น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ ปรากฏในเรื่องทำขวัญ
ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงโหมโรง.
น. ยาจก, คนขอทาน, เช่น ตัวอ้ายพราหมณ์เถ้ากระยาจก (มโนห์รา).
น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น เสียงนกกระว่ามาตีลาน นกกรงหงส์ห่านร้องขานคู่ (มโนห์รา).
ก. ถด, ถอย, กระเถิบ, เช่น กระหยดเข้า นางเจ้าแม่ทรงศาสตราชัย (มโนห์รา).
ก. แอบ, ซ่อน, ซุก, เช่น ฟุบกบกระหยบเงียบมิเกรียบไว้ (มโนห์รา).
ว. ราวกับว่า เช่น หน้าตาหัวอกรกเป็นขน ดูสง่ากระหว่าคนหรือนนทรี (มโนห์รา), ปักษ์ใต้ว่า หวา.
(กฺราน) ใช้เข้าคู่กับคำอื่น หมายความว่า ทอดตัว หรือ ล้มตัวลงราบ เช่น ก้มกราน หมอบกราน, หมายความว่า คํ้า, ยัน, เช่น ยันกราน ยืนกราน, ในบทกลอนใช้โดยลำพังก็มี เช่น ก็กรานในกลางรณภู (สมุทรโฆษ), พระรามตัดตีนสินมือเสีย กรานคอไปไว้ที่นอกเมือง (มโนห์รา), โบราณเขียนเป็น กราล ก็มี.
ก. ดัดจริต เช่น เป็นหญิงเจ้าแม่อา อย่าทำกะริงกะเรียด ตัวเจ้ายังน้อยสักเท่าเขียด เจ้ามาวอนแม่จะมีผัว (มโนห์รา).
(เกฺรี้ยว) ว. อาการที่แสดงความเดือดดาลหรือโกรธมาก เช่น อนิจจามาร้องอยู่เกรี้ยว ๆ (มโนห์รา).
เต็มที่, เต็มกำลัง, เช่น ผอมเหมือนกวางโกรกโกรด (มโนห์รา)
(ขะหฺยด) ก. ถด, ถอย, กระเถิบ, เลื่อนจากที่เดิม, เช่น ทวารวังในว่าใกล้ ฤๅแลวันนี้ไสร้ ขยดออกรื้อดูไกล บารนีฯ (ลอ), ใช้ว่า กระหยด ก็มี เช่น กระหยดเข้า นางเจ้าแม่ทรงศาสตราชัย (มโนห์รา).
น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น นางนาฏแม่ฉายา (มโนห์รา).
น. ศิลปะการแสดงพื้นเมืองอย่างหนึ่งของภาคใต้ มีแม่บทท่ารำอย่างเดียวกับละครชาตรี, โนรา ก็ว่า, เขียนว่า มโนห์รา ก็มี.
คำกล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคำกลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง (มโนห์รา), เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล (ม. ร่ายยาว กุมาร), ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย (บทดอกสร้อย).