. คำหลวง มหาราช).
ผูกให้แน่น เช่น กระสันเข้าไว้กับหลัก, ผูกพันพระพี่น้องสองกระสันเข้าให้มั่นกับมือ (ม. คำหลวง กุมาร), รัด เช่น สายกระสัน
น. วิธี, อย่าง, อุบาย, เช่น กลกระเหน็จต่าง ๆ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
ก. เห่อ เช่น คนห่ามกระเห่อทำ อวดรู้ (พระนลคำหลวง อารัมภกถา).
ว. อิดโรย เช่น อกกระอิดกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง กุมาร).
ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
ว. อร่อย, หอมหวาน, เช่น ลิ้มไล้โอชกระเอบหวาน (ม. คำหลวง จุลพน).
ก. เอิบ, อิ่ม, เช่น เถ้ากระเอิบเรอสมออกแล (ม. คำหลวง กุมาร).
(กฺราง) ว. เสียงอย่างเสียงใบตาลแห้งที่ถูกลมพัดกระทบกัน เช่น ด่งงไม้รงงรจิตร อันอยู่ชชิดทางเทา ร่มเย็นเอาใจโลกย์ ลำโล้โบกใบกราง (ม. คำหลวง ชูชก).
(กฺราบ) ก. นอน เช่น เถ้าก็กราบกรนอึงอยู่นั้น (ม. คำหลวง กุมาร).
(กฺรามพฺลู) น. กานพลู เช่น แห้วหมูพิชกรามพลูก็มี (ม. คำหลวง มหาพน).
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