ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ฝรั่งเศส*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ฝรั่งเศส, -ฝรั่งเศส-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ฝรั่งเศส(n) France, Syn. ประเทศฝรั่งเศส, Example: สุเทพได้ทุนไปเรียนต่อที่ประเทศฝรั่งเศส, Count Unit: ประเทศ, Thai Definition: ประเทศตั้งอยู่ทิศตะวันตกภาคพื้นยุโรป
ขนมปังฝรั่งเศส(n) French loaf, See also: baguette, French stick

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ฝรั่งเศสน. ชาวยุโรป มีประเทศตั้งอยู่ทิศตะวันตกภาคพื้นยุโรป, ชื่อภาษาของชนชาตินั้น.
กรมท่ากลางน. ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ที่ตั้งขึ้นภายหลังกรมท่าซ้าย กรมท่าขวา ทำหน้าที่รวมงานการติดต่อกับชาติตะวันตกเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศ เช่น โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา.
ควีนสิริกิติ์ชื่อกุหลาบพันธุ์ <i> Rosa</i> ‘Queen Sirikit’ ในวงศ์ Rosaceae เป็นลูกผสม กำเนิดในฝรั่งเศส ดอกสีเหลืองสด ปลายและขอบกลีบสีแดงเรื่อ กลิ่นหอม.
ตัวพิมพ์น. ตัวอักษรที่หล่อด้วยตะกั่วใช้เรียงพิมพ์ มีหลายชนิด เช่น ตัวโป้ง ตัวฝรั่งเศส
ภาษามีวิภัตติปัจจัยน. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส.
เรื้อก. ขาดการฝึกฝนเสียนาน เช่น ไม่ได้พูดภาษาฝรั่งเศสมานานเลยเรื้อไป, ห่างไปนาน เช่น เรื้อเวที เรื้อสังเวียน.
วรรณกรรมน. งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน.
สัมพันธมิตรน. เรียกกลุ่มประเทศอันประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ที่รวมเป็นแกนร่วมรบกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
prefectureศาลากลางจังหวัด (ฝรั่งเศส) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Old French and Proven&ccedil;al formบทร้อยกรองแบบฝรั่งเศสเก่าและแบบ โปรวองซาล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ayant cause (Fr.)บุคคลผู้มีสิทธิ์, บุคคลผู้มีส่วนได้เสีย (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
affouage (Fr.)สิทธิที่จะนำไม้จากป่ามาทำฟืน (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
&agrave; terme (Fr.)ชั่วกำหนดเวลา (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
&agrave; terme de sa vie (Fr.)ชั่วชีวิต (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
&agrave; tort (Fr.)โดยมิชอบ, โดยไม่มีเหตุผล (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Bourse (Fr.)ตลาดหลักทรัพย์ฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ballotage (Fr.)การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งหลายรอบ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Maginot Lineแนวป้องกันมาจิโนต์ (เส้นกำหนดอาณาเขตของฝรั่งเศส) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
chemier (Fr.)บุตรหัวปี (ก. เก่าฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
corv&eacute;e (Fr.)แรงงานเกณฑ์ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cassation (Fr.)การยกคำพิพากษา, การกลับคำพิพากษา (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Cassation, Cour de (Fr.); Cour de Cassation (Fr.)ศาลยุติธรรมสูงสุดฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
carence (Fr.)๑. การที่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์ให้ยึด (ก. แพ่งฝรั่งเศส)๒. การละเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ (ก. ปกครองฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cargainson (Fr.); cargoสินค้าที่บรรทุกเรือ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cadastre (Fr.)แผนที่แสดงเขตที่ดินที่มีผู้ครอบครอง (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
captation (Fr.)การหลอกลวงให้ผู้อื่นยกทรัพย์สินให้ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Cour de Cassation (Fr.); Cassation, Cour de (Fr.)ศาลยุติธรรมสูงสุดฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Cour de Prise (Fr.)ศาลทรัพย์เชลย (ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Code Napoleonประมวลกฎหมายนโปเลียน (ป. แพ่งฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
carte (Fr.)แผนที่, แผนที่เดินเรือ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
chauvinismลัทธิคลั่งชาติ (ฝรั่งเศส) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
communeหน่วยการปกครองท้องถิ่น (ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
contravention๑. การฝ่าฝืนกฎข้อบังคับ๒. ความผิดลหุโทษ (ก. ฝรั่งเศส) [ ดู minor offence และ petty offence ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cargo; cargainson (Fr.)สินค้าที่บรรทุกเรือ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cabalist (Fr.)นายหน้า (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Chef de l'Etat (Fr.)ประมุขแห่งรัฐ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
chauss&eacute;e (Fr.)ถนน (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
concordat (Fr.)๑. ข้อตกลงประนอมหนี้ (ระหว่างลูกหนี้กับเจ้าหนี้) (ก. ฝรั่งเศส)๒. ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาล (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Conseil d'Etat (Fr.)ศาลปกครองสูงสุดฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Conseil de prud' hommes (Fr.)ศาลแรงงานฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cas fortuit (Fr.)เหตุสุดวิสัย (ก. ฝรั่งเศส) [ ดู act of God, casus fortuitus, force majeure และ vis major ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
d&eacute;partement (Fr.)จังหวัด (ฝรั่งเศส) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
guillotine๑. วิธีการจำกัดเวลาอภิปรายร่างกฎหมาย (ของสภาสามัญอังกฤษ)๒. เครื่องประหารชีวิต (ของฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
gabelleอากรสรรพสามิต (ก. เก่าฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
French windowหน้าต่างฝรั่งเศส [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
