ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*อินเดีย*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อินเดีย, -อินเดีย-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
inland taipan[อินแลด์ ไทพัน] (n) งูชนิดหนึ่งอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียบริเวณแห้งแล้ง ชอบอากาศเย็น ออกล่าเหยื่อในตอนกลางคืนหรือตอนอากาศเย็น ขึ้นชื่อได้ว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทีั่สุดในโลกด้วยพิษมีปล่อยมาเพียงแค่ 44 มิลลิกรัมต่อครั้ง แต่มีความรุนแรงกว่างูเห่าอินเดียถึง 50 เท่า

Longdo Dictionary ภาษา อังกฤษ (EN) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ชงโค(name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
อินเดีย(n) India, Syn. ประเทศอินเดีย, Example: พุทธศาสนามีต้นกำเนิดมาจากประเทศอินเดีย, Thai Definition: ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่ง อยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศพม่า
อินเดีย(n) indium, Example: อินเดียมใช้ทำอุปกรณ์เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ได้, Thai Definition: ธาตุลำดับที่ 49 สัญลักษณ์ In เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีขาวเงิน หลอมละลายที่ 156.2 ํ ซ. ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง, Notes: (อังกฤษ)
ชาวอินเดีย(n) Indian, Syn. คนอินเดีย, คนแขก, แขก, Example: ชาวอินเดียรู้จักเคี้ยวลำอ้อยเพื่อให้ได้รสหวาน, Count Unit: คน
ประเทศอินเดีย(n) Republic of India, See also: India, Syn. อินเดีย, Example: ประเทศอินเดียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนามากมาย, Count Unit: ประเทศ

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ยูงอินเดียน. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด <i>Pavo cristatus</i> Linn. ในวงศ์ Phasianidae ลักษณะทั่วไปคล้ายนกยูงไทย แต่หงอนขนบนหัวแผ่เป็นรูปพัด หนังข้างแก้มสีขาว ขนส่วนคอและอกด้านบนสีน้ำเงิน กินเมล็ดพืช แมลง และสัตว์ขนาดเล็ก เป็นนกที่นำเข้ามาในประเทศไทย มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย.
สะเดาอินเดียน. ชื่อไม้ต้นชนิด <i>Azadirachta indica</i> A. Juss. var.<i>indica</i> ในวงศ์ Meliaceae ใบมีรสขม ใบอ่อนและช่อดอกกินได้และใช้ทำยาได้, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นชนิดเดียวกับต้นควินินหรือซิงโคนา (<i>Cinchona</i> spp.) ที่ใช้เปลือกสกัดเป็นยาควินิน.
อินเดียน. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งในเอเชียใต้ อยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศพม่า.
อินเดียนแดงน. ชนชาวพื้นเมืองดั้งเดิมพวกหนึ่งในทวีปอเมริกา.
อินเดียน. ธาตุลำดับที่ ๔๙ สัญลักษณ์ In เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีขาวเงิน หลอมละลายที่ ๑๕๖.๒ °ซ. ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่นทำอุปกรณ์เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือที่ใช้ในงานทันตกรรม ชุบฉาบผิวเหล็กซึ่งเคลือบด้วยเงินแล้ว.
กรมท่าขวาน. ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ทำหน้าที่ติดต่อกับต่างชาติเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศ กับชาติที่อยู่ทางด้านขวาหรือทางตะวันตกของอ่าวไทย เช่น อินเดีย อิหร่าน รวมทั้งชาติที่เข้ามาติดต่อทางด้านนั้น.
กรอก ๒(กฺรอก-) น. ชื่อนกยางขนาดเล็ก ในวงศ์ Ardeidae นอกฤดูผสมพันธุ์เพศผู้และเพศเมียสีลำตัวคล้ายกัน แต่ในฤดูผสมพันธุ์สีต่างกัน ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ ยางกรอกพันธุ์จีน [<i> Ardeola bacchus</i> (Bonaparte)] หัวสีนํ้าตาลแดง หลังสีเทาดำ อกสีแดง ยางกรอกพันธุ์ชวา [<i> A. speciosa</i> (Horsfield)] หัวและคอสีเหลือง หลังสีเทาดำ อกสีเหลือง และยางกรอกพันธุ์อินเดีย [<i> A. grayii</i> (Sykes)] หัวและคอสีเหลือง หลังสีแดงเข้ม อกสีน้ำตาลเหลือง กินปลาและสัตว์น้ำ.
กระแซ ๑น. คนเชื้อสายชาวอินเดียเมืองมณีปุระ (เมืองหนึ่งในแคว้นอัสสัม).
กระวานเทศน. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Elettaria</i><i> cardamomum</i> (L.) Maton ในวงศ์ Zingiberaceae มาจากประเทศอินเดียตอนใต้ ผลรูปกระสวยหรือรูปไข่ปลายแหลม สีนวล มี ๓ พู กลิ่นหอมฉุน, เอลา ลูกเอ็ล หรือ ลูกเอ็น ก็เรียก.
กลิงค์(กะลิง) น. เรียกชาวอินเดียใต้พวกหนึ่งที่มีผิวดำ ว่า แขกกลิงค์, กลึงค์ หรือ กะเล็ง ก็ว่า.
