database | (n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank |
database management system | (n) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์) |
database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี |
database management syste | ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย |
flat-file database | ฐานข้อมูลรายแฟ้มหมายถึง โปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้เก็บและเรียกหาข้อมูล ออกมาใช้ได้ทีละแฟ้ม เป็นสำคัญ ตรงข้ามกับฐานข้อมูลสัมพันธ์ (relational database) ซึ่งจะทำให้เรียกหามาใช้ได้ มากกว่าครั้งละหนึ่งแฟ้ม |
relational database | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย |
database | ฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
database | ฐานข้อมูล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
database machine | คอมพิวเตอร์ฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
database management system (DBMS) | ระบบจัดการฐานข้อมูล (ดีบีเอ็มเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
database management system (DBMS) | ระบบจัดการฐานข้อมูล (ดีบีเอ็มเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Database | ฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Database | ฐานข้อมูล, Example: <p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Database | ฐานข้อมูล, Example: ระบบการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเอาไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สะดวกกับการค้นคืนข้อมูล และการดูแลรักษาฐานข้อมูลมีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของไทยคือ ฐานข้อมูลประชากรไทยประมาณ 60 ล้านคนที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ขนดาใหญ่ของสำนักงานบริหารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย [คอมพิวเตอร์] |
database | ฐานข้อมูล, การรวมของตารางข้อมูลหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บางตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [คอมพิวเตอร์] |
Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [TU Subject Heading] |
Database industry | อุตสาหกรรมฐานข้อมูล [TU Subject Heading] |
Database management | การจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Database management | การจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
ฐานข้อมูล | (n) database, Example: ฐานข้อมูลที่มีการเก็บคุณสมบัติของวัสดุ มักจำกัดเฉพาะกับโลหะ พลาสติก หรือกระเบื้อง |
ฐานข้อมูล | [thānkhømūn] (n) EN: database FR: base de données [ f ] |
database | |
database | |
databases | |
databases |
database | (n) an organized body of related information |
database management | (n) creation and maintenance of a database |
database management system | (n) a software system that facilitates the creation and maintenance and use of an electronic database, Syn. DBMS |
database | n. an organized body of related information. [ WordNet 1.5 ] |
数据库 | [数 据 库 / 數 據 庫] database #6,660 [Add to Longdo] |
数据库软件 | [数 据 库 软 件 / 數 據 庫 軟 件] database software [Add to Longdo] |
资料库 | [资 料 库 / 資 料 庫] database [Add to Longdo] |
データベース | [でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล EN: database |
Datenbankanbindung { f } | database connection [Add to Longdo] |
Datenbankerstellung { f } | database production [Add to Longdo] |
Datenbankstruktur { f } | database structure [Add to Longdo] |
Datenbanksystem { n } [ comp. ] | relationales Datenbanksystem | database system | relational database system [Add to Longdo] |
Datenbankverwaltungssystem { n } | database management system [Add to Longdo] |
データベース | [de-tabe-su] (n) { comp } database #2,577 [Add to Longdo] |
DBMS | [ディービーエムエス, dei-bi-emuesu] (n) { comp } database management system; DBMS [Add to Longdo] |
インテリジェントデータベース | [interijientode-tabe-su] (n) { comp } intelligent database [Add to Longdo] |
オブジェクトデータベース管理システム | [オブジェクトデータベースかんりシステム, obujiekutode-tabe-su kanri shisutemu] (n) { comp } object database management system [Add to Longdo] |
オブジェクト指向データベース | [オブジェクトしこうデータベース, obujiekuto shikou de-tabe-su] (n) { comp } object-oriented database; OODB [Add to Longdo] |
オブジェクト指向型データベース | [オブジェクトしこうがたデータベース, obujiekuto shikougata de-tabe-su] (n) { comp } object oriented database [Add to Longdo] |
オンラインデータベース | [onrainde-tabe-su] (n) { comp } on-line database; online database [Add to Longdo] |
オンラインデータベースシステム | [onrainde-tabe-sushisutemu] (n) { comp } online database system [Add to Longdo] |
カード型データベース | [カードがたデータベース, ka-do gata de-tabe-su] (n) { comp } card-type database [Add to Longdo] |
データベースアプリケーション | [de-tabe-suapurike-shon] (n) { comp } database application [Add to Longdo] |
データベース | [でーたべーす, de-tabe-su] database [Add to Longdo] |
データベースアプリケーション | [でーたべーすあぷりけーしょん, de-tabe-suapurike-shon] database application [Add to Longdo] |
データベースエンジン | [でーたべーすえんじん, de-tabe-suenjin] database engine [Add to Longdo] |
リレーショナルデータベース | [りれーしょなるでーたべーす, rire-shonarude-tabe-su] relational database (RDB) [Add to Longdo] |
分散型データベース管理システム | [ぶんさんがたデータベースかんりシステム, bunsangata de-tabe-su kanri shisutemu] Distributed DataBase Management System, DDBMS [Add to Longdo] |