noveletteเรื่องสั้น [ ฝรั่งเศส ], นวนิยายขนาดสั้น [ อังกฤษ ] [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Architecture, Frenchสถาปัตยกรรมฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Art, Frenchศิลปะฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Art, French-Canadianศิลปะแคนาดา-ฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Arts, Frenchศิลปกรรมฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Authors, Frenchนักประพันธ์ฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Commercial correspondence, Frenchจดหมายธุรกิจฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Fantasy fiction, Frenchนวนิยายแฟนตาซีฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Franceฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French dramaบทละครฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French fictionนวนิยายฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French imprintsบรรณานุกรมภาษาฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French languageภาษาฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French literatureวรรณกรรมฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French poetryกวีนิพนธ์ฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
French-Canadian literatureวรรณกรรมฝรั่งเศส-แคนาดา [TU Subject Heading]
Novelists, Frenchนักประพันธ์นวนิยายฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Painting, Frenchจิตรกรรมฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Paris (France)ปารีส (ฝรั่งเศส) [TU Subject Heading]
Philosophy, Frenchปรัชญาฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Proverbs, Frenchสุภาษิตและคำพังเพยฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Short stories, Frenchเรื่องสั้นฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Technical assistance, Frenchความช่วยเหลือทางเทคนิคของฝรั่งเศส [TU Subject Heading]
Accessionการภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต]
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategyยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต]
Asia Europe Meetingการประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต]
Bangkok Processเป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต]
Bureau de Cooperation pour le Francaisสำนักงานความร่วมมือด้านภาษาฝรั่งเศส ปัจจุบันมีความร่วมมือระหว่างรัฐบาลฝรั่งเศสกับรัฐบาล ไทยเพื่อดำเนินโครงการ BCF โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และอุดมศึกษา โดยรัฐบาลฝรั่งเศสให้ความร่วมมือด้านผู้เชี่ยวชาญ ทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรม เป็นต้น [การทูต]
concert of nationsความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต]
Congress of Viennaเป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต]
Diplomatic Languageภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต]
Diplomatic Pouchถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต]
Diplomatist หรือ Diplomatใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต]
European Unionสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต]
Francophonie (International Organization of the Francophony)องค์การระหว่างประเทศกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษา ฝรั่งเศส ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2513 ที่เมือง Niamey ประเทศ Niger เพื่อเป็นเวทีความร่วมมือระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสานนโยบายความร่วมมือต่าง ๆ เน้นการส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรมโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นสื่อกลาง และส่งเสริมความร่วมมือพหุพาคีเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจุบันมีสมาชิก 53 ประเทศ (เบลเยียม บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก มอลโดวา โมนาโก โรมาเนีย สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดา โดมินิกา เฮติ เซนต์ลูเซีย เบนิน บูร์กินาฟาโซ บุรุนดี แคเมอรูน เคปเวิร์ด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ชาด คอโมโรส สาธารณรัฐคองโก โกตดิวัวร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก จิบูตี อียิปต์ อิเควทอเรียลกินี กาบอง กินี กินีบิสเซา มาดากัสการ์ มาลี มอริเตเนีย มอริเซียส โมร็อกโก ไนเจอร์ รวันดา เซาตูเมและปรินซิปี เซเนกัล เชเชลส์ โตโก ตูนีเซีย กัมพูชา ลาว เลบานอน เวียดนาม วานูอาตู แอลเบเนีย มาซิโดเนีย สาธารณรัฐเช็ก ลิทัวเนีย สาธารณรัฐสโลวัก สาธารณรัฐโลวีเนีย และโปแลนด์) และ 3 มลรัฐ [ แคนาดา-นิวบรันสวิก แคนาดา- ควิเบก และชุมชนฝรั่งเศสในเบลเยียม (French Community in Belgium) ] [การทูต]
Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-Chinaการประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต]
Great Powersประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต]
Hugo Grotius (1583-1645)บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต]
International Atomic Energy Agencyสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต]
International Conferencesคือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต]
International Telecommunica-tion Unionสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต]
Madagascar Action Planแผนปฏิบัติการมาดากัสการ์ เป็นแผนพัฒนาประเทศมาดากัสการ์ที่เป็นรูปธรรมฉบับแรก นับตั้งแต่มาดากัสการ์ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2503 รัฐบาลมาดากัสการ์ ได้รับงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ (ประมาณ 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) มาจากแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ เป้าหมายหลักของ MAP ได้แก่ การพัฒนาระบบคมนาคม การพัฒนาชนบท การปรับปรุงระบบสาธารณสุข และการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ [การทูต]
North Atlanitc Treaty Organizationองค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต]
North Atlantic Treaty Organisationองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2492 เป็นองค์การร่วมมือทางการทหาร มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 19 ประเทศคือ เบลเยี่ยม แคนาดา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส สเปน ตุรกี สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา [การทูต]