กะราง, กะลางน. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิด ใน ๒ วงศ์ ลำตัวอ้วนป้อม หากินเป็นฝูงตามพื้นดิน อาจหากินร่วมกับนกชนิดอื่น ๆ พวกที่อยู่ในวงศ์ Sylviidae มีปากหนาสั้นสีดำปลายแหลม เช่น กะรางหัวหงอก [<i> Garrulax</i> <i> leucolophus</i> (Hardwicke)] กะรางคอดำ [<i> G. chinensis</i> (Scopoli)] กะรางสร้อยคอเล็ก [<i> G. monileqer</i> (Hodgson)] พวกที่อยู่ในวงศ์ Upupidae ได้แก่ กะรางหัวขวาน (<i> Upupa epops</i> Linn.) ปากยาวแหลมโค้งสีดำ หงอนขนสีส้มขอบดำ ลักษณะหงอนขนเหมือนหมวกของอินเดียนแดง ขนตามลำตัวสีนํ้าตาลอมเหลือง มีแถบดำขาวสลับกัน, ชนิดนี้ การางหัวขวาน หรือ หงอนชบา ก็เรียก.
กัมพุช ๑, กัมพุช-(กำพุด, กำพุดชะ-) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้.
กัมโพช(กำโพด) น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมพุช ก็ใช้.
แขก ๒น. คำเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร.
คงคา ๑น. นํ้า, แม่นํ้า, ใช้เป็นสามัญว่า แม่พระคงคา หมายถึง เจ้าแม่ประจำนํ้า, ชื่อแม่นํ้าสำคัญสายหนึ่งในประเทศอินเดีย. (ป., ส. คงฺคา ว่า ผู้ไปเร็ว, ผู้ไหลเชี่ยว)
คฤนถ์(คฺรึน) น. ตัวอักษรแบบหนึ่งของอินเดียภาคใต้ที่ใช้เขียนตำรา.
คันธารราษฎร์(-ทาระราด) น. ชื่อแคว้นโบราณ อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย
โคล ๑(โคน) น. ชนกลุ่มหนึ่งในประเทศอินเดียฝ่ายใต้ เช่น ผู้สืบสัมพันธ์โคตรเค้าโคลตระกูล ทิชาเชื้อชาติธชีชูชก (ม. ร่ายยาว ชูชก).
จะละเม็ด ๒น. ชื่อเต่าทะเลชนิด <i> Caretta caretta</i> Linn. ในวงศ์ Cheloniidae หัวโตกว่าเต่าทะเลชนิดอื่น เกล็ดกระดองหลังแถวข้างมี ๕ ชิ้น กระดองสีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลแดง ท้องสีขาวครีม พบในมหาสมุทรแปซิฟิก เขตนํ้าอุ่นของมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย พบน้อยในอ่าวไทย, เรียกไข่เต่าทะเลทุกชนิด ว่า ไข่จะละเม็ด.
จันทน์เทศน. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด <i> Myristica</i> <i> fragrans</i> Houtt. ในวงศ์ Myristicaceae รกหุ้มเมล็ดมีกลิ่นหอมฉุนเรียก ดอกจันทน์ เมล็ดมีกลิ่นหอมฉุนเช่นกัน เรียก ลูกจันทน์ ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นพรรณไม้ที่นำเข้ามาจากหมู่เกาะอินเดียตะวันออก.
จีน ๑น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับมองโกเลีย รัสเซีย เวียดนาม ลาว พม่า ภูฏาน เนปาล อินเดีย คีร์กีซ และคาซัคสถาน มีภาษาพูดและอักษรของตนเองใช้.
ชมพูทวีปน. ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาล และบังกลาเทศในปัจจุบัน
ชิน ๕น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย. (ส.). <i> (ดู เชน)</i>.
เชนน. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย ศาสดาชื่อมหาวีระ มี ๒ นิกายคือ นิกายทิคัมพรหรือพวกชีเปลือย และนิกายเศวตัมพรหรือเศวตามพรหรือพวกนุ่งผ้าขาว ใช้ภาษาปรากฤตเป็นภาษาทางศาสนา ถือมั่นในหลักอหิงสาและมังสวิรัติ, ชิน หรือ ไชนะ ก็ว่า.
ไชนะน. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย. (ส.). <i> (ดู เชน)</i>.
ซาบะน. ชื่อปลาทะเลขนาดกลาง มี ๓ ชนิด คือ ชนิด <i> Scomber australasicus</i> Cuvier ชนิด <i> S. japonicas</i> Houttuyn และชนิด <i> S. scombrus</i> Linn. ในวงศ์ Scombridae ลำตัวกลมยาว เรียวไปทางคอดหาง ชนิดแรกมีลวดลายสีน้ำเงินเข้มเป็นเส้นทะแยงหยักเรียงขนานชิดกันเป็นระเบียบอยู่เหนือเส้นข้างตัว ที่ต่ำลงไปจนถึงท้องลวดลายจะแตกเป็นจุดประสีเทาจางกระจายอยู่ทั่วไป ส่วนชนิดที่ ๒ มีลวดลายหยิกหยักสีน้ำเงินจางกว่า และกินบริเวณเกือบถึงแนวกลางลำตัว ๒ ชนิดแรกเป็นปลาฝูง พบกระจายพันธุ์อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ชนิดที่ ๓ มีลายสีน้ำเงินเป็นริ้วขวางอยู่ครึ่งบนของลำตัว พบอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.
ซิก ๒, ซิกข์น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีปฐมศาสดาชื่อ คุรุนานัก
ซิก ๒, ซิกข์ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย
ซีป่ายน. ชื่อกองทหารแบบอังกฤษกองหนึ่งในรัชกาลที่ ๔ เอาแบบมาจากทหารซีปอยของกองทัพอังกฤษในอินเดีย.
