\n';
// longdo login
longdo_account = new LongdoAccount();
longdo_account.initLongdoLogin();
$('a.logout-a').on('click', longdoLogout);
}
function getElementsByClassName(oElm, strTagName, strClassName){
var arrElements = (strTagName == "*" && document.all)? document.all : oElm.getElementsByTagName(strTagName);
var arrReturnElements = new Array();
strClassName = strClassName.replace(/\-/g, "\\-");
var oRegExp = new RegExp("(^|\\s)" + strClassName + "(\\s|$)");
var oElement;
for(var i=0; i');
$("#search").show();
$("#search").val(search_value);
setRandomSearchBoxName();
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
// $("#contents-showup").next().hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
$('input.translate-type:checked').val('popthai');
$('#textboxPlaceholder').html('');
$("#search").text(search_value);
setRandomSearchBoxName();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function doSubmit(obj) {
var form_obj = obj ? obj.form : document.getElementById("dict");
$(form_obj).attr("method", 'post');
var search_value = $("#search").val();
$("#search").attr('name', "search");
$("#search").hide();
$(".for-popthai").hide();
$(".read-bt, .read-bt-accent").removeClass('translate');
var inpType = $('input.translate-type:checked').val();
if (inpType == 'translate') {
$("#longdo-latest, #contents-showup").show();
$("#contents-showup-popthai").hide();
$("#logo-ads").removeClass('popthai-mode');
$("#search").show();
$(".read-bt, .read-bt-accent").addClass('translate');
if(search_value != "" && !obj) {
window.location = "/search/" + escape(encodeURIComponent(search_value.replace(/\n\r?/g, ' ')));
return false;
} else {
$('#textboxPlaceholder').html(' ');
setRandomSearchBoxName();
}
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
var searchinput = $('#search');
value = search_value;
$('#textboxPlaceholder').html('');
setRandomSearchBoxName();
searchinput = document.getElementById('search');
searchinput.value = value;
searchinput.focus();
searchinput.select();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function checkLan(search_value, isChange) {
var langSelect = $(".translate-language");
if(isChange) {
if(/[-ヿ]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('JP');
} else if(/[\u3400-\u9FBF]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('ZH');
}
$(".is-auto-language").val('true');
} else {
$(".is-auto-language").val('false');
}
$(".search-bt").prop('disabled', true);
}
function isUrl(url) {
var pattern = /^(https?:\/\/)?((([a-z\d]([a-z\d-]*[a-z\d])*)\.)+[a-z]{2,}|((\d{1,3}\.){3}\d{1,3}))(\:\d+)?(\/[-a-z\d%_.~+]*)*(\?[;&a-z\d%_.~+=-]*)?(\#[-a-z\d_]*)?$/i
if(!pattern.test(url)) {
return false;
} else {
return true;
}
};
// logout
function longdoLogout() {
if(longdo_account) {
longdo_account.clearUserSession();
window.location.reload()
}
}
// -->
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ สภานิติบัญญัติ (n) legislative assembly, See also: legislature , Example: เกษตรกรไม่เชื่อว่าร่างที่ผ่านสภานิติบัญญัติจะให้ประโยชน์สูงสุดแก่พวกเขา, Thai Definition: สภาซึ่งมีหน้าที่และบัญญัติเรื่องกฎหมายและพระราชบัญญัติ อำนาจนิติบัญญัติ (n) legislative power, Example: หลักการแยกหน้าที่กันระหว่างส.ส. ผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติออกจากรัฐมนตรีผู้ใช้อำนาจบริหารนั้น เป็นหลักการที่มีเหตุผลทางวิชาการ, Notes: (กฎหมาย)
นิติบัญญัติ น. กระบวนการในการตรากฎหมาย. กบฏ เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. กระทู้ถาม น. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ ตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ. การเปิดอภิปรายทั่วไป น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติ ใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. เขตเลือกตั้ง น. ท้องที่ที่กำหนดเป็นเขตสำหรับจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ หรือผู้บริหารท้องถิ่น. คาน ก. รองรับหรือเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งรองรับของหนักขึ้นไว้, ถ่วงนํ้าหนักกัน เช่น อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติ กับอำนาจของฝ่ายบริหารคานกัน, โดยปริยายหมายความว่า ค้านกัน ยังตกลงกันไม่ได้. เจ้าหน้าที่ของรัฐ น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ ด้วย. ญัตติ ข้อเสนอเพื่อให้มีการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในกิจการของสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติ ใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติ ในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ . ประชามติ มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติ แล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum) ผู้แทนราษฎร น. บุคคลที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ทำหน้าที่นิติบัญญัติ ในสภา, (ปาก) ผู้แทน. พระราชบัญญัติ น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติ . พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติ ในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. รัฐสภา (รัดถะสะพา, รัดสะพา) น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร. วุฒิสภา น. สภานิติบัญญัติ สภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. สภาผู้แทนราษฎร น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ ของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด.