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralismคำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต]
Organization of European Economic Cooperationคือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต]
Pacific Charterคือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต]
Pacific Islands ForumPIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต]
Political Appointeeหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต]
R.S.V.P.โปรดตอบให้ผู้เชิญทราบด้วยว่าผู้ได้รับเชิญจะไป ร่วมงานหรือไม่ เป็นคำย่อมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ว่า Répondez s'il vous plaît ซึ่งระบุในบัตรเชิญเข้าร่วมงานต่าง ๆ แปลว่า โปรดตอบให้ผู้เชิญทราบด้วยว่าผู้ได้รับเชิญจะไปร่วมงานหรือไม่ [การทูต]
Schengen Statesกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศที่ยอมรับกันให้ประชาชนของแต่ละประเทศ สามารถเดินทางไปมาถึงกันและเข้าเมืองได้โดยไม่มีการตรวจลงตราหรือมีการควบ คุมใดๆ ระหว่างกัน และสำหรับประชาชนจากประเทศที่สาม หากได้รับอนุญาตให้เดินทางไปประเทศหนึ่งประเทศใดในกลุ่มประเทศนี้แล้ว จะสามารถเดินทางต่อไปประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนี้ได้โดยไม่มีการควบคุม สมาชิกประกอบด้วย เบลเยี่ยม เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย โปรตุเกส สวิตเซอร์แลนด์ และสเปน [การทูต]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
French.ฝรั่งเศส Goodfellas (1990)
He picked her up in the South of France, didn't he?- ก็เขาไปคว้าหล่อนมาจากตอนใต้ของฝรั่งเศสไม่ใช่รึ Rebecca (1940)
At the battle of Trafalgar, one of the French captains had both legs blown off.หนึ่งในแม่ทัพฝรั่งเศส ขาทั้งสองข้างได้เป่าออก แต่ตัวเขาเองใส่ในถังของรำ How I Won the War (1967)
Read my latest, an official version of the French Revolution.นี่ อ่านเล่มล่าสุดของฉัน เวอร์ชั่นที่เป็น ทางการของการปฏิวัติฝรั่งเศส The Little Prince (1974)
Mainly French cuisine.โดยส่วนใหญ่เป็นอาหารฝรั่งเศส The Blues Brothers (1980)
He's a French archaeologist.เป็นนักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
In the centre, the Frenchman had a crystal, and surrounding the crystal on one side were raised markings, like that one.ตรงกลาง, ของคนฝรั่งเศสมีคริสตัล, และรอบๆคริสตัลด้านหนึ่งมีสัญลักษณ์ ขึ้นมาเหมือนอันนี้ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
Generals' reputations are being made in France today fighting on the Western front.นายพลดังที่ฝรั่งเศสแล้ววันนี้ เพราะรบในชายแดนตะวันตก Gandhi (1982)
Once there were on a plane an Englishman, a Bulgarian, a Frenchman and a Serbian.เมื่อมีอยู่บนเครื่องบินอังกฤษ, บัลแกเรีย, ฝรั่งเศสและเซอร์เบีย Idemo dalje (1982)
On a plane were a Frenchman, an American, a Bulgarian and a Serbian...บนเครื่องบินเป็นชาวฝรั่งเศส, ชาวอเมริกัน, บัลแกเรียและเซอร์เบีย... Idemo dalje (1982)
We turned him over to French authorities, who were jolly pleased to have him back.เราหันเขาไปยังเจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสที่มี ความยินดีที่ครึกครื้นที่จะมีเขากลับมา Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984)
I think English is so much prettier when spoken with a French accent, don't you?ฉันคิดว่าภาษาอังกฤษเป็นน่ารักมาก เมื่อพูดด้วยสำเนียงฝรั่งเศส, คุณไม่? Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984)
Hey, how do you know a Frenchman's been in your backyard?เฮ้ นายจะรู้ได้ไง ถ้ามีคนฝรั่งเศส อยู่หลังบ้านนาย Stand by Me (1986)
I'm French, okay.ฉันเป็นคนฝรั่งเศสนะ โอเค Stand by Me (1986)
Didn't I just say I was French?ฉันไม่ได้บอกเหรอว่าฉันเป็นคนฝรั่งเศส Stand by Me (1986)
Then English, French, Italian.แล้วอังกฤษ, ฝรั่งเศส, อีตาเลี่ยน A Short Film About Love (1988)
I love traveling, because when you travel you see a lot of history. I went to France.ผมชอบเดินทาง เพราะวิชา ประวัติศาสตร์ ผมเคยไปฝรั่งเศส Punchline (1988)
You have to know the language there, otherwise they don't like you.คุณต้องพูดฝรั่งเศสได้ ไม่งั้นเขาจะเกลียดคุณ Punchline (1988)
So I bought these tapes, where you learn while you sleep.ผมซื้อเทปเรียนฝรั่งเศส เรียนขณะที่คุณหลับ Punchline (1988)
I didn't know this until I got there. I get off the plane, someone goes, "Parlez-vous francais?"ผมไปถึงมีคนถามผมว่า คุณพูดฝรั่งเศสได้หรือเปล่า Punchline (1988)
He was born in North Dakota in 1896 ... and never saw a big city until he came back from France in 1918.เขาเกิดที่ นอร์ธ ดาโกต้าในปี 1896 ไม่เคยเห็นเมืองกรุงจนกระทั่ง เขากลับมาจากฝรั่งเศสในปี 1918 Field of Dreams (1989)
Two of these brothers walked out of the desert 150 years after having found the Grail and began the long journey back to France, but only one of them made it.2 ใน 3 พี่น้อง เดินออกจากทะเลทราย 150 ปี หลังจากที่พวกเขาได้คันพบจอกศักดิ์สิทธิ์ และเริ่มเดินทางระยะยาวกลับไปที่ฝรั่งเศส Indiana Jones and the Last Crusade (1989)
Big score coming from Air France. Bags of money coming in.มีเงินล็อตใหญ่จากเที่ยวบินฝรั่งเศส กระเป๋าเงินกำลังมา Goodfellas (1990)
Tourists and American servicemen change their money... into French money and send it back here.นักท่องเที่ยวและบริกรอเมริกัน แลกเปลี่ยนเงิน เป็นสกุลฝรั่งเศสและส่งกลับมาที่นี่ Goodfellas (1990)
They got us coloreds, the French, the Spanish.พวกนั้นเรียกว่า เล่นแบบพวกสีผิว แบบฝรั่งเศส แบบสเปน The Young Indiana Jones Chronicles (1992)
- CJ was in Marbache, France.- ซีเจ ประจำที่มาร์บาซ ในฝรั่งเศส The Young Indiana Jones Chronicles (1992)
- The rats in France could take over the world.- หนูในฝรั่งเศส เยอะจนครองโลกได้เลย The Young Indiana Jones Chronicles (1992)
A Bordeaux. Chateau Latour, '28, '29 ?บอร์โดช์ฝรั่งเศส... Schindler's List (1993)