ไซโคลน(-โคฺลน) น. ชื่อพายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอาหรับ และอ่าวเบงกอล มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป.
ดาว ๓น. ชื่อกวางชนิด <i> Axis axis</i> (Erxleben) ในวงศ์ Cervidae เป็นกวางขนาดกลาง ขนละเอียดอ่อนและนุ่มกว่ากวางป่า สีนํ้าตาลหรือน้ำตาลอมเหลืองมีจุดสีขาวกระจายทั่วตัว อยู่รวมกันเป็นฝูง กินพืช มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดียและศรีลังกา.
เดียรถีย์(-ระถี) น. นักบวชนอกพระพุทธศาสนาในอินเดียสมัยพุทธกาล.
ตะวันออกกลางน. กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศอินเดียและปากีสถาน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา, เดิมหมายรวมถึงประเทศอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย และพม่า ด้วย.
ทมิฬ(ทะมิน) น. ชนพื้นเมืองอินเดียเผ่าหนึ่ง ปัจจุบันมีอยู่มากทางอินเดียแถบใต้และเกาะลังกาแถบเหนือ, ชื่อภาษาของชนเผ่านั้น.
ธรรมศาสตร์คัมภีร์กฎหมายเก่าของอินเดีย, คัมภีร์อันเป็นต้นกำเนิดแห่งกฎหมาย, พระธรรมศาสตร์ ก็เรียก.
นพนิต(นบพะนิด) น. เนยข้นชนิดหนึ่ง. (ชาวอินเดียเรียกว่า ghee).
นวนิตน. นพนิต, เนยข้นชนิดหนึ่ง. (ชาวอินเดียเรียกว่า ghee).
นาค ๒, นาคา ๑(นาก) น. ชื่อชนเผ่าหนึ่งอยู่ในบริเวณเทือกเขานาค ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศพม่า มีหลายสาขา เช่น อาโอนาค กูกินาค.
นิกขะชื่อมาตรานํ้าหนักของเงินอินเดีย ๕ สุวัณณะ เป็น ๑ นิกขะ.
บริพาชก(บอริพาชก) น. ปริพาชก, นักบวชผู้ชายนอกพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งในอินเดีย.
บริพาชิกา(บอริ-) น. ปริพาชิกา, นักบวชผู้หญิงนอกพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งในอินเดีย.
บัง ๓น. คำเรียกชายผู้มีเชื้อสายแขกมลายูหรือแขกอินเดีย หมายถึง พี่ชาย, อาบัง ก็เรียก.
ปรากฤต(ปฺรากฺริด) น. ภาษาพื้นเมืองในอินเดียสมัยโบราณซึ่งสืบเนื่องมาจากภาษาตระกูลอริยกะ.
ปริพาชก(ปะริ-) น. นักบวชผู้ชายนอกพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งในอินเดีย, เพศหญิงใช้ว่า ปริพาชิกา.
ปริพาชิกา(ปะริ-) น. นักบวชผู้หญิงนอกพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งในอินเดีย.
ปล้องฉนวนน. ชื่องูขนาดกลางหลายชนิด ในวงศ์ Colubridae ลำตัวเล็กเรียว ยาว ๔๐-๑๑๐ เซนติเมตร มักมีลายเป็นปล้องสีนํ้าตาลหรือดำสลับขาว หากินตามพื้นดินในเวลากลางคืน กินสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เช่น จิ้งจก กิ้งก่า เป็นงูไม่มีพิษ มีหลายชนิด เช่น ปล้องฉนวนหลังเหลือง [<i> Lycodon laoensis</i> (Günther)] ปล้องฉนวนบ้าน (<i> L. subcinctus</i> Boie) ปล้องฉนวนอินเดีย [<i> Dryocalamus davisonii</i> (Blandford)].
ปากห่างน. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด <i> Anastomus oscitans</i> (Boddaert) ในวงศ์ Ciconiidae ปากหนาแหลมตรง ขากรรไกรทั้งสองเมื่อประกบกันส่วนกลางไม่ชิดกัน ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการคาบเหยื่อ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหอยโข่ง หอยเชอรี่ ลำตัวสีเทาอมขาว แต่จะเป็นสีเทาเข้มในช่วงฤดูผสมพันธุ์ มีจำนวนมากในภาคกลาง ประวัติเป็นนกอพยพมาจากประเทศอินเดียและบังกลาเทศ ปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นนกประจำถิ่น.
พราหมณะ(พฺรามมะนะ) น. ชื่อคัมภีร์ศาสนาประเภทหนึ่งในยุคพระเวทของอินเดียโบราณ มีหลายคัมภีร์ด้วยกัน ส่วนใหญ่แต่งร้อยแก้ว ว่าด้วยการประกอบพิธีกรรม มีเรื่องราวของเทพต่าง ๆ ประกอบ.
พายุไซโคลนน. พายุหมุนที่มีกำลังแรงจัด ทำให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอาหรับ และอ่าวเบงกอล มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป.
โพธิบัลลังก์น. อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้, รัตนบัลลังก์ หรือ วัชรอาสน์ ก็ว่า.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
mestizoเมสติโซ, ลูกครึ่งชาวยุโรปกับชาวอินเดียนแดง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
Indiana limestoneหินปูนอินเดียนา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Yaqui Indiansอินเดียนแดงเผ่ายาควี [TU Subject Heading]
Andaman and Nicobar Islands (India)หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ (อินเดีย) [TU Subject Heading]
Art, Indianศิลปะอินเดียนแดง [TU Subject Heading]
Art, Indicศิลปะอินเดีย [TU Subject Heading]
Arts, Indicศิลปกรรมอินเดีย [TU Subject Heading]
Cherokee Indiansอินเดียนแดงเผ่าเชโรกี [TU Subject Heading]
East Indiansชาวอินเดีย [TU Subject Heading]
East Indiesอินเดียตะวันออก [TU Subject Heading]
Hopi Indiansอินเดียนแดงเผ่าโฮปิ [TU Subject Heading]
Indiaอินเดีย [TU Subject Heading]
India in the Tripitakaอินเดียในพระไตรปิฎก [TU Subject Heading]
India-Pakistan Conflict, 1947-1949ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1947-1949 [TU Subject Heading]
India-Pakistan Conflict, 1965ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1965 [TU Subject Heading]
India-Pakistan Conflict, 1971ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1971 [TU Subject Heading]
Indian Oceanมหาสมุทรอินเดีย [TU Subject Heading]
Indian Ocean Tsunami, 2004คลื่นซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading]
Indiansอินเดียนแดง [TU Subject Heading]
Indians of Central Americaอินเดียแดงในอเมริกากลาง [TU Subject Heading]
Indians of Mexicoอินเดียแดงในเม็กซิโก [TU Subject Heading]
Indians of North Americaอินเดียนแดงในอเมริกาเหนือ [TU Subject Heading]
Indic influencesอิทธิพลอินเดีย [TU Subject Heading]
Indic literatureวรรณกรรมอินเดีย [TU Subject Heading]
Ladakh (India)ลาดัก (อินเดีย) [TU Subject Heading]
Philosophy, Indicปรัชญาอินเดีย [TU Subject Heading]
Proverbs, Indicสุภาษิตและคำพังเพยอินเดีย [TU Subject Heading]
Quotations, Indicคำคมอินเดีย [TU Subject Heading]
Taj Mahal (Agra, India)ทัช มาฮัล (อัครา, อินเดีย) [TU Subject Heading]
ASEAN-India Joint Cooperation Committeeคณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-อินเดีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยอินเดียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอินเดีย [การทูต]
ASEAN-New Delhi Committeeคณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงนิวเดลี " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง นิวเดลี มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับอินเดียที่กรุงนิวเดลี " [การทูต]
ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต]
ASEAN Dialogue Partnersคู่เจรจาอาเซียน " ประกอบด้วย 9 ประเทศ 1 กลุ่มประเทศ และ 1 องค์การระหว่างประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยคู่เจรจาเหล่านี้ (ยกเว้นโครงการพัฒนาแห่งสห- ประชาชาติ) จะเข้าร่วมการประชุม PMC ด้วย " [การทูต]
Bangkok Processเป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต]
Bangladesh-India-Myanmar- Sri Lanka and Thailand Economic Cooperationกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา และไทย " ในช่วงแรกบังกลาเทศ-อินเดีย-พม่า-ไทย ได้ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพื่อจัดตั้งความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ-อินเดีย-ศรีลังกา-ไทย (BIST-EC) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2540 ต่อมา ได้รับพม่าเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ และเปลี่ยนชื่อจาก BIST-EC เป็น BIMST-EC เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2540 " [การทูต]
The Conference on Interaction and Confidence-Building Measures in Asiaการประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย " CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน " [การทูต]
Commonwealth of Nationsการรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า [การทูต]
Ganga-Suwanabhumi-Mekong Cooperationความร่วมมือลุ่มน้ำคงคา-สุวรรณภูมิ-ลุ่มน้ำโขง ประกอบด้วย ไทย-ลาว-พม่า-เวียดนาม-กัมพูชา และอินเดีย เป็นกรอบความร่วมมือที่เสนอในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ รัฐมนตรีต่างประเทศประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 33 เมื่อ 28 กรกฎาคม 2543 โดยมีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2543 [การทูต]
