ขออภัย | ก. ขอให้ยกเว้นโทษ, ขออย่าได้ถือโทษ. |
ให้อภัย | ก. ยกโทษให้, ไม่ถือโทษ. |
อภัย, อภัย- | (อะไพ, อะไพยะ-) น. ความไม่มีภัย, ความไม่ต้องกลัว. (ป., ส.), นิยมใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น ขออภัย หมายความว่า ขอให้ยกโทษให้ ขออย่าได้ถือโทษ, ให้อภัย หมายความว่า ยกโทษให้. |
อภัย, อภัย- | (อะไพ, อะไพยะ-) ก. ยกโทษ เช่น ฉันอภัยให้เธอ. |
อภัยทาน | (อะไพยะทาน) น. การให้ความไม่มีภัย เช่น ให้อภัยทาน. |
อภัยทาน | (อะไพยะทาน) ว. ที่ให้ความไม่มีภัย เช่น เขตอภัยทาน. |
อภัยโทษ | (อะไพยะโทด) น. การยกโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา หรือลดโทษให้. |
กรรุณา | (กฺระรุ-, กันรุ-) น. กรุณา เช่น ถ้าทรงพระกรรุณา (สามดวง), แม้นทรงธรรม์กรรุณาประชาราษฎร์ (อภัย). |
กระจัด ๒ | ว. กระจะ, จะจะ, ชัดเจน, เช่น ฝ่ายล่ามบอกออกอรรถกระจัดแจ้ง (อภัย). |
กระแตวับ | ก. หน้าเป็น เช่น แต่ล้วนตัวตอแหลกระแตวับ (อภัย). |
กระเทื้อม | ก. กระเทือน เช่น เสียงดังโครมใหญ่ไม่กระเทื้อม (อภัย) |
กระป่อง | ว. ป่อง เช่น สักหน่อยหนึ่งมึงจะท้องกระป่องเหยาะ (อภัย). |
กระเสียน | ว. ชิด, สนิท, แนบเนียน, เช่น ชฎากลีบจีบเวียนกระเสียนพระศก (อภัย), เขาเข้าไม้ปะที่ตรงนี้ดีนัก พอดีกระเสียนกันทีเดียว |
กลา | ระเบียบพิธีของการบูชา เช่น ไปคำนับศาลสุรากลากิจ (อภัย), ใช้ว่า กระลา ก็มี. |
กา ๑ | ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา เห็นเป็นรูปอีกา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์ (อภัย), ดาวไซ ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก. |
ขลุบ | อาวุธชนิดหนึ่ง ใช้ในการรบ เช่น ลืมระวังพลั้งเพลี่ยงมันเหวี่ยงขลุบ ถูกอกอุบจุกอัดขัดไม่หาย (อภัย). |
ขาก ๒ | ก. ภูมิใจ เช่น ความยินลากขากดีจะมีไหน (อภัย). |
ฆาต, ฆาต- | (คาด, คาดตะ-) ก. ตี เช่น เจ้าวิลาสฆาตกลองเร่งกองรบ (อภัย). |
จู่ลู่ | โดยปริยายหมายความว่า วู่วาม, หุนหันพลันแล่น, เช่น อย่าจู่ลู่ดูถูกนะลูกรัก (อภัย), ดูทำนองพระมณีพี่ยา เห็นว่าจะจู่ลู่วู่วาม (มณีพิชัย), เพื่อนกันช่วยฉุดยุดไว้ ผิดไปไม่ได้อย่าจู่ลู่ ตามกรรมตามเวรนางโฉมตรู จู่ลู่จะพากันวุ่นวาย (สังข์ทอง). |
ฉันทา | ก. ลำเอียงเพราะรักใคร่ชอบใจ เช่น พระแก่วันชันษากว่าข้านี้ นึกว่าพี่น้องกันไม่ฉันทา (อภัย). |
ชะแง้ | ก. เหลียวแลดู, เฝ้าคอยดู, เช่น ว่าจากเรือนเหมือนนกมาจากรัง อยู่ข้างหลังก็จะแลชะแง้คอย (อภัย). |
เชยชิด | ก. สัมผัสแนบชิด เช่น ในเพลงปี่ว่าสามพี่พราหมณ์เอ๋ย ยังไม่เคยเชยชิดพิสมัย (อภัย). |
ดาบส | (-บด) น. ผู้บำเพ็ญตบะคือการเผากิเลส, ฤษี, ในบทกลอนใช้ว่า ดาวบส ก็มี เช่น ไปแต่งองค์ทรงไม้เท้าของดาวบส (อภัย). |
ดาวบส | (ดาวบด) น. ดาบส เช่น ไปแต่งองค์ทรงไม้เท้าของดาวบส (อภัย). |