Where'd you go, to France to get the car or somethin'?หายไปไหนมา ไปรับรถที่ฝรั่งเศสรึไง Junior (1994)
[ Imitating French Accent ] Le Big Mac. [ Laughs ][ เลียนแบบสำเนียงฝรั่งเศส ] เลอบิ๊กแม็ค [ หัวเราะ ] Pulp Fiction (1994)
You know what they call a Quarter-Pounder with Cheese in France?คุณรู้ว่าสิ่งที่พวกเขาเรียกไตรมาสที่ตำกับชีสในประเทศฝรั่งเศส? Pulp Fiction (1994)
French fox's speciality was sex.พิเศษสุนัขจิ้งจอกของฝรั่งเศสเป็นเรื่องเพศ Pulp Fiction (1994)
You compare the bourgeoisie Rimbaud hated to French citizens of today who are... indifferent to the French in Algeria, fighting to defend their land, blood and dignity.เธอเปรียบเทียบชนชั้นกลาง แรงโบด์เกลียด พลเมืองฝรั่งเศสในปัจจุบัน ผู้... "ไม่แยแส Wild Reeds (1994)
The French may be bourgeois, ชาติฝรั่งเศสอาจหมายถึงชนชั้นกลาง Wild Reeds (1994)
French Algerians may feel divided, but do the Algerians exist for you?ชาวฝรั่งเศสที่เกิดในแอลจีเรียอาจไม่เห็นพ้องให้คืนประเทศ แต่ชาวแอลจีเรียที่เหลือล่ะ? Wild Reeds (1994)
French is the opposite. It balances out.ตรงข้ามกับภาษาฝรั่งเศสเลย Wild Reeds (1994)
Rioters fired at French police, who shot back, ผู้ก่อจลาจลยิงตำรวจฝรั่งเศส ผู้ยิงโต้ตอบ Wild Reeds (1994)
That's why I did it. Their French is bad.ที่ฉันทำข้อสอบภาษาฝรั่งเศสได้ ภาษาฝรั่งเศสของพ่อกับแม่แย่ Wild Reeds (1994)
In Algiers, though, the French ambassador has just arrived, and the situation seems to be more stable.ในกรุงแอลเจียร์ แม้ว่า เอกอัครราชทูตฝรั่งเศส มีความต้องการมาถึง และสถานการณ์ดูเหมือน จะมีเสถียรภาพมากขึ้น Wild Reeds (1994)
I got sent to France.ฉันถูกส่งมาฝรั่งเศส Wild Reeds (1994)
They wait to get on boats or planes, with destination France.รอขึ้นเรือหรือเครื่องบิน: จุดหมายไปยังฝรั่งเศส Wild Reeds (1994)
You don't care?ราอูล ซาลาน นายพลฝรั่งเศสและผู้นำ O.A.S. คุณไม่สนเหรอ? Wild Reeds (1994)
I don't trust French Algerians.ฉันไม่ไว้ใจพวก ชาวฝรั่งเศสที่เกิดในแอลจีเรีย Wild Reeds (1994)
Wouldn't that be nice if all the wicked men were on the battlefields of France?คงจะดีไม่น้อย ถ้าคนร้าย ๆ ทั้งหมดจะอยู่ ในสนามรบที่ฝรั่งเศส The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
Well, those that aren't in France are down the mines.พวกที่ไม่ได้ไปฝรั่งเศสก็อยู่กันที่เหมือง The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
In France...ในฝรั่งเศส The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
In France, we dug trenches 10 miles long.ในฝรั่งเศส เราขุดคูยาวเป็นสิบไมล์ The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
How come you aren't in France? Well, I was.ทำไม คุณไม่ไปฝรั่งเศส The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
Let us say not farewell, but as the French have it: Au revoir!เราอย่าพูดว่าลาก่อนเลยครับ แต่พูดแบบพวกฝรั่งเศสว่า แล้วพบกันใหม่ Episode #1.6 (1995)
It's Cole d'isle au Man, or Cole of the Isle of Man in France... where Armand's chateau is...มันโคล d'เกาะ au ชายหรือโคลเกาะของมนุษย์ในประเทศฝรั่งเศส ... ที่ปราสาทอาร์มันด์เป็น ... The Birdcage (1996)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อาหารฝรั่งเศส[āhān Farangsēt] (n, exp) EN: French food ; French cuisine  FR: cuisine française [ f ] ; nourriture française [ f ]
ชายชาวฝรั่งเศส[chāichāo Farangsēt] (n, prop) EN: Frenchman  FR: Français [ m ]
ชาวฝรั่งเศส[Chāo Farangsēt] (n, prop) FR: Français [ m ] ; Française [ f ] ; ressortissant français [ m ] ; citoyen français [ m ]
ดาวเรืองฝรั่งเศส[dāoreūang Farangsēt] (n, exp) EN: French marigold
ฝรั่งเศส[Farangsēt] (adj) EN: French  FR: français
ฝรั่งเศส[Farangsēt] (n, prop) EN: France  FR: France [ f ]
อินโดจีน ฝรั่งเศส[Indōjīn Farangsēt] (n, prop) EN: French Indochina
การปฏิวัติฝรั่งเศส[Kān Patiwat Farangsēt] (n, prop) FR: Révolution française [ f ]
คำยืมภาษาฝรั่งเศส[kham yeūm phāsā Farangsēt] (n, exp) FR: emprunts au français [ mpl ]
ขนมปังฝรั่งเศส[khanompang Farangsēt] (n, prop) EN: French loaf ; baguette ; French stick  FR: baguette [ f ]
ครูสอนภาษาฝรั่งเศส[khrū søn phāsā Farangsēt] (n, exp) EN: French teacher  FR: professeur de français [ m ]
ความเป็นฝรั่งเศส[khwām pen Farangsēt] (n, exp) EN: Frenchness  FR: francitude [ f ]
นักคิดฝรั่งเศส[nakkhit Chāo Farangsēt] (n, exp) FR: penseur français [ m ]
ภาษาฝรั่งเศส[phāsā Farangsēt] (n, exp) EN: French ; French language  FR: français [ m ] ; langue française [ f ]
ประเทศฝรั่งเศส[Prathēt Farangsēt] (n, prop) EN: France  FR: France [ f ]
ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่[Prathēt Farangsēt phaendin yai] (n, prop) EN: metropolitan France  FR: France métropolitaine ; la Métropole ; l'Hexagone
สถานทูตฝรั่งเศส[Sathānthūt Farangsēt] (n, prop) EN: Embassy of France  FR: Ambassade de France [ f ]
สถานทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย[Sathānthūt Farangsēt Prajam Prathēt Thai] (n, prop) EN: Embassy of France in Thailand  FR: Ambassade de France en Thaïlande [ f ]
สาธารณรัฐฝรั่งเศส[Sāthāranarat Farangsēt] (n, prop) EN: French Republic   FR: République française [ f ]
สงครามฝรั่งเศส-ไทย[Songkhrām Farangsēt-Thai] (n, prop) EN: French-Thai War
ฝรั่งเศส[thīm chāt Farangsēt] (n, exp) FR: équipe de France [ f ]
วรรณคดีฝรั่งเศส[wannakhadī Farangsēt] (n, exp) EN: French Literature  FR: littérature française [ f ]
หญิงชาวฝรั่งเศส[yingchāo Farangsēt] (n, prop) FR: Française [ f ]

English-Thai: Longdo Dictionary
à la carte(n, adj, adv) |มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน
a la carteดู à la carte (ภาษาฝรั่งเศส), Syn. à la carte
RSVPกรุณาตอบกลับมา (เป็นคำย่อที่นำมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ว่า repondez s'il vous plait ซึ่งถูกนำมาใช้มากในภาษาอังกฤษ) เช่น Please RSVP in the comments of this entry., You must RSVP after the start of registration and prior to 2:30 PM.