Parliament, legislative supremacy of อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติ ของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] parliamentary committee คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] power, investigative อำนาจสืบสวน (ของสภานิติบัญญัติ ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] power, legislative อำนาจนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] privilege, breach of การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative power อำนาจนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative power อำนาจนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative supremacy อำนาจสูงสุดของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative veto การยับยั้งของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] Legislative, the ฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislator ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislature สภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislature สภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legistative supremacy of Parliament อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติ ของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative council คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative counsel ที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative court ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative court ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative day ๑. วันในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติ ๒. วันประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative function อำนาจหน้าที่ทางนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative immunity ความคุ้มกันฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative investigation การสืบสวนทางนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative jurisdiction เขตอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative act บทบัญญัติที่ออกโดยผ่านสภานิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] legislative blackmail การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative budget งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติ เสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] legislative council คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] recess ๑. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ )๒. การเลื่อนการนั่งพิจารณาคดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] recess ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] supremacy, legislative อำนาจสูงสุดของฝ่ายนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] standing committee คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา (นิติบัญญัติ ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] assembly government การปกครองโดยสภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] Assembly, National Legislative สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] quasi-legislative กึ่งนิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] quasi-legislative กึ่งนิติบัญญัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] budget, legislative งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติ เสนอ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] breach of privilege การละเมิดเอกสิทธิ์ (ของฝ่ายนิติบัญญัติ ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] blackmail, legislative การกรรโชกทางนิติบัญญัติ (ว่าจะออกกฎหมายบังคับ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] council, legislative คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] council, legislative คณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] Committee of Ways and Means คณะกรรมาธิการพิจารณาวิธีการจัดหารายได้ (ของสภานิติบัญญัติ ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] counsel, legislative ที่ปรึกษาฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] constitutional limitations ข้อจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ โดยรัฐธรรมนูญ (ในการออกกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] court, legislative ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] court, legislative ศาลฝ่ายนิติบัญญัติ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] day, legislative ๑. วันในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติ ๒. วันประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] diet สภานิติบัญญัติ (บางประเทศ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] government, assembly การปกครองโดยสภานิติบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] impoundment การไม่ใช้งบประมาณที่ฝ่ายนิติบัญญัติ กำหนดให้ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] impeachment การฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่ง (โดยสภานิติบัญญัติ ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Legislative bodies องค์กรนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] Legislative power อำนาจนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] Parliamentary practice กฎและระเบียบปฏิบัติทางการนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] Foreign Policy นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] Heads of State ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติ ได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต]
อำนาจนิติบัญญัติ [amnāt nitibanyat] (n, exp) EN: legislative power FR: pouvoir législatif [ m ] นิติบัญญัติ [nitibanyat] (n) EN: legislation ; statute FR: législation [ f ] นิติบัญญัติ [nitibanyat] (adj) EN: legislative FR: législatif สภานิติบัญญัติ [saphānitibanyat] (n, exp) EN: legislative assembly ; legislature สภานิติบัญญัติ [saphā nitibanyat] (n, exp) EN: legislative assembly FR: assemblée législative [ f ]