India-Brazil-South Africaเวทีเจรจาสามฝ่าย ระหว่างอินเดีย บราซิล และแอฟริกาใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสิมความร่วมมือในกรอบใต้-ใต้ใน วงกว้าง เป้าหมายหลัก IBSA คือการส่งเสริมและขยายโอกาส ด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาสังคม และการเลแกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกัน [การทูต]
Indian Ocean Rim Association for Regional Cooperationสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดย Charter of the Indian Ocean Rim Association for Regional Co-operation มีสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศ และมีอียิปต์กับญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่เจรจาด้วย สำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐมอริเชียส [การทูต]
Mekong - Ganga Cooperationความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต]
New Diplomacyการทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต]
Parliamentary Diplomacyการทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต]
Pacific Islands ForumPIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต]
South Asian Association for Regional Cooperationสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนธันวาคม 2528 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างกัน โดยมีสมาชิกประกอบด้วยประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ 7 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา ภูฏาน บังกลาเทศ และมัลดีฟส์ [การทูต]
South Asian Growth Quadrangleโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจแห่งเอเชียใต้ " เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างบังกลาเทศ เนปาล อินเดีย และ ภูฏาน เพื่อปรับปรุงมาตรการความเป็นอยู่ของประชาชนในภูมิภาค เอเชียใต้ให้ดีขึ้น " [การทูต]
Cirrhosis, Indian Childhoodตับแข็งแบบเด็กอินเดีย [การแพทย์]
Cirrhosis, Indian Childrenโรคตับแข็งในเด็กอินเดีย [การแพทย์]
Skylabสกายแลบ, ห้องปฏิบัติการอวกาศของสหรัฐอเมริกา ขึ้นไปโคจรอยู่ในอวกาศรอบโลกเมื่อวันที่14 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และตกลมาสู่โลกบริเวณมหาสมุทรอินเดียและที่ว่างภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Incasชาวอินเดียแดงเผ่าอินคา [การแพทย์]
Indian Filesอินเดียนไฟล์ [การแพทย์]
Indian Inkหมึกอินเดีย [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อาหารอินเดีย[āhān Indīa] (n, exp) EN: Indian food  FR: cuisine indienne [f]
อโศกอินเดีย[asōk Indīa] (n, exp) EN: Asoke tree ; Cemetary tree ; Mast tree
ชายชาวอินเดีย[chāichāo Indīa] (n, prop) EN: Indian   FR: Indien [m]
ชาวอินเดีย[Chāo Indīa] (n, prop) FR: Indien [m] ; Indienne [f] ; ressortissant indien [m] ; citoyen indien [m]
อินเดีย[Indīa] (n, prop) EN: India  FR: Inde [f]
อินเดีย[indīem] (n) EN: indium  FR: indium [m]
อินเดียนแดง[Indīen Daēng] (n, prop) EN: Mohawk ; Red Indian ; American Indian  FR: Iroquois [m]
เขตสงวนอินเดียนแดง[khēt sa-ngūan Indīen Daēng] (n, exp) EN: Indian reservation
เหลืองอินเดีย[leūang Indīa] (n, exp) EN: Golden tree ; Yellow pui
มหาสมุทรอินเดีย[Mahāsamut Indīa] (n, prop) EN: Indian Ocean  FR: océan Indien [m]
งูปล้องฉนวนอินเดีย[ngū plǿngchanūan Indīa] (n, exp) EN: Common Bridle Snake ; Blanford‘s Bridle Snake
นกคัคคูพันธุ์อินเดีย[nok khakkhū phan Indīa] (n, exp) EN: Indian Cuckoo  FR: Coucou à ailes courtes [m] ; Coucou indien [m]
นกคัคคูเหยี่ยวพันธุ์อินเดีย[nok khakkhū yīo phan Indīa] (n, exp) EN: Common Hawk Cuckoo  FR: Coucou shikra [m] ; Coucou varié [m]
นกพงใหญ่พันธุ์อินเดีย[nok phong yai phan Indīa] (n, exp) EN: Clamorous Reed Warbler  FR: Rousserolle stentor [f] ; Rousserolle babillarde [f] ; Rousserolle d’Égypte [f] ; Rousserolle orientale [f] ; Rousserolle turdoïde d’Égypte [f]
ภาพยนตร์อินเดีย[phāpphayon Indīa] (n, exp) FR: cinéma indien [m]
ภาษาอินเดียนแดง[phāsā Indīen Daēng] (n, exp) EN: Mohawk  FR: iroquois [m]
ผีเสื้อใบไม้ใหญ่(อินเดีย)[phīseūa baimāi yai (Indīa)] (n, exp) EN: Orange Oakleaf
ผีเสื้อแดงอินเดีย[phīseūa daēng Indīa] (n, exp) EN: Indian Red Admiral
ผีเสื้อเจ้าชายม่วงอินเดีย[phīseūa jaochāi muang Indīa] (n, exp) EN: Indian Purple Emperor
ผีเสื้อกะลาสีลายเลอะอินเดีย[phīseūa kalāsī lāi loe Indīa] (n, exp) EN: Indian Dingiest Sailor
ผีเสื้อหนอนกะหล่ำอินเดีย[phīseūa nøn kalam Indīa] (n, exp) EN: Indian Cabbage White