concierge(n) |ที่มา:ภาษาฝรั่งเศส| พนักงานต้อนรับในโรงแรมที่พูดได้หลายภาษา ทำหน้าที่หิ้วกระเป๋าและเปิดประตู
déjà vu[เด จา วู] (n) |ที่มา:ภาษาฝรั่งเศส| ภาพหรือเหตุการณ์ที่รู้สึกว่าเคยเห็นหรือประสบมาก่อน
Mardi Gras(n) |มาจากภาษาฝรั่งเศส| วันอังคารก่อนวัน Ash Wednesday, วันฉลองก่อนวันถือบวชในศาสนาคริสต์ (หรือเรียกว่า Shrove Tuesday), วันสุดท้ายของเทศกาลคาร์นิวาลในอเมริกา โดยเฉพาะที่เมือง New Orleans, Syn. Fat Tuesday
curfew(n) ในยุโรปสมัยกลางบ้านเรือนทำมาจากท่อนซุง ตรงพื้นกลางบ้านมักจะขุดเป็นหลุมเพื่อเอาไว้ใช้เป็นเตา เพราะกลัวไฟไหม้ ตอนดึกๆ จึงต้องมียามเดินไปให้สัญญาว่าได้เวลานอนแล้ว ขอให้กลบไฟซะให้เรียบร้อยด้วย ซึ่งภาษาฝรั่งเศสว่า cuevre-feu แปลเป็นอังกฤษว่า to cover the fire เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมแห่งฝรั่งเศสตีอังกฤษได้ ก็เอามาใช้ในอังกฤษ ให้ทุกบ้านดับไฟและห้ามออกจากบ้าน Curfew ก็จึงพัฒนามาเป็นคำที่หมายถึง มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากำหนด
Viennoiserie(n) ขนมอบ ประเภทที่ใช้แป้งที่มียีสต์คล้ายกับขนมปัง แต่มีการใส่ส่วนประกอบเพิ่มเติมเช่น ไข่ เนย นม ครีม น้ำตาล เข้าไป ทำให้ได้ออกมาเป็นขนมที่ rich และมีรสหวาน โดยมากมักจะใช้แป้งที่ทำออกมาเป็นลักษณะเป็นชั้นๆ (laminated dough) ตัวอย่างขนมอบประเภทนี้ เช่น ครัวซอง (croissants), บริยอช (brioche), ขนมปังไส้ช็อกโกแลต (pain au chocolat) คำนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลตรงตัวคือ "things of Vienna" ของแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
aid-de-camp(n) นายทหารติดตาม (มาจากภาษาฝรั่งเศส), See also: นายทหารผู้ช่วย, Syn. aide, aide-de-camp
amour-propre(n) ความรักตัวเอง (ภาษาฝรั่งเศส), Syn. self-esteem
baguette(n) ก้อนขนมปังยาวๆ ของฝรั่งเศส, Syn. loaf
bouillabaisse(n) ซุปปลารสจัดของทางใต้ของฝรั่งเศส
bourbon(n) ราชวงศ์ของประเทศฝรั่งเศส, See also: ราชวงศ์บัวบัน
burgundy(n) ไวน์แดงหรือขาวจากฝรั่งเศส
canton(n) หน่วยการปกครองเล็กๆ หน่วยหนึ่ง (โดยเฉพาะในสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส)
cedilla(n) สัญลักษณ์ที่วางใต้ตัวอักษร C เพื่อแสดงว่าออกเสียงเหมือนเสียง S ไม่ใช่เสียง K (ในภาษาฝรั่งเศส)
champagne(n) แชมเปญ, See also: เหล้าองุ่นขาวชนิดหนึ่งมาจากบริเวณแชมเปญของประเทศฝรั่งเศส, Syn. bubbly, sparkling wine
Creole(n) ชาวหลุยเซียน่าซึ่งมีบรรพบุรุษเป็นชาวฝรั่งเศสที่อพยพมายังรัฐหลุยเซียน่า
entente cordiale(n) ความเข้าใจอันดีกันทางการเมืองระหว่างประเทศ (โดยเฉพาะข้อตกลงระหว่างฝรั่งเศสกับอังกฤษในปี ค.ศ.1904), Syn. concord, rapport, understanding
estaminet(n) ร้านขายกาแฟเล็กๆ (โดยเฉพาะในฝรั่งเศส), See also: ร้านขายเครื่องดื่มเล็กๆ โดยเฉพาะในฝรั่งเศส, ร้านขายอาหารเล็กๆ โดยเฉพาะในฝรั่งเศส
franc(n) เงินฟรังค์ของฝรั่งเศส
France(n) ประเทศฝรั่งเศส, See also: ฝรั่งเศส
French(n) ภาษาฝรั่งเศส
French(n) คนฝรั่งเศส
French(adj) เกี่ยวกับฝรั่งเศส
Frog(adj) ชาวฝรั่งเศส (คำแสลง), See also: เหมือนคนฝรั่งเศส
galliard(n) การเต้นรำชนิดหนึ่ง (ในฝรั่งเศสช่วงศตวรรษที่ 16 และ 17), See also: ดนตรีประกอบการเต้นรำ
Gallic(adj) เกี่ยวกับฝรั่งเศส, Syn. French
Gallicism(n) คำ วลี สำนวนในภาษาฝรั่งเศสที่รับมาจากภาษาอื่น
gavotte(n) การเต้นรำของคนฝรั่งเศสที่นิยมกันมากในช่วงคริสต์ศตวรรษ17, See also: ดนตรีประกอบการเต้นรำชนิดหนึ่งของคนฝรั่งเศส
gendarme(n) สารวัตรทหารในฝรั่งเศสหรือประเทศที่พูดภาษาฝรั่งเศส
grand prix(n) รางวัลสูงสุด (ภาษาฝรั่งเศส), See also: รางวัลอันยิ่งใหญ่
kepi(n) หมวกแก๊ปทหารของฝรั่งเศส
Marne(n) แม่น้ำในฝรั่งเศส
Marseilles(n) เมืองท่าทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส
marseilles(n) เพลงชาติฝรั่งเศส แต่งโดย Rouget de Lisle ในปี 1792
Marseilles(n) ผ้าฝ้ายหนามีต้นกำเนิดจากเมืองท่า Marseille ในประเทศฝรั่งเศส
mistral(n) ลมเหนือที่แห้งและหนาวเย็น, See also: พัดแถบชายฝั่งเมดิเตอร์เรเนียนของฝรั่งเศสและบริเวณใกล้เคียง
monsieur(n) นาย (มาจากภาษาฝรั่งเศส), See also: คำเรียกนำหน้าผู้ชายในฝรั่งเศส
Monsieur(n) นาย (มาจากภาษาฝรั่งเศส), See also: คำเรียกนำหน้าผู้ชายในฝรั่งเศส
Napoleon(n) นโปเลียนเป็นจักรพรรดิของฝรั่งเศส
napoleon(n) เหรียญเงินตราของประเทศฝรั่งเศส
Notre Dame(n) โบสถ์ในปารีส ประเทศฝรั่งเศส
Old French(n) ภาษาฝรั่งเศสในยุคแรก, See also: ภาษาฝรั่งเศสโบราณ
Orleanist(n) ผู้สนับสนุนราชวงศ์ออร์ลีนส์ของประเทศฝรั่งเศส (ช่วงปีค.ศ.1830-1848)
Orleans(n) ผู้อยู่ในราชวงศ์ออร์ลีนส์ของประเทศฝรั่งเศส
Paris(n) เมืองปารีส (ของฝรั่งเศส), See also: กรุงปารีส
Paris(n) ปารีส (ของฝรั่งเศส)
Pasteur(n) นักเคมีและจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศสช่วงปี ค.ศ.1822-1895
patois(n) ภาษาท้องถิ่น (โดยเฉพาะของฝรั่งเศส), Syn. dialect, lingo
Frog(sl) คนฝรั่งเศส
sabot(n) รองเท้าไม้, See also: ใช้สวมในสมัยก่อนของประเทศเบลเยียม ฝรั่งเศส เนอร์เธอแลนด์ และเยอรมัน, Syn. patten
sang-froid(n) (ภาษาฝรั่งเศส) ความใจเย็น, See also: ความสุขุม, ความสงบ, ความสงบเสงี่ยม, จิตที่มั่นคง, Syn. equanimity, composure, coolness
sauternes(n) เหล้าองุ่นขาวรสหวาน (ของฝรั่งเศส)
Sauternes(n) เหล้าองุ่นขาวรสหวาน (ของฝรั่งเศส)
seigneur(n) ผู้ครอบครองที่ดินในแคนาดาเขตที่เป็นของฝรั่งเศสจนถึงปีค.ศ.1854, See also: ขุนนาง, ขุนนางศักดินา, ขุนนางสมัยกลาง
seigneurial(adj) เกี่ยวกับที่ดินศักดินาในแคนาดาที่ได้รับจากกษัตริย์ฝรั่งเศส
seigneury(n) ที่ดินศักดินาในแคนาดาที่ได้รับจากกษัตริย์ฝรั่งเศส, See also: ตำแหน่งขุนนางศักดินาสมัยกลาง

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
academie francaise(ฝรั่งเศส) fr. Academy
acadia(อะเค' เดีย) n. ชื่ออาณานิคม (เมื่อก่อนของฝรั่งเศส (in SE Canada)
alsace(แอลเซส' , แอล' เซส) ชื่อบริเวณหนึ่งในฝรั่งเศส
alsace-lorraine(แอล' เซสลอรเรน') n. บริเวณหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส. -Alsace Lorrainer n.
ancien regime(อานุเซียน' เรจึม) fr. ระบบการเมืองและสังคมของฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติปี ค.ศ.1789 ระบอบเก่า
anglo- french(แอง' โกลเฟรนซฺ) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและฝรั่งเศส. -n. ภาษาฝรั่งเศสี่ใช้ในอังกฤษโดยชาวนอร์มันในปลายยุคกลาง., Syn. Anglo-Norman
anglo-norman(แอง' โกลนอร์' มัน) adj. เกี่ยวกับสมัย ค.ศ.1066-1155 เมื่ออังกฤษถูกปกครองโดยชาวนอร์มัน, เกี่ยวกับภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในอังกฤษในสมัยดังกล่าว. -n. คนหรือภาษาในสมัยดังกล่าว
arpent(อาร์'เพนทฺ) n. หน่วยพื้นที่โบราณของฝรั่งเศสที่เท่ากับหนึ่งเอเคอร์ (unit of area)
arrondissement(อะรอน'ดิสเมินทฺ) n., Fr. การบริหารส่วนท้องถิ่น, ท้องถิ่นการปกครอง (ในฝรั่งเศส)
bordeaux(บอร์โด') n. ชื่อเมืองในฝรั่งเศส, ชื่อเหล้าองุ่น
cat1. (แคท) n. แมว, สัตว์ในตระกูลแมว, หญิงที่มีใจอำมหิต, บุคคล 2. (ซีเอที) ย่อมาจาก computer-aided translation แปลว่า การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ (บางตำราว่า CAT ย่อมาจาก computer aided training แปลว่า การอบรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย)
cognacn. ชื่อเหล้าบรั่นดีจากฝรั่งเศส
computer-aided translatioการแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ
franc(แฟรงคฺ) n. ชื่อเหรียญเงินตราของฝรั่งเศสฯ -pl. francs
france(ฟรานซฺ) n. ประเทศฝรั่งเศส
franco-Pref. ดูฝรั่งเศส
francophiladj. ซึ่งเป็นมิตรหรือชอบฝรั่งเศส
francophileadj. ซึ่งเป็นมิตรหรือชอบฝรั่งเศส
francophobeadj. ซึ่งเกลียดหรือกลัวฝรั่งเศส
french(เฟรนชฺ) adj. เกี่ยวกับฝรั่งเศส -n. ชาวฝรั่งเศส. vt. ตัดออกเป็นแผ่นบาง ๆ
french revolutionn. การปฏิวัติในฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ.1789 โค่นล้มราชวงศ์Bourbonและนโปเลียนมหาราชโดยยึดอำนาจเมื่อปี ค.ศ.1799
frenchify(เฟรน'ซะไฟ) vt. ทำให้คล้ายของฝรั่งเศส
frog(ฟรอก) n. กบ, ชาวฝรั่งเศส
gallican(แกล'ละคัน) adj. ฝรั่งเศส
gallicism(แกล'ลิซิซซึม) n. ลีลาภาษาฝรั่งเศส, สำนวนภาษาฝรั่งเศส, Syn. gallicism
grisette(กริเซท') n. คนงานหญิงชาวฝรั่งเศส
joan of arc(โจน'อัฟอาร์ค) วีรสตรีและผู้รับทุกข์เพื่อคนอื่นของฝรั่งเศส
kepi(เค'พิ, เคพ'พิ) n. หมวกแก๊ปทหารของฝรั่งเศสเป็นรูปทรงกลมส่วนบนแบนราบมีปีกยื่นบังตาเป็นแนวนอน
luxembourg(ลัค' ซัมเบิร์ก) n. ชื่อประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ระหว่างเยอรมันนีฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม, ชื่อเมืองหลวงของประเทศดังกล่าว
marianne(แมริแอน', แม'ริแอน) n. ประเทศฝรั่งเศส
mat(แมท) n. พรมเช็ดเท้า, เสื่อ, ที่รองจานอาหาร (หรือตะเกียง แจกันหรืออื่น ๆ) , พรมปูพื้น. vt. ปูพรม, ปูเสื่อ, ทำเป็นเสื่อหรือพรม. vi. พัวพัน, ยุ่งเกี่ยว- adj. ด้าน, ไม่เป็นเงา, n. ผิวหน้าที่ด้าน เอ็มเอที <คำอ่าน>ย่อมาจาก machine aided translation (การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ
metis(เมทีส') n. บุคคลที่มีเลือดผสม, ลูกครึ่งระหว่างคนขาว (โดยเฉพาะฝรั่งเศส) กับอินเดียนแดง pl. mentis
mistral(มิส'เทริล, มิสทราล') n. ลมเหนือที่หนาวและแห้งในภาคใต้ของฝรั่งเศสและบริเวณใกล้เคียง
paris(แพ'ริส) n. ชื่อเมืองหลวงของฝรั่งเศส
pasteur(แพส'เทอ) n. Louis (ค.ศ.1822-73) นักเคมีและจุลชีววิทยาของฝรั่งเศส
prefect(พรี'เฟคทฺ) n. เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในฝรั่งเศสหรืออิตาลี, นายอำเภอ, เจ้าเมือง, เจ้าหน้าที่ของโรมันโบราณ, หัวหน้าชั้น, หัวหน้านักเรียน., See also: prefectorial adj., Syn. praefect.
quadrillion(โควดริล'เยิน) n. เลข (1ถึง9) ที่เติม'0'อีก15ตัว (ในอเมริกาและฝรั่งเศส)
rousseau(รูโซ') n. Jean Jacques (ค.ศ.1712-78) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส
sans serifแซนเซอริฟ <คำอ่าน>เป็นแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่งที่ไม่มีส่วนงอนโค้งของส่วนปลายสุดของตัวอักขระ ส่วนงอนโค้งนี้ในภาษาอังกฤษ เรียกกันว่า serif ฉะนั้น sans serif ก็หมายความว่าปราศจากส่วนนี้ (sans เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่า ปราศจาก) แบบอักษรชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นตัวตรง ๆ เหมาะสำหรับใช้พิมพ์ชื่อเรื่อง พาดหัวตัวโต ๆ ว่ากันว่าให้อ่านง่าย ในระบบวินโดว์ของพีซี กรอบสนทนาทั้งหมดใช้แบบอักษรนี้ ฉะนั้น ต้องระวังอย่าลบแบบอักษรนี้ออกจากหน่วยความจำโดยเด็ดขาด ดู serif เปรียบเทียบ
security counciln. สภาความมั่นคงของสหประชาชาต'ประกอบด้วยสมาชิกถาวร5ประเทศ (สหรัฐอเมริกา, โซเวียต, ฝรั่งเศส, อังกฤษและจีน) และสมาชิกชั่วคราว10ประเทศที่มีวาระครั้งละ2ปี
seigneury(ซีน'ยะรี) n. (ในแคนาดา) ที่ดินศักดินาที่ได้รับพระราชทานจากกษัตริย์ฝรั่งเศส
senate(เซน'นิท) n. สภาสูง, วุฒิสภาของบางประเทศ (เช่น สหรัฐอเมริกา, ฝรั่งเศส) , อาคารสภาสูง, ห้องสภาสูง, สภาสูงสุดของโรมัน, สภาบริหารหรือนโยบายของบางมหาวิทยาลัย
trillion(ธริล'เอิน) n. เลขเต็มจำนวนที่ตามด้วย'0'12ตัว (ในอเมริกาและฝรั่งเศส) หรือเลข13ตำแหน่ง, เลขเต็มจำนวนที่ตามด้วย "0"18ตัวหรือเลข19ตำแหน่ง (ในอังกฤษและฝรั่งเศส) adj. เกี่ยวกับจำนวนดังกล่าว., See also: trillionth n., adj.
x-axis(เอคซฺ'แอคซิส) n. แกนหรือเส้นแนวนอน (แกนX) ของวิชาคณิตศาสตร์ในระบบแนวราบของRene Descartes (นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส) pl. x-axes

English-Thai: Nontri Dictionary
billion(n) พันล้าน(ในอเมริกาและฝรั่งเศส), หนึ่งล้านล้าน(ในอังกฤษ)
French(adj) เกี่ยวกับฝรั่งเศส
French(n) ชาวฝรั่งเศส, คนฝรั่งเศส, ภาษาฝรั่งเศส
trillion(n) ล้านล้าน(อเมริกันและฝรั่งเศส), ล้านของล้านล้าน(อังกฤษ)

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
brie(n) บรี (เนยแข็งชนิดหนึ่ง มีแหล่งผลิตจากประเทศฝรั่งเศส ผิวนอกขรุขระ กรอบนอกนุ่มใน)
flying au(name) ทารกจ้าวเวหา (จากวรรณคดีฝรั่งเศส)
hierarchy of genres[ไฮ-รา-คี-ออฟ-เจ็น-เรส] (n) การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ เป็นทฤษฎีการจัดประเภทของศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญที่ระบุไว้เช่นในการจัดของสมาคมศิลปะแห่งฟลอเรนซ์ และในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอังเดร เฟลิเบียงแห่งสถาบันศิลปะฝรั่งเศสที่ลำดับเป็นห้าลำดับ: ภาพประวัติศาสตร์และศาสนา, ภาพเหมือน, ภาพชีวิตประจำวัน, ภาพภูมิทัศน์ และภาพนิ่ง (Source: visual-arts-cork.com)
papermarche[เปเปอร์มาร์เช่] (n) มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า papier-mache เป็นการใช้กระดาษที่ไม่ใช้ทำงานประดิษฐ์ (molding materialof waste paper), See also: A. n/a, papier-marche, Syn. งานปะติดที่ทำด้วยเศษกระดาษ
swap spit(n) จูบแบบฝรั่งเศส, Syn. to French kiss; to snog
War Ensignธงชัยสมรภูมิ เป็นธงที่ถูกชักไว้บนเรือรบเพื่อแสดงสัญชาติของเรือรบ อาจมีการชักธงนี้ไว้บนบกในดินแดนที่กองทัพเจ้าของธงยึดครองอยู่ อาทิ เมื่อเยอรมนีเข้ายึดกรุงปารีสในปี ค.ศ. 1940 มีการชักธงชัยสมรภูมิเยอรมันไว้บนยอดหอไอเฟลเพื่อสื่อว่า ประเทศฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การยึดครองของกองทัพเยอรมัน

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
日仏[にちぶつ, nichibutsu] (n) ญี่ปุ่นและฝรั่งเศส

German-Thai: Longdo Dictionary
französisch(adj, n) ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส, ภาษาฝรั่งเศส เช่น Wie heißt das auf französisch? มันเรียกว่าอย่างไรในภาษาฝรั่งเศส, Ich bin französisch./Ich bin eine Französin. ฉันเป็นคนฝรั่งเศส, See also: Frankreich
französisch(adj) ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส, See also: Frankreich
Frankreich(uniq) ประเทศฝรั่งเศส
jeden|+ คำนามเพศชาย หรือ เป็นคำแทนนามเพศชาย รูปกรรม| ทุกๆ เช่น Jeden Tag lernt er Französisch. เขาเรียนภาษาฝรั่งเศสทุกวัน
heiraten(vt) |heiratet, heiratete, hat geheiratet, jmdn.(A)| แต่งงาน เช่น Sabine heiratet in kommender Woche einen Franzoser. ซาบีเนอจะแต่งงานกับชายชาวฝรั่งเศสอาทิตย์ที่จะถึงแล้ว, Syn. sich verheiraten
Franzose(n) |der, pl. Franzosen| ชาวฝรั่งเศส, See also: Related: die Französin/ pl. -nen
rund um(adv) โดยประมาณ เช่น Rund um eine Million Vietnamesen leben in Frankreich. คนเวียดนามประมาณหนึ่งล้านคนอาศัยอยู่ในฝรั่งเศส

French-Thai: Longdo Dictionary
avoir(vt) |j'ai, tu as, il a, nous avons, vous avez, ils ont| 1. มี เช่น J'ai soif. ผมมีอาการกระหายน้ำ หรือ ผมหิวน้ำ 2. avoir ยังเป็นกิริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต (Passé composé) เช่น Hier j'ai eu trés soif dans la classe de français. เมื่อวานนี้ดิฉันหิวน้ำมากเลยค่ะในชั่วโมงภาษาฝรั่งเศส
äเป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า a tréma ในภาษาฝรั่งเศส
öเป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า o tréma ในภาษาฝรั่งเศส
üเป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า ü tréma ในภาษาฝรั่งเศส
ßเป็นสระในภาษาเยอรมัน เรียกว่า deux s ในภาษาฝรั่งเศส
français(adj) |-aise| ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส
au revoir!(phrase) แล้วพบกันใหม่ (เวลาจากกันควรพูดคำลา ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ฝรั่งเศส)
France(n) |f| ประเทศฝรั่งเศส
partir(vi) |je pars, tu pars, il part, nous partons, vous partez, ils partent| ออกไป, ไป, เริ่มออกไป เช่น Il est parti en France à huit heures. เขาเดินทางออกไปฝรั่งเศสตอนแปดโมงแล้ว, Syn. aller, provenir
madameเป็นคำนำหน้าชื่อของผู้หญิงที่สุภาพ ไม่จำเป็นต้องแต่งงานแล้ว คล้ายกับ นางและนางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Madame Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mme. Chantel, See also: mademoiselle, Ant. monsieur, Related: mademoiselle
mademoiselleเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame
monsieurเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), Ant. madame, mademoiselle
changer(argent) แลกเงิน ตัวอย่างเช่น 1°Je voudrais changer des francs en marks. = ผมกรุณาขอแลกเงินจากสกุลฟรังค์ฝรั่งเศส เป็นสกุลมาร์คเยอรมัน
constitutionnellement(adv) ตามรัฐธรรมนูญ (เป็นคำในภาษาฝรั่งเศสที่มีจำนวนพยัญชนะและสระในหนึ่งคำมากที่สุด)
en(prep) ที่ (บุพบทระบุสถานที่ ส่วนใหญ่ตามด้วยชื่อประเทศ) เช่น Je viens assez souvent en France. ผมไปฝรั่งเศสค่อนข้างบ่อย
en(prep) ใน (บุพบทระบุสถานที่ ส่วนใหญ่ตามด้วยชื่อประเทศ) เช่น Mon fils habite en France depuis des années. ลูกชายของฉันอยู่ที่ฝรั่งเศสมาหลายปี
conserve(n) |f, pl. conserves| อาหารที่ถูกถนอมไว้, อาหารแห้ง เช่น En général, les Francais n'aiment pas beaucoup les conserves ou les surgelés. โดยทั่วไปคนฝรั่งเศสไม่ชอบอาหารที่ถูกถนอมและอาหารแช่แข็งมาก
joconde(n) |f| ชื่อในภาษาฝรั่งเศสของภาพวาดเหมือนสตรีคนหนึ่ง ที่คนทั่วไปเรียกภาพนี้ว่า Mona Lisa ผลงานของ Leonardo Da Vinci จิตรกรชื่อก้องชาวอิตาลี ปัจจุบันภาพนี้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์ Louvre กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
bon appétit(phrase) ขอให้เจริญอาหาร ขอให้อร่อย (ใช้พูดก่อนรับประทานอาหาร ซึ่งเป็นธรรมเนียมในฝรั่งเศส)
académie française(n) |f| ราชบัณฑิตยสภาฝรั่งเศส

French-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Benin [ geogr. ](n) ประเทศบนฝั่งทะเลทางด้านตะวันตกของแอฟริกา ในอดีตเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top