storage | (สทอ'ริจฺ) n. การเก็บ, การเก็บรักษา, สถานที่เก็บ, สถานที่เก็บรักษา, ค่าเก็บรักษาของเครื่องมือเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์, แหล่งเก็บข้อมูล, Syn. saving, hoarding |
storage capacity | ความจุของหน่วยเก็บข้อมูลหมายถึง จำนวนข้อมูลที่หน่วยเก็บ เช่น จานบันทึก ฮาร์ดดิสก์ แถบแม่เหล็ก สามารถรับข้อมูลไปเก็บไว้ได้ โดยปกติจะวัดกันเป็น เคไบต์ (K bytes) |
auxiliary storage | หน่วยเก็บช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำหรือหน่วยเก็บที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีความหมายเหมือน auxiliary memory |
backup storage | หน่วยเก็บสำรอง <คำแปล>หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store |
direct access storage dev | อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูลเข้าถึงโดยตรงใช้ตัวย่อว่า DASD (อ่านว่าแดสดี) หมายถึงหน่วยเก็บข้อมูลที่ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ ณ ส่วนใด เช่น จานบันทึก ดู direct access ประกอบ |
erasable storage | หน่วยเก็บที่ลบได้ <คำแปล>หมายถึง สื่อเก็บข้อมูลที่สามารถบันทึกข้อมูลใหม่ทับข้อมูลเก่าได้ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือ จานบันทึก (diskette) เมื่อบันทึกข้อมูลใหม่ ข้อมูลเก่าจะถูกลบออกไปเอง ส่วนบัตร (card) เป็นหน่วยเก็บที่ลบไม่ได้ หมายความว่า ใช้ได้ครั้งเดียวก็ต้องโยนทิ้ง |
external storage | หมายถึง สื่อต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวเก็บข้อมูลเพิ่มจากหน่วยความจำหลัก (main memory) ในคอมพิวเตอร์ เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) เพราะราคาถูกกว่ามาก ถึงจะไม่เปิดไฟ ก็สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ หน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์นั้นไม่มีที่พอจะนำข้อมูลจำนวนมาก ๆ เข้าไปเก็บไว้ได้หมด (ยิ่งมีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งแพงมาก) เพื่อช่วยประหยัด เราอาจเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำรอง หรือหน่วยความจำช่วย (auxiliary storage) นี้ก่อน และจะดึงไปไว้ในหน่วยความจำหลักเฉพาะเมื่อเวลาต้องการเรียกใช้มีความหมายเหมือน external memory, secondary memory และ auxiliary storage |
fixed storage | หน่วยเก็บข้อมูลที่เปลี่ยนไม่ได้หมายถึงสื่อที่เก็บข้อมูลครั้งหนึ่งแล้ว นำมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้ หมายความว่า จะนำมาลบแล้วบันทึกใหม่อย่างจานบันทึกหรือแถบบันทึกไม่ได้ เมื่อนำมาบันทึกใหม่ไม่ได้ ส่วนมากจึงมักใช้บันทึกแฟ้มข้อมูลที่อ่านได้อย่างเดียว (read only) บางทีหมายถึงรอม (ROM) |
magnetic storage | หน่วยเก็บแม่เหล็กหน่วยเก็บข้อมูลที่มีคุณสมบัติของการเป็นแม่เหล็ก ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตาม เช่น แกนแม่เหล็ก (magnetic core) หรือสื่อต่าง ๆ ที่เป็นแม่เหล็ก เช่นแถบบันทึกแม่เหล็ก (magnetic tape) จานแม่เหล็ก (magnetic disk) ฯลฯ |
main storage | หน่วยเก็บหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main memory |
storage | หน่วยเก็บ, หน่วยความจำสำหรับเก็บคำสั่ง และข้อมูลของคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำลอง [คอมพิวเตอร์] |
Storage | ที่เก็บ [TU Subject Heading] |
Storage | ตัวสะสม การสะสม [การทูต] |
Storage batteries | แบตเตอรี่ทุติยภูมิ [TU Subject Heading] |
Storage cabinets | ตู้ [TU Subject Heading] |
storage capacity | storage capacity, ความจุอ่างเก็บน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
storage cell | เซลล์สะสมไฟฟ้า, เซลล์ไฟฟ้าเคมีแบบทุติยภูมิชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้กันแพร่หลายก็คือ เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว ซึ่งมีตะกั่วเป็นขั้วไฟฟ้าและสารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นอิเล็กโทรไลต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
storage dam | เขื่อนเก็บน้ำ, สิ่งก่อสร้างปิดกั้นลำน้ำในหุบเขาหรือหุบเนิน เพื่อเก็บและรักษาปริมาณน้ำไว้ใช้ประโยชน์ต่าง ๆ กัน เช่น การเพาะปลูก การบรรเทาอุทกภัย การไฟฟ้าพลังน้ำการคมนาคมทางน้ำ เป็นต้น เช่น เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Storage hardening | ปรากฏการณ์ที่ความหนืดของยางดิบหรือยางที่ยังไม่ได้ผ่านการคงรูปเพิ่ม ขึ้นระหว่างการเก็บ เนื่องจากหมู่อัลดีไฮด์ (aldehyde group) ที่มีอยู่ในยางธรรมชาติเข้าไปทำปฏิกิริยาควบแน่นกัน เกิดเป็นโครงสร้างสามมิติที่มีการเชื่อมโยง (crosslink) ระหว่างโมเลกุลยางมีผลทำให้ยางแข็งขึ้น [เทคโนโลยียาง] |
Storage jars | โอ่ง [TU Subject Heading] |
กุดัง | (n) storage, See also: storehouse, warehouse, godown, Syn. โกดัง, Example: หอศิลปแห่งชาติซึ่งแต่ก่อนเคยได้รับคำกล่าวติชมว่าเป็นกุดังเก็บภาพเขียน, Thai Definition: โรงเก็บสินค้าหรือสิ่งของ, Notes: (ปาก) |
ตัวเก็บข้อมูล | (n) storage, See also: memorandum, Syn. ตัวบันทึกความจำ, Example: ปริมาณของตัวเก็บข้อมูลปกติคงจะอยู่ที่ 90 เมกะไบต์, Thai Definition: ส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์ |
ตัวเก็บข้อมูล | (n) storage, See also: memorandum, Syn. ตัวบันทึกความจำ, Example: ปริมาณของตัวเก็บข้อมูลปกติคงจะอยู่ที่ 90 เมกะไบต์, Thai Definition: ส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์ |
ที่เก็บ | (n) storage, See also: store-place, Example: แม่บ้านเก็บถังใส่น้ำไว้ในที่เก็บ, Count Unit: ที่ |
storage | (n) the act of storing something |
storage | (n) the commercial enterprise of storing goods and materials |
storage | (n) (computer science) the process of storing information in a computer memory or on a magnetic tape or disk |
storage battery | (n) a voltaic battery that stores electric charge, Syn. accumulator |
storage cell | (n) a cell that can be recharged, Syn. secondary cell |
storage medium | (n) a medium for storing information, Syn. data-storage medium |
storage ring | (n) container consisting of a set of magnets set in a doughnut-shaped ring around which charged particles from an accelerator can be kept circulating until they are used |
storage space | (n) the area in any structure that provides space for storage |
保存 | [ほぞん, hozon] (n, vs) preservation; conservation; storage; saving (e.g. to disk); maintenance; (P) #678 [Add to Longdo] |
記憶 | [きおく, kioku] (n, vs) (1) memory; recollection; remembrance; (2) storage; (P) #2,119 [Add to Longdo] |
バラ | [bara] (n) (abbr) bulk storage #4,532 [Add to Longdo] |
倉敷 | [くらしき, kurashiki] (n) storage charges; (P) #5,297 [Add to Longdo] |
保管 | [ほかん, hokan] (n, vs) charge; custody; safekeeping; deposit; storage; (P) #5,837 [Add to Longdo] |
冷凍 | [れいとう, reitou] (n, vs) freezing; cold storage; refrigeration; (P) #11,745 [Add to Longdo] |
格納 | [かくのう, kakunou] (n, vs) (1) storage; housing for equipment and machines; (2) { comp } putting into computer memory #12,463 [Add to Longdo] |
貯蔵 | [ちょぞう, chozou] (n, vs) storage; preservation; (P) #14,888 [Add to Longdo] |
貯水 | [ちょすい, chosui] (n, vs) storage of water; (P) #17,350 [Add to Longdo] |
アドレス指定可能な記憶域をもたない計算器 | [アドレスしていかのうなきおくいきをもたないけいさんき, adoresu shiteikanounakiokuikiwomotanaikeisanki] (exp) { comp } calculator without addressable storage [Add to Longdo] |
アドレス指定可能な記憶域をもたない計算器 | [アドレスしていかのうなきおくいきをもたないけいさんき, adoresu shiteikanounakiokuikiwomotanaikeisanki] calculator without addressable storage [Add to Longdo] |
オフラインストレージ | [おふらいんすとれーじ, ofurainsutore-ji] offline storage [Add to Longdo] |
オンラインストレージ | [おんらいんすとれーじ, onrainsutore-ji] online storage [Add to Longdo] |
キーボード制御式のアドレス指定可能な記憶域をもつ計算器 | [キーボードせいぎょしきのアドレスしていかのうなきおくいきをもつけいさんき, ki-bo-do seigyoshikino adoresu shiteikanounakiokuikiwomotsukeisanki] calculator with keyboard controlled addressable storage [Add to Longdo] |
ストレージ構造 | [ストレージこうぞう, sutore-ji kouzou] storage structure [Add to Longdo] |
ストレージ | [すとれーじ, sutore-ji] storage [Add to Longdo] |
ストレージベイ | [すとれーじべい, sutore-jibei] storage bay [Add to Longdo] |
データストレージ | [でーたすとれーじ, de-tasutore-ji] data storage [Add to Longdo] |
ドライブベイ | [どらいぶべい, doraibubei] drive bay, storage bay [Add to Longdo] |
ドラム記憶装置 | [ドラムきおくそうち, doramu kiokusouchi] drum storage [Add to Longdo] |