ประเทศอินเดีย[Prathēt Indīa] (n, prop) EN: India ; Republic of India  FR: Inde [f] ; répuiblique de l'Inde [m]
ปรัชญาอินเดีย[pratyā Indīa] (n, exp) EN: Indian Philosophy  FR: philosophie indienne [f]
ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ[pratyā Indīa samai bōrān] (n, exp) EN: Ancient Indian Philosophy
ซองออฟอินเดีย[søng øp Indīa] (n, exp) EN: Song of India

English-Thai: Longdo Dictionary
Lok Sabha(uniq) โลกสภา ชื่อเรียกสภาผู้แทนราษฎรของอินเดีย ส่วนวุฒิสภาของอินเดียนั้น เรียกว่า ราชย์สภา (Rajya Sabha)
Taj Mahal(n) ทัชมาฮาล อนุสรณ์สถานแห่งความรักของจักรพรรดิ์อินเดียที่ชื่อ Mughal Emperor Shāh Jahān ทัชมาฮาลถูกสร้างเพื่อรำลึกถึงภรรยาที่รักของพระองค์
squaw(n) ผู้หญิงอินเดียนแดง, Syn. an American Indian woman

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
Assam(n) รัฐอัสสัม (ในอินเดีย)
balti(n) การทำอาหารชนิดหนึ่งของอินเดีย
Bengal(n) แคว้นเบงกอลในประเทศอินเดีย
Calcutta(n) กัลกัตตา, See also: เมืองหลวงของรัฐเบงกอลในประเทศอินเดีย
Calcutta(n) เมืองกัลกัตตา, See also: เมืองหลวงของรัฐเบงกอลในประเทศอินเดีย
Cherokee(n) อินเดียแดงเผ่าเชอโรกี
dacoit(n) โจรในประเทศพม่าหรืออินเดีย (ที่ก่ออาชญากรรมหรือลักทรัพย์), Syn. dakoit
dal(n) ซอสชนิดหนึ่งของชาวอินเดีย (ทำจากถั่วแระ เครื่องเทศ), Syn. dahl
Hindi(n) ภาษาฮินดู, See also: ภาษาราชการและเป็นภาษาที่ใช้กันมากที่สุดในประเทศอินเดีย
Hindustan(n) ประเทศอินเดีย, See also: ประเทศอินเดียทางตอนเหนือซึ่งเป็นส่วนที่ประชาชนพูดภาษาฮินดู
Hindustani(n) กลุ่มภาษาอินเดียซึ่งรวมถึงภาษาฮินดูและภาษาอูรดู
India(n) ประเทศอินเดีย
India(n) อินเดีย
India rubber(n) ยางอินเดีย, See also: ยาง, Syn. rubber, natural rubber
Indian(adj) เกี่ยวกับอินเดีย, See also: เกี่ยวกับคนอินเดีย, เกี่ยวกับภาษาอินเดียว, เกี่ยวกับวัฒนธรรมอินเดีย
Indian(n) ชาวอินเดีย, See also: คนอินเดีย
Indian(n) ชาวอินเดียนแดง, See also: อินเดียแดง, ชนพื้นเมืองอเมริกัน
Indian(n) ภาษาอินเดีย
Indian Ocean(n) มหาสมุทรอินเดียมีความลึกประมาณ 25,344 ฟุต
Indiana(n) รัฐอินเดียนา (ในสหรัฐอเมริกา)
Iroquoian(adj) เกี่ยวกับชนเผ่าอินเดียนแดง
Iroquoian(n) ตระกูลภาษาของเผ่าอินเดียนแดงในอเมริกาเหนือ
Jainism(n) ศาสนาเชนในอินเดีย, See also: ศาสนาชิน
Kashmir(n) รัฐแคชเมียร์, See also: รัฐเก่าแก่ในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้อยู่ติดกับอินเดีย ปากีสถาน มณฑลซินเกียงของจีนและธิเ
lodge(n) บ้านอินเดียแดง, See also: กระโจม, Syn. wigwam
Madagascar(n) เกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย
Mahabharata(n) มหาภารตะ, See also: มหากาพย์ของอินเดีย
maharaja(n) มหาราชา, See also: โดยเฉพาะเจ้าผู้ปกครองประเทศอินเดียในอดีตและมีตำแหน่งสูงกว่าราชา, Syn. maharajah
maharajah(n) มหาราชา, See also: โดยเฉพาะเจ้าผู้ปกครองประเทศอินเดียในอดีตและมีตำแหน่งสูงกว่าราชา, Syn. prince, maharaja
maharanee(n) มหารานี (เจ้าหญิงของอินเดีย), Syn. maharani
maharani(n) มหารานี (เจ้าหญิงของอินเดีย), Syn. maharanee
Mahatma(n) มหาตมะ ตำแหน่งยกย่องผู้มีคุณธรรมสูงในอินเดีย, Syn. sage
mahatma(n) มหาตมะ ตำแหน่งยกย่องผู้มีคุณธรรมสูงในอินเดีย, Syn. sage
Malabar(n) แคว้นหนึ่งในอินเดีย
Malabar Coast(n) บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย
Mauritius(n) เกาะหนึ่งในมหาสมุทรอินเดีย
Maya(n) เผ่าอินเดียนแดง
moccasin(n) รองเท้าหนังกวางนุ่มไม่มีส้นของชาวอินเดียนแดง, Syn. slipper, sandal
Mohawk(n) ชนชาวเผ่าอินเดียนแดงเผ่าหนึ่ง
Mohawk(n) ภาษาอินเดียนแดง
Mohican(n) การตัดผมทรงอินเดียนแดง
mulligatawny(n) ซุปเผ็ดร้อนของอินเดีย
Naga(n) คนในเอเชียใต้มักในอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือและพม่าตะวันตก, See also: ภาษา Naga
New Delhi(n) เมืองหลวงของอินเดีย
papoose(n) ทารกอินเดียนแดง, See also: เด็กอินเดียนแดง, Syn. infant, child, nursling
peace pipe(n) กล้องสูบยาของชาวอินเดียนแดงในอเมริกาเหนือ
pekoe(n) ชาดำชั้นดีจากศรีลังกา อินเดียและชวา, Syn. iced tea, herb tea, pekoe
pice(n) เหรียญเงินตราสมัยก่อนของอินเดีย
pueblo(n) หมู่บ้านอินเดียนแดง
raga(n) รูปแบบตัวโน้ตในดนตรีอินเดีย

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
algonquian(แอลกอง' เควน) n., adj. ตระกูลหนึ่งของภาษาอินเดียแดง, ผู้ที่พูดภาษานี้
algonquin(แอลกอง' คิน. -ควิน) n., (pl. -quins) อินเดียแดงที่พูดภาษา Algonquin
ambary(แอมบา' รี) n. พืชจำพวก Hibiscus cannabinus ในอินเดีย ใช้ทำเส้นผ้าใบ ปอ ปอชวา ., Syn. kenaf
american(อะเม' ริกัน) adj. เกี่ยวกับสหรัฐ-อเมริกาหรือทวีปอเมริกา. -n. ชาวอเมริกา, ชาวทวีปอเมริกา, อินเดียแดง -Americanism n.