legislative (adj) เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ legislator (n) สมาชิกของสภานิติบัญญัติ lobby (n) กลุ่มผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ
assize (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ , ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า capitol (แคพ'พิทอล) n. อาคารรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา, อาคารนิติบัญญัติ ของรัฐ, ศาลากลาง congress (คอง'เกรส) { congressed, congressing, congresses } n. รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ , การชุมนุม, การสังวาส. vi. รวมกลุ่ม, ชุมนุม, See also: congressional adj. ดูcongress congressionalist n. ดูcongress, Syn. council, assembly, concourse council (เคา'เซิล) n. สภา, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ , กลุ่มคณะที่ปรึกษา, การประชุม, องค์กรร่วม, คณะมนตรี -Conf. counsel cutcherry n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ cutchery n. สถาบันบริหารการปกครอง, สภานิติบัญญัติ diet (ได'เอท) n. อาหาร, อาหารพิเศษ, สภานิติบัญญัติ vt. ควบคุมอาหาร, See also: dieter n. dietary adj. gemot (กะโมท') n. สภานิติบัญญัติ gemote (กะโมท') n. สภานิติบัญญัติ general assembly n. สมัชชาใหญ่ของสหประชาชาติ, สภานิติบัญญัติ lawmaker (ลอ'เมเคอะ) n. ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ ., See also: lawmaking n., adj. การ บัญญัติกฎหมาย, Syn. legislator legislation (เลจจิสเล'เชิน) n. การบัญญัติกฎหมาย, นิติบัญญัติ , กฎหมาย legislative (เลจ'จิสเลทิฟว) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ . n. สภานิติบัญญัติ ., Syn. constitutional legislator (เลจ'จิสเลเทอะ) n. ผู้บัญญัติกฎหมาย, สมาชิกสภานิติบัญญัติ , See also: legislatorship n. ดูlegislator legislatorial (เลจจิสละทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับสมาชิกหรือสภานิติบัญญัติ , นิตินัย legislature (เลจ'จิสเลเชอะ) n. สภานิติบัญญัติ , หน่วยนิติกรของรัฐบาล, Syn. congress lobby (ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ . vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติ สนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่ง, See also: lobbyer n. ดูlobb order (ออร์'เดอะ) n. คำสั่ง, ใบสั่ง, ตั๋วแลกเงิน, ธนาณัติ, หนังสือมอบอำนาจ, ระดับ, ลำดับ, ขั้น, นิกาย, คณะสงฆ์, อนุกรม, ชนิด, แบบแผน, ระเบียบ, สมณศักดิ์, เครื่องอิสริยาภรณ์, การลงมติในที่ประชุมนิติบัญญัติ . -Phr. (in order เหมาะสม, เป็นระเบียบ) -Phr. (in order that เพื่อว่า) vt.ออกคำสั่ง, สั่งซื้อ, ทำให้เป็นระเบียบ, บรรพชา, แต่งตั้งให้เป็นพระ speaker (สพี'เคอะ) n. ผู้พูด, ผู้บรรยาย, ประธานสภานิติบัญญัติ , เครื่องขยายเสียง, หนังสือฝึกพูด., See also: speakership n., Syn. lecturer, orator supreme council n. สภานิติบัญญัติ ของโซเวียตสมัยก่อน supreme soviet n. สภานิติบัญญัติ ของโซเวียตสมัยก่อน
congress (n) ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ , สภาคองเกรส congressional (adj) ซึ่งเกี่ยวกับรัฐสภา, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ council (n) สภา, คณะมนตรี, สภาองคมนตรี, คณะกรรมการ, กลุ่มคณะนิติบัญญัติ diet (n) อาหาร, อาหารพิเศษ, โภชนาการ, สภานิติบัญญัติ legislation (n) นิติบัญญัติ , การออกกฎหมาย, การบัญญัติกฎหมาย legislative (adj) ในทางนิติบัญญัติ , เกี่ยวกับกฎหมาย legislator (n) สมาชิกสภานิติบัญญัติ , ผู้ออกกฎหมาย, ผู้แทนราษฎร, ผู้บัญญัติกฎหมาย legislature (n) สภานิติบัญญัติ , รัฐสภา parliament (n) รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ
National Diet (org) สภานิติบัญญัติ แห่งชาติของประเทศญี่ปุ่น nla (abbrev, name, org) สนช. ย่อมาจากคำว่า สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ เกิดขึ้นจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร(19 กันยายน 2548)โดยภาษาอังกฤษคำเต็มคือ National Legislative Assembly
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions
บริการ ติดโพย (PopThai)
เป็นบริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ โดยผู้ใช้สามารถป้อนข้อความ ทีละประโยค หรือ เป็นหน้าเลยก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทีละคำสองคำ
ระบบจะทำการแนบความหมายของคำหรือวลีภาษาต่างประเทศ
(ปัจจุบันสนับสนุน ภาษาอังกฤษ, ญี่ปุ่นและเยอรมัน )
ติดกับเนื้อหานั้นๆ และจะแสดงผลความหมายเมื่อเอาเมาส์ไปวางเหนือคำหนึ่งๆ
ช่วยให้สามารถเข้าใจเนื้อหาของเวบภาษาต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ความหมายของคำจะปรากฏขึ้นมาเมื่อท่านเอาเมาส์ไปวางบนคำหรือวลีที่มีอยู่ในพจนานุกรม
โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มใดๆ
ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างนี้
คุณสมบัติ / Features
แสดงความหมายของคำโดยอัตโนมัติ เพียงวางเมาส์ไว้บนคำที่ต้องการทราบความหมาย
สนับสนุนเวบหลากภาษา (ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น และเยอรมัน)
ค้นหาความหมายจากพจนานุกรมหลายชุดพร้อมๆกัน ในฐานข้อมูลของ Longdo ได้แก่
Lexitron2, Hope, Nontri, Longdo อังกฤษ-ไทย, Longdo เยอรมัน-ไทย เป็นต้น
แสดงได้ทั้งความหมายของคำเดี่ยว และคำผสม ได้อย่างถูกต้อง
เช่น Secretary of State=รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ (ในภาพตัวอย่าง),
High school=โรงเรียนมัธยมปลาย
แสดงความหมายของคำที่แปรรูปจากคำในพจนานุกรมได้ เช่น
เมื่อวางเมาส์ไว้บนคำว่า executed/abusing ซึ่งไม่มีในพจนานุกรม
เครื่องจะแสดงความหมายของคำว่า execute/abuse ให้โดยอัตโนมัติ
เรียกใช้งานได้ง่ายเพียงกดปุ่ม PopThai บน
Longdo Toolbar
เพื่อแนบความหมายหน้าจอที่เปิดชมอยู่ในขณะนั้น
แก้ไข Link ในหน้าที่แสดง เพื่อให้สามารถเปิดชม Link เหล่านั้นผ่านบริการ PopThai
ได้ทันทีเช่นเดียวกัน
สนับสนุนบราวเซอร์ชั้นนำทั่วไป เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Safari, Konqueror, etc.