ตีงูให้หลังหัก | ก. กระทำการสิ่งใดแก่ศัตรูโดยไม่เด็ดขาดจริงจังย่อมจะได้รับผลร้ายในภายหลัง เช่น ประเวณีตีงูให้หลังหัก มันก็มักทำร้ายเมื่อภายหลัง (อภัย). |
เต้า ๒ | นํ้าเต้า เช่น ไม่กินปลากินข้าวกินเต้าแตง (อภัย) |
ถนัน | (ถะหฺนัน) น. ดินชนิดหนึ่งเชื่อว่าเป็นยารักษาโรค และเป็นยาอายุวัฒนะ เช่น ต่อได้กินดินถนันเมื่อวันไร (อภัย). |
ทอดผ้าป่า | ก. เอาผ้าถวายพระภิกษุโดยวางไว้บนกิ่งไม้เพื่อให้พระภิกษุชักเอาเอง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่วางไว้อย่างนั้น เช่น ทอดผ้าป่าเรียงวางไว้กลางสนาม (อภัย). |
ธง | ชื่อดาวหมู่หนึ่ง เช่น โน่นดาวธงตรงหน้าอาชาไนย (อภัย) |
นกรู้ | น. ผู้ที่มีไหวพริบรู้เท่าทันเหตุการณ์หรือภัยที่จะมาถึงตน แล้วหาผลประโยชน์หรือหาทางเอาตัวรอดไปก่อน. |
นอนตาไม่หลับ | ก. นอนหวาดต่อภัยหรือเป็นทุกข์หรือห่วงใย. |
นิคาลัย | ก. ตาย เช่น ทราบว่าพี่กับบิดานิคาลัย (อภัย). |
ประเวณี | ประเพณี เช่น ประเวณีตีงูให้หลังหัก มันก็มักทำร้ายเมื่อภายหลัง (อภัย). |
ผู้หญิงริงเรือ, ผู้หญิงยิงเรือ | น. ผู้หญิงทั่วไป เช่น เห็นผู้หญิงริงเรือที่เนื้อเหลือง (อภัย), อีกอย่างหนึ่งจะไปติดพันกับผู้หญิงริงเรือที่อยู่ในที่หวงแหน (พระราชหัตถเลขา รัชกาลที่ ๔), ของพม่าเป็นเรื่องของพระอินทร์ ดูสนิทกว่าที่จะให้ผู้หญิงยิงเรือ. |
พระองค์ | ส. คำใช้แทนผู้เป็นใหญ่ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น ขอพระองค์จงจำไว้สำเหนียก ดั่งนี้เรียกว่าสวัสดิรักษา (สวัสดิรักษา), หรือเป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ เช่น จะจากจริงทิ้งน้องหรือลองจิต โอ้คิดคิดถึงพระองค์น่าสงสาร (อภัย), (ราชา) สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แก่พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธ-ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองค์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งพระราชวงศ์จักรี. |
เพลง | โดยปริยายหมายถึง แบบอย่าง เช่น ต่างกันไปคนละเพลง (พระราชหัตถเลขา ร. ๕ ถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส), ชั้นเชิง เช่น ร้อยภาษามาสู่เคยรู้เพลง (อภัย). |
มฤคทายวัน | ป่าเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ. |
มอระกู่ | น. เครื่องสูบยาของชาวอาหรับ ลักษณะเป็นขวดทรงสูงหรือหม้อมีขาหยั่ง ด้านบนมีถ้วยสำหรับใส่ยาเส้นผสมเครื่องเทศ เครื่องหอม หรือผลไม้ มีฝาปิด มีท่อต่อจากถ้วยยาลงมาถึงก้นขวดที่มีน้ำหล่ออยู่ เมื่อดูดจะทำให้ควันผ่านน้ำขึ้นมา, เขียนเป็น มรกู่ มระกู่ มะระกู่ หรือ มาระกู่ ก็มี เช่น ออกจากเก๋งเล็งแลเห็นแต่แขก ด้วยแปลงแปลกปลอมปนคนทั้งหลาย มีตุ้งก่ามาระกู่เหมือนผู้ชาย พระมุ่งหมายมองตามดูทรามเชย (อภัย) (ช.). |
มือเก่า | ว. มีความชำนาญหรือชํ่าชองมาก เช่น อย่าประมาทมือเก่านะเจ้าเอ๋ย (อภัย). |
ราชทัณฑ์ | น. โทษที่กระทำผิดต่อพระมหากษัตริย์, โทษหลวง, เช่น ต้องราชทัณฑ์, เรียกกรมที่มีหน้าที่ลงโทษผู้กระทำผิดตามตัวบทกฎหมายควบคุมอบรมฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้กระทำผิด พักการลงโทษและคุมประพฤติ และขอพระราชทานอภัยโทษ ปลดปล่อยและสงเคราะห์ผู้พ้นโทษ เป็นต้น ว่า กรมราชทัณฑ์. |
ละครเล็ก | น. ละครที่ใช้หุ่นใหญ่เชิดเป็นตัวละคร เช่น ละครเล็กเรื่องพระอภัยมณี ละครเล็กเรื่องขุนช้างขุนแผน. |
ว่าวเหลิง, ว่าวเหลิงลม | (-เหฺลิง) ว. เพลินจนลืมตัว เช่น กลัวต้องลมแล้วจะหาวเหมือนว่าวเหลิง (อภัย). |
ศรี ๔ | (สี) น. ลักษณนามใช้แก่คน เช่น พระปิตุราชมาตุรงค์ทรงพระสรวล เห็นสมควรคู่ครองกันสองศรี (อภัย). |
โศก ๑, โศก- | (โสกะ-, โสกกะ-) น. ความทุกข์, ความเศร้า, ความเดือดร้อนใจ, เช่น อันทุกข์โศกโรคภัยในมนุษย์ มิรู้สุดสิ้นลงที่ตรงไหน (อภัย). |
สร้อย ๓ | คำที่เติมหรือประกอบคำอื่นเพื่อให้ไพเราะหรือเต็มความ เช่น เสื้อแสง หนังสือหนังหา, คำต่อท้ายราชทินนาม เช่น พระราชปัญญาสุธี ศรีปริยัติธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ สกลนิติธรรมศาสตราจารย์ มหิบาลมหาสวามิภักดิ์ ปรมัคราชมนตรีอภัยพิริยปรากรมพาหุ. |
สัมผัสนอก | น. สัมผัสนอกวรรคหรือระหว่างวรรคตามข้อบังคับแห่งฉันทลักษณ์ซึ่งเป็นสัมผัสสระและไม่ซ้ำเป็นคำเดียวกัน เช่น
| (อภัย), | | (ตะเลงพ่าย). |
|
สินธู | น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น มังกรเกี่ยวเลี้ยวล่องท้องสินธู เป็นคู่คู่เคียงมาในวารี (อภัย), สินสมุทรสุดรักพระธิดา เอาใส่บ่าแบกวายสายสินธู (อภัย), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธุ์ ก็มี. |
หนักนิดเบาหน่อย | ว. เกินพอดีไปบ้างหรือน้อยกว่าพอดีไปบ้าง เช่น เป็นสามีภรรยากัน หนักนิดเบาหน่อยก็ควรอภัยให้กัน. |
absolution | (n) การสวดอ้อนวอนให้อภัยโทษ |
absolution | (n) การอภัยโทษ, See also: นิรโทษกรรม, การให้อภัยบาป, Syn. forgiveness |
absolve | (vt) อภัยโทษ, See also: อภัยบาป, ให้อภัย |
amnesty | (n) ช่วงนิรโทษกรรม, See also: ช่วงอภัยโทษ |
amnesty | (vt) นิรโทษ, See also: ลดโทษ, อภัยโทษ |
amnesty | (n) นิรโทษกรรม, See also: การอภัยโทษ, การยกโทษ, Syn. pardon, reprieve, forgiveness |
apologetic | (adj) ที่แสดงถึงการขออภัย, See also: ที่แสดงการเสียใจต่อ, Syn. regretful, remorseful, sorry |
apologise | (vt) ขอโทษ, See also: ขอขมา, ขอรับผิด, ขออภัย, ขอประทานโทษ, แสดงความเสียใจ, Syn. apologize |
apologize | (vt) ขอโทษ, See also: ขอขมา, ขอรับผิด, ขออภัย, ขอประทานโทษ, แสดงความเสียใจ, Syn. apologise |
apology | (n) คำขอโทษ, See also: การขอโทษ, การขอขมา, การขออภัย, Syn. excuse, regrets |
condonation | (n) การให้อภัย |
condone | (vt) ให้อภัย, Syn. forgive, pardon |
decriminalize | (vt) ลดโทษ, See also: นิรโทษกรรม, อภัยโทษ, Syn. legalize, legitimize |
excuse | (vt) ให้อภัย, See also: ยกโทษให้, Syn. forgive, pardon, release |
forgive | (vi) ยกโทษให้, See also: อภัยให้, เลิกผูกพยาบาท, ยกโทษ, ให้อภัย |
forgive | (vt) ยกโทษให้, See also: อภัยให้, เลิกผูกพยาบาท, ยกโทษ, ให้อภัย |
forgive | (vt) ขอโทษ, See also: ขออภัย, Syn. forgive, pardon |
forgiveness | (n) การให้อภัย, See also: การอภัยโทษ, การอโหสิกรรม, การอภัย, Syn. amnesty, pardon, remission, Ant. unforgiveness |
forgiving | (adj) ซึ่งให้อภัย, See also: ซึ่งยกโทษให้ |
inexcusable | (adj) ซึ่งยกโทษให้ไม่ได้, See also: ซึ่งอภัยให้ไม่ได้, Syn. unforgivable, unpardonable |
let off | (phrv) ให้อภัยจาก, See also: ปล่อยให้พ้นผิดจาก, ยกโทษให้ในเรื่อง |
pardon | (vt) ยกโทษ, See also: ให้อภัย, อภัยโทษ, ลดหย่อนโทษให้, Syn. absolve, condome, forgive, overlook |
pardon | (n) การอภัยโทษ, See also: การยกโทษให้, การลดหย่อนผ่อนโทษ, Syn. forgiveness, amnesty, Ant. unforgiveness, punishment |
pardon | (n) การขอโทษ, See also: การขอขมา, การกล่าวขอโทษ, การขออภัย |
pardon | (int) ขอโทษ, See also: ขออภัย |
placable | (adj) ซึ่งพอให้อภัยได้, See also: ซึ่งพอยกโทษให้ได้, Syn. pacifiable |
remise | (vt) ยอมให้อภัย, See also: ยอมยกโทษให้ |
remissible | (adj) ซึ่งยอมให้อภัย, See also: ซึ่งยอมยกโทษให้, Syn. excusable |
remit | (vt) ยกโทษให้ (คำโบราณ), See also: ให้อภัย, Syn. absolve, forgive, Ant. condemn |
remitment | (n) การให้อภัย, See also: การยกโทษให้, Syn. remittal, remission |
remittable | (adj) ซึ่งให้อภัย |
remitter | (n) ผู้ให้อภัย |
unforgivable | (adj) ซึ่งไม่อาจยกโทษให้, See also: ซึ่งไม่สามารถให้อภัยได้, Syn. inexcusable, unpardonable, indefensible, unjustifiable, Ant. forgivable |
venial | (adj) ซึ่งยกโทษให้ได้, See also: ซึ่งอภัยให้ได้, ซึ่งสมควรจะให้อภัย, Syn. excusable, pardonable, forgivable |
absolution | (แอบโซล' เชิน) n. การอภัยโทษ, การยกเว้น, การชำระบาป, การให้อภัยบาป. |
absolve | (แอบซอลว' , -ซอลว) vt. ปลดเปลื้อง ล้างบาป อภัยโทษ หลุดออกจาก |
allow | (อะเลา') vt., vi. ยอมให้, อนุญาตให้, จ่ายให้, ยกให้, พิจารณา, คิด, ให้อภัย, เพื่อให้, Syn. permit, confess, Ant. refuse, deny, withhold |
allowance | (อะเลา' เอินซฺ) n. การยินยอม, การอนุญาตให้, สิ่งที่ได้รับส่วนแบ่ง, เงินส่วนแบ่ง, เงินช่วยเหลือ, เงินค่าใช้จ่าย, ส่วนเสริม, การอดทน, การยอมรับ, การพิจารณา, การให้อภัย. vt. เพื่อให้, จัดให้, จัดสรร, Syn. share, allotment |
amnesty | (แอม' เนสที) n. การอภัยโทษ, นิรโทษกรรม. -vt. ประเทศนิรโทษกรรม (pardon) |
apologetic | (อะพอล'ละเจท'ทิค) adj. เกี่ยวกับการขออภัย, เต็มที่หรือต้องการขออภัย, Syn. regretful, sorry, Ant. unrepentant |
apologise | (อะพอล'โลไจซฺ) vi. ขออภัย, แก้ตัว, ออกตัว. -apologis (z) er n. |
apologist | (อะพอล'โลจิสทฺ) n. ผู้ขออภัย, ผู้แก้ข้อกล่าวหา, Syn. advocate |
apologize | (อะพอล'โลไจซฺ) vi. ขออภัย, แก้ตัว, ออกตัว. -apologis (z) er n. |
apology | (อะพอล'โลจี) n. การขออภัย, การขอโทษ, คำขอโทษหรือขออภัย, Syn. plea, excuse |
assoil | (อะซอยล') vt. ยกโทษให้, อภัยให้, ชดเชย, ไถ่ (absolve; acquit; pardon) |
bill | (บิล) { billed, billing, bills } n. ตั๋วเงิน, พันธบัตร, ธนบัตร, บิล, ใบเสร็จ, ใบแสดงรายงานซื้อขาย, พระราชบัญญัติ, ญัตติ, ร่างญัตติ, คำโฆษณา, รายการ, หนังสือยื่นฟ้อง, จะงอยปาก, ปากนก -Phr. (a Bill of Oblivion พระราชบัญญัติอภัยโทษ) -Id. (bill the bill สนองความต้องการทั้งหมด |
condonation | (คอนโด เน'เชิน) n. การให้อภัย, การไม่เอาโทษ |
condone | (คันโดน') { condoned, condoning, condones } vt. อภัย, ไม่เอาโทษ, ไม่เอาผิด adj., See also: condoner n. ดูcondone, Syn. forgive, excuse |
excusable | (เอคซฺคิว'ซะเบิล) adj. ซึ่งพอให้อภัยได้, แก้ตัวได้ |
excuse | (v. เอคคิวซ', n. เอคคิวซ') vt. ขอโทษ, ขออภัย, ยกโทษ, แก้ตัว, ยอมรับคำแก้ตัว, ยกเว้น, ปลดเปลื้อง. n. คำขอโทษ, คำแก้ตัว, การให้อภัย, ข้อแก้ตัว, ข้ออ้าง, การปลดเปลื้อง., See also: excusableness n. ดูexcuse excusably adv. ดูexcuse excuser n. ดูexcuse |
forgivable | (ฟอร์กิฟ'วะเบิล) adj. ซึ่งอภัยให้ได้ |
forgive | (ฟอร์กิฟว') { forgave, forgiven, forgives } vt. ยกโทษให้, อภัย, ยกหนี, vi. อภัย., See also: forgivable adj. forgiver n. forgiveness n., Syn. remit, pardon |
mercy | (เมอ'ซี) n. ความเมตตา, ความกรุณาปรานี, ความอนุเคราะห์, อำนาจของผู้พิพากษาในการให้อภัยโทษหรือลดหย่อนผ่อนโทษ, พร -Phr. (at the mercy ขึ้นอยู่กับ อยู่ภายใต้อำนาจของ) |
oblivion | (อับลิฟ'เวียน) n. การถูกลืม, การสูญจากความทรงจำ, การให้อภัย, Syn. eclipse, extinction |
pardon | (พาร์'ดัน) n. การให้อภัย, ละเว้นโทษ |
pardoner | n. ผู้ให้อภัย |
placable | (แพลค'คะเบิล, เพล'คะเบิล) adj. ให้อภัยได้, ปลอบโยนได้., See also: placability n., Syn. forgiving |
remission | (รีมิช'เชิน) n. การอภัยโทษ, การให้อภัย, การยกหนี้, การยกเว้นภาษี, การบรรเทา, การลดน้อยลง, การปลดหนี้, See also: remissive adj. remissiveness n., Syn. pardon, amnesty, abatement |
remit | (รีมิท') vt., vi. ส่งเงิน, อภัยโทษ, ยกโทษ, ยกหนี้, ละเว้น, ผ่อนคลาย, บรรเทา, ทำให้กลับสู่สภาพเดิม, ให้กลับ, ส่งกลับศาลชั้นต่ำกว่า n. การส่งกลับศาลชั้นต่ำกว่า, การส่งบันทึกจากศาลหนึ่งไปยังอีกศาลหนึ่ง, See also: remittable adj. S. forward, excuse |
spare | (สแพรฺ) vt., vi., adj. ประหยัด, สงวน, ออม, เจียด, ไม่ใช้, ปล่อยไป, ปล่อยไว้, ยกโทษให้, อภัยโทษ, ยกชีวิต, ละเว้น, งดเว้น, เหลือไว้, สงวน, มีเหลือ, มีเกิน, ผอม, ขาดแคลน. n. สิ่งที่ออมไว้, ชั้นสำรอง, สิ่งสำรอง, ของอะไหล่ (กีฬาโบว์ลิ่ง) การล้มตัวโบว์ลิ่งลงหมดด้วยลูกโยน2ลูก, แต้มที่ทำได้จากการโยนดังกล่าว |
tolerance | (ทอล'เลอเรินซฺ) n. ความอดทน, ความทนทาน, ลักษณะใจกว้าง, การให้อภัย, อำนาจในการต้านฤทธิ์ยาหรือยาพิษ |
tolerant | (ทอล'เลอเรินทฺ) adj. อดทน, ทนทาน, ใจกว้าง, ให้อภัย., See also: tolerantly adv. |
uncharitable | (อันแช'ริทะเบิล) adj. ไม่เมต-ตา, ไม่มีความปรานี, ไม่มีความกรุณา, รุนแรง, ไม่ให้อภัย, See also: uncharitably adv. |
unforgivable | (อันเฟอะกิฟ'วะเบิล) adv. ไม่อาจให้อภัยได้, ไม่สามารถอภัยให้ได้., See also: unforgivably adv. |
unforgiving | (อันเฟอะกิฟ'วิง) adj. ไม่อภัย, |
venial | (วี'นีเอิล, วีน'เยิล) adj. ยกโทษให้ได้, อภัยได้., See also: veniality n. venialness n. venially adv., Syn. pardonable |
white lie | n. คำโกหกเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่สุภาพหรือให้อภัยได้ |
absolution | (n) การอภัยโทษ, การให้อภัย |
absolve | (vt) ให้อภัย, พ้นจากบาป, ปลดเปลื้อง |
allow | (vt) อนุญาต, ให้, ยกให้, ให้อภัย |
allowable | (adj) ซึ่งอนุญาตได้, ซึ่งยอมได้, ซึ่งอภัยได้ |
allowance | (n) การอนุญาต, การยินยอม, การให้อภัย, การลดราคา |
apologise | (vi) ขอโทษ, ขออภัย, ออกตัว, แก้ตัว |
apologist | (n) ผู้ขอโทษ, ผู้ขออภัย, ผู้แก้ตัว, ผู้แก้ข้อกล่าวหา |
apology | (n) คำขอโทษ, คำขออภัย, คำแก้ตัว, การขอโทษ, การขออภัย |
condonation | (n) การอภัยโทษ, การยกโทษ, การให้อภัย, การไม่เอาผิด |
condone | (vt) ให้อภัย, ยอม, อภัยโทษ, ไม่เอาผิด |
excusable | (adj) สมควรจะให้อภัย, ซึ่งพอให้อภัยได้, ซึ่งยกโทษให้ได้ |
excuse | (n) คำขอโทษ, การให้อภัย, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง |
excuse | (vt) ให้อภัย, ยกโทษ, ไม่ถือว่าผิด, แก้ตัว |
forgive | (vt) ยกโทษ, ให้อภัย, อภัย, ยกหนี้ |
forgiveness | (n) การให้อภัย, ความไม่อาฆาต, ความไม่ผูกพยาบาท, การยกโทษ |
impunity | (n) การพ้นโทษ, การอภัยโทษ |
indulge | (vi, vt) ยอมตาม, อภัย, ผ่อนผัน, ปล่อยตัว, มั่วสุม, ซ่องเสพ, หมกมุ่น |
indulgent | (adj) ยอมตาม, ตามใจ, ผ่อนปรน, อภัย, หลงผิด, หมกมุ่น |
inexcusable | (adj) อภัยไม่ได้ |
pardon | (vt) ให้อภัย, อภัยโทษ |
pardonable | (adj) พอจะอภัยได้, พอจะยกโทษได้ |
pardoner | (n) ผู้ให้อภัย |
remission | (n) การลดหย่อน, การหลุดพ้น, การอภัยโทษ, การละเว้น |
remit | (vt) งดเว้น, ผ่อนคลาย, บรรเทาลง, อภัยโทษ |
tolerant | (adj) อดกลั้น, ยอมให้, อดทน, ใจกว้าง, ให้อภัย |
venial | (adj) อภัยได้, ไม่หนักหนา, ไม่สำคัญ |