american indianอินเดียแดง
americanist(อะเม' ริคันนิสทฺ) n. นักศึกษาเกี่ยวกับเครื่องของอเมริกา (โดยเ) พาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร็และภูมิศาสตร์) พวกเชี่ยวชาญวัฒรธรรมหรือภาษาของอินเดียนแดง. -Americanistic adj. (student of America)
amerind(แอม' เมอไรนดฺ) n. ชาวอินเดียแดงและเอสกิโมในอเมริกาเหนือและใต้, ภาษาท้องถิ่นของอินเดียแดง. -Amerindian adj., n. -Amerindic adj.
anglo-indian(แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน
apache(อะแพช'ชี) n., (pl. Apaches) อินเดียนแดงเผ่าอะปาเช่
arrowwood(แอร์'โรวูด) n. พืชจำพวก wahoo มีรากแข็งและตรงชาวอินเดียแดงใช้ทำลูกศร
assam(แอสแซม') n. รัฐอัสสัมในอินเดีย
athapaskan(แอธธะแพส'คัน) n. กลุ่มภาษาอินเดียแดง (ในแคนนาดา อาลาสกา ออริกอน แคลิฟอร์เนีย) . เช่น ภาษาอาปาเช่., Syn. Athapascan, Athabascan, Athabaskan
axis(แอค' ซิส) n., (pl. axes) แกน, เพลา, เส้นศูนย์กลาง, สัมพันธมิตร, แนวหลักในการพัฒ-นาหรือเคลื่อนที่, กระดูกสันหลังที่คอ (ชิ้นที่ 2) , อักษะ (เยอรมัน ญี่ปุ่นและอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่ 2) , ชื่อกวางในอินเดียและลังกา, Syn. coalition
aymara(ไอ'มารา) n. ชาวอินเดียแดงเผ่าพันธุ์หนึ่ง, ภาษาของคนพวกนี้. -Aymaran adj. (of an Indian people)
aztec(แอซ' เทค) n. ชื่อชนชาติอินเดียแดงในเม็กซิโกตอนกลาง, ภาษาของชนชาติดังกล่าว - Aztecan adj.
babu(บา'บู) n. คำทักทายยกย่อง (คุณ,คุณนาย,ท่าน) ของชาวฮินดู,สุภาพบุรุษชาวฮินดู,ชาวอินเดียที่รู้จักภาษาเล็กน้อย, Syn. baboo, Sir, Mr.
bengal(เบนกอล') n. มณฑลเบ็งกอลระหว่างอินเดียกับบังกลาเทศ, See also: bengalese n., adj.
bombay(บอม'เบย์) n. เมืองท่าของอินเดีย
buck(บัค) n. กวางตัวผู้,มั่งตัวผู้,กระต่ายตัวผู้,ม้าตัวผู้,แกะตัวผู้,แพะตัวผู้,สัตว์ตัวผู้,ชาย,ชายหนุ่ม,นิโกรชาย,อินเดียแดงชาย,กรอบ,โครง,เหรียญ,เจ้าชู้,เพื่อนยาก
calcutta(แคลคัท'ทะ) n. กรุงกัลกัตตา,ชื่อเมืองท่าของอินเดีย
caucasusเทือกเขาในCaucasiaเป็นที่เกิดของชนผิวขาวและแขกอินเดีย
caucasus mountainsเทือกเขาในCaucasiaเป็นที่เกิดของชนผิวขาวและแขกอินเดีย
chinookn. ชาวอินเดียแดงที่อยู่บนฝั่งของแม่น้ำโคลัมเบีย
comanche(โคแมน'ซี) n. เผ่าอินเดียแดงเผ่าหนึ่ง
cow(คาว) n. วัวตัวเมีย,แม่วัว,สัตว์ตัวเมียจำพวก Bos,สัตว์ตัวเมียขนาดใหญ่ (เช่นช้าง ปลาวาฬ แรด แม่น้ำ) ,หญิงอ้วนพุงพลุ้ย -Phr. (a sacred cow วัวในอินเดีย (ถือเป็นสัตว์ที่ศักดิ์สิทธิ์) ,บุคคลที่ศักดิ์สิทธิ์ที่หาอาจล่วงละเมิดได้.) -Phr. (till the cows come home นาน
gandhi(กาน'ดี) Magatma,มหาตมะคันธรัฐบุรุษของอินเดียผู้เป็นเจ้าของลัทธิอหิงสา (Gandhism) หรือลัทธิการขัดขวางโดยไม่ต่อสู้
griffe(กริฟ) n. ลูกผสมผิวดำกับผิวขาว,ลูกผสมผิวดำกับอินเดียนแดง
hindustan(ฮินดูสถาน) n. อินเดียส่วนที่ชาวฮินดูอาศัยอยู่
india(อิน' เดีย) n. ประเทศอินเดีย
indian(อิน' เดียน) n. ชาวอินเดีย, ชาวอินเดียนแดง, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดียนแดง, สมาชิกขององค์การ. -adj. เกี่ยวกับชาวอินเดียหรืออินเดียนแดง, เกี่ยวกับภาษาอินเดียหรืออินเดียแดง, เกี่ยวกับตะวันออก, เกี่ยวกับบริเวณประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศและศรี
indian agentเจ้าหน้าที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาที่มีหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องของอินเดีย
indian desertชื่อทะเลทรายในอินเดียด้านด้านตะวันตก
indian oceanมหาสมุทรอินเดีย
indianapolis(อินดิอะแนพ'พะลิส) n. ชื่อเมืองหลวงของรัฐอินเดียนาของอเมริกา
indic(อิน'ดิค) adj. เกี่ยวกับอินเดีย, เกี่ยวกับภาษาตระกูล Indo, See also: Iranian ซึ่งได้แก่ ภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดู ภาษาเออร์ดู Urdu ภาษาเบงกาลีและอื่น ๆ Indian
indo-abbr. อินเดีย
lodge(ลอดจฺ) n. กระท่อม,บ้านพักในป่า,บ้านเล็ก ๆ ,บ้านเล็กของคนเฝ้าประตูที่อยู่ใกล้รั้ว,โรงแรม,สาขาของสมาคมลับ,บ้านอินเดียแดง,ถ้ำของสัตว์,โพรงที่สัตว์อยู่. vi.,vt. มีถิ่นที่อยู่,พำนัก,เป็นที่พำนัก,ให้อยู่,ใส่,รับรอง,นำสู่,มอบ,เสนอ -S...
maharanee(มหารา'นี) n. มหาราชินี,ภรรยาของมหาราช,เจ้าหญิงอินเดีย
maharani(มหารา'นี) n. มหาราชินี,ภรรยาของมหาราช,เจ้าหญิงอินเดีย
mestizo(เมสที'โซ) n. ลูกผสม,คนเชื้อสายสเปนผสมกับอินเดียนแดง pl. mestizos,mestizoes
metis(เมทีส') n. บุคคลที่มีเลือดผสม,ลูกครึ่งระหว่างคนขาว (โดยเฉพาะฝรั่งเศส) กับอินเดียนแดง pl. mentis
moccasin(มอค'คะซิน) n. รองเท้าหนัง (โดยเฉพาะหนังกวาง) ของอินเดียแดง,
mogul(โม'เกิล,โมเกิล') n. ชาวมองโกลผู้พิชิตอินเดียที่ตั้งอาณาจักรขึ้นในสมัย ค.ศ.1526-1857,ผู้สืบเชื้อสายชาวมองโกลดังกล่าว,ชาวมองโกล,บุคคลที่สำคัญมีอำนาจหรือมีอิทธิพล
mohawk(โม`ฮอค) n.ชนชาวเผ่าอินเดียแดงเผ่าหนึ่ง
panjabi(พันจา'บิ) n. ภาษาปันจาบ,ชาวปันจาบในอินเดีย
papoosen. เด็กทารกอินเดียนแดง,
peace pipen. กล้องยาสูบของอินเดียนแดง
punjab(พันจาบ',พัน'จาบ) n. มณฑลปันจาบของอินเดีย
ranee(รา'นี) n. (ในอินเดีย) มเหสี,ราชินี,กษัตรี,เจ้าหญิงผู้ครองแผ่นดิน, Syn. rani
red indiann. อินเดียแดง

English-Thai: Nontri Dictionary
Indian(adj) เกี่ยวกับประเทศอินเดีย,เกี่ยวกับชาวอินเดีย
Indian(n) ชาวอินเดีย,แขก,ภาษาอินเดีย
wigwam(n) กระท่อมชาวอินเดียนแดง

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
calumet(n) กล้องยาสูบของอินเดียนแดง มีลำกล้องยาวมาก ใช้สูบเพื่อเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการสงบศึก
cholo[โช'โล] (n) ผู้สืบเชื้อสายชาวอเมริกัน-อินเดียนแดง แต่ปัจจุบัน คำนี้ถูกใช้เพื่อหมายถึง ชาวเม็กซิกันหรือเม็กซิกัน-อเมริกันในอเมริกา
Gonga(n) พระแม่คงคา, แม่น้ำคงคาในอินเดีย
Plassey(name) ปลาศี เป็นหมู่บ้านในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ. 1757 อังกฤษได้รับชัยชนะในยุทธการที่ปลาศี และเริ่มแผ่อิทธิพลครอบงำอินเดีย
Rajya Sabha(n) วุฒิสภาของอินเดีย (ราชสภา)
ravi(n, name, uniq) ดวงอาทิตย์ ผู้กล้าหาญ ชื่อของนักดนตรีซิตาร์ของประเทศอินเดียชือ รวี ชางการ์, See also: rawee
Srirangapatnaศรีรังคปัฏนา เป็นเมืองในรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย
talaing(n) คำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ" แต่พม่าเรียก"มอญ"ว่า ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า Talingana อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย, Syn. Mon
tamil nadu(n, name) ทมิฬนาดู: เมืองแห่งหนึ่งในประเทศอินเดีย

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
インド洋[いんどよう, indoyou] (n) มหาสมุทรอินเดีย

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
三昧[さんまい, sanmai] (n) สมาธิ (คำว่า สัมไม เป็นคำศัพท์ทางศาสนาที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลีสันสกฤตของอินเดียอย่างเดียวกับที่ภาษาไทยใช้ ที่อินเดียจะออกเสียงว่า สะ-มา-ดิ๊)

German-Thai: Longdo Dictionary
Indianer(n) |der, pl. Indianer| ชาวอินเดียนแดง, See also: die Indianerin/-nen
Image:

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top