แสดง Link ให้ผู้ใช้ช่วยป้อนความหมายสำหรับคำที่ยังไม่มีอยู่ในพจนานุกรม
ใหม่: บริการ Vocabulary แสดงสรุปรายการคำศัพท์พร้อมความหมาย สำหรับพิมพ์ออกมาอ่านได้สะดวก
วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Vocabulary แทน PopThai. (PopThai ในโหมดปกติ จะเหมาะกับการใช้งาน on-line
หน้าจอคอมพิวเตอร็ ส่วนบริการ Vocabulary เหมาะสำหรับท่านที่ต้องการพิมพ์รายการคำศัพท์และความหมายออกมาบนกระดาษไว้อ่าน off-line)
ใหม่: บริการ Pronunciation Guide แสดงคำอ่านของคำใน เว็บ หรือ text ที่ป้อนให้ ข้างบนคำนั้นๆ, นอกเหนือไป
จากการแสดง pop-up ความหมาย. วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Pronunciation.
ขณะนี้ใช้ได้กับภาษาอังกฤษ (แสดงคำอ่านภาษาอังกฤษ) และภาษาญี่ปุ่น (แสดง hiragana เหนือคันจิ). บริการนี้
ใช้ extension ของ browser ที่ชื่อ Ruby ปัจจุบันมีแค่ IE browser ที่สนับสนุน ถ้าเป็น browser อื่นๆ จะเห็นคำอ่านปรากฎในวงเล็บแทน
วิธีใช้
ท่านสามารถป้อนเนื้อหาหรือ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการให้แนบความหมายนี้ ในช่องใส่ข้อความค้นหาปกติ
หลังจากนั้นเลือกบริการที่ต้องการ (เช่น ถ้าป้อนข้อความ ให้เลือก PopThai (text) ถ้าป้อน URL ให้เลือก PopThai (URL)) ถ้าท่านไม่เลือกบริการ
ระบบจะเดาบริการที่ท่านต้องการ จากข้อความที่ท่านใส่เข้ามา (ว่าเป็นข้อความหรือเป็น URL) โดยอัตโนมัติ,
จากนั้นกด Submit เป็นอันเสร็จ
ในกรณีที่ท่านใส่ URL ระบบจะไปทำการดาวน์โหลดเนื้อหาของหน้านั้นๆ มาและแนบความหมาย พร้อมแก้ไขลิงค์ต่างๆ ให้เป็นผ่านบริการ PopThai เ
พื่อที่ว่าเมื่อท่านกดที่ลิงค์ใดๆ ต่อไปจากเพจนั้นๆ ก็จะมีการแนบความหมายมาให้ด้วยในทันที
เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้ท่านสามารถใช้ PopThai ผ่าน Longdo Toolbar โดยเมื่อท่านเปิดดูเว็บไซต์ใดๆ อยู่ตามปกติ และต้องการใช้บริการ PopThai สำหรับ
หน้านั้นๆ สามารถทำได้ทันที โดยคลิกที่ปุ่ม PopThai บน Toolbar รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดอ่านที่ Longdo Toolbar
คำเตือน ในกรณีของ URL นี้ ถึงแม้ทางผู้ดูแลระบบลองดูจะได้ทำการทดสอบกับหลายเว็บไซต์
แล้วก็ตาม ยังมีบางเว็บไซต์ที่ข้อมูลเวลาที่ระบบไปโหลดมาจะแตกต่างจากที่ท่านเปิดดูโดยใช้ browser โดยตรง โปรดระวังด้วย และไม่ควรใช้กับหน้าเว็บไซต์ที่
ต้องการความถูกต้องสูง)
Problems & TODO
inflected word support (German)
support HTTP POST
other foreign language support (Japanese, French)
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม