350 ผลลัพธ์ สำหรับ *ข้อความ*
หรือค้นหา: ข้อความ, -ข้อความ-

Longdo EN - TH
xoxo(slang) คำลงท้ายจดหมายหรือข้อความ ที่แสดงถึงความรัก, ความจริงใจ, ​ หรือ มิตรภาพ โดยสัญญลักษณ์ x และ o หมายถึงการจูบและกอด, See also: Hugs and kisses

Longdo TH - TH
เบยเลย เป็นคำแผลงที่มาจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือพิมพ์ข้อความ เนื่องจากแป้นตัวอักษร ล ลิง และ บ ใบไม้ อยู่ใกล้กัน จึงทำให้เกิดการพิมพ์ผิดได้บ่อยครั้ง จนเป็นที่เข้าใจกันว่าถ้าพิมพ์ว่า เบย จะหมายความถึง เลย และยังแฝงถึงความรู้สึกเล่นๆ สนุกๆ ไม่จริงจัง กรณีที่พบบ่อย เช่นคำว่า จังเลย อาจแผลงได้เป็น จุงเบย เช่น เจ๊บจุงเบย (เจ็บจังเลย), ฮาจุงเบย (ฮา จังเลย)

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ข้อความ(n) statement, See also: term, message, text, passage, account, baby, content, Syn. เนื้อความ, ใจความ, Example: อาจารย์สั่งให้นักเรียนตัดข้อความเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมจากหนังสือต่างๆ มาอ่านหน้าห้อง, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: เนื้อความตอนหนึ่งๆ, ใจความสั้นๆ ของเรื่อง

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อความน. เนื้อความตอนหนึ่ง ๆ, ใจความสั้น ๆ ของเรื่อง, ข้อ ก็ว่า.
กถามุขน. เบื้องต้นของเนื้อเรื่อง, ข้อความนำเรื่อง.
กรอก ๑ลงข้อความหรือจำนวนเลข เช่น กรอกบัญชี.
กระโตกกระตากก. ส่งเสียงให้เขารู้อย่างไก่กำลังออกไข่, โดยปริยายหมายความว่า เปิดเผยข้อความที่ต้องการปิดบัง.
กระทง ๑ตอนหนึ่ง ๆ ของข้อความ
กระทู้ ๒น. หัวข้อหรือข้อความที่ตั้งให้อธิบาย เช่น กระทู้ธรรม กระทู้ถาม
กระทู้ ๒ในฉันทลักษณ์ หมายเอาข้อความอันเป็นเค้าเงื่อนนำหน้าบทกลอน เช่น โคลงที่แต่งตามเค้าเงื่อนนั้น เรียกว่า โคลงกระทู้.
กระแสความน. แนวความ, ข้อความที่ต่อเนื่องกัน.
กลฉ้อฉล(กน-) น. การใช้อุบายหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือการจงใจปิดบังซ่อนเร้นข้อความจริงเพื่อให้ผู้อื่นหลงผิดจนเข้าทำนิติกรรม หรือจนคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันเป็นภาระอันหนักขึ้นกว่าที่คู่กรณีฝ่ายนั้นจะยอมรับโดยปรกติ.
กลอนสดน. กลอนที่ผูกและกล่าวขึ้นในปัจจุบันโดยไม่ได้คิดมาก่อน, โดยปริยายหมายความว่า ข้อความที่กล่าวขึ้นในปัจจุบันโดยมิได้เตรียมตัวมาก่อน เช่น พูดกลอนสด.
กลอนสวดน. กลอนที่อ่านเป็นทำนองสวด แต่งเป็นกาพย์ยานี ๑๑ หรือ กาพย์ฉบัง ๑๖ และกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ข้อความที่แต่งมักเป็นเรื่องในศาสนา.
กัณฑ์(กัน) น. ข้อความที่แต่งเป็นคำเทศน์เรื่องหนึ่ง ๆ ที่จบลงคราวหนึ่ง ๆ, ตอนหนึ่ง ๆ ของคำเทศน์ที่เป็นเรื่องยาว เช่น มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ทศพร กัณฑ์หิมพานต์, ลักษณนามของเทศน์ เช่น เทศน์กัณฑ์หนึ่ง เทศน์ ๒ กัณฑ์
การสื่อสารน. วิธีการนำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง.
กิจจา(กิด-) น. เรื่องราว, ข้อความ.
กิตติกรรมประกาศน. ข้อความที่กล่าวถึงผลงานและแสดงความขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ มักเขียนไว้ตอนต้นของวิทยานิพนธ์.
กุญแจรหัสสมุดประมวลรหัส เพื่อใช้เข้ารหัสและถอดรหัส บรรจุข้อความที่เข้ารหัสไว้ด้านหนึ่งและข้อความที่ถอดรหัสแล้วไว้อีกด้านหนึ่ง.
เก็บความก. เลือกเอาแต่ข้อความที่สำคัญ.
เกษียน(กะเสียน) น. ข้อความที่เขียนแทรกไว้เช่นในใบลาน, ข้อความที่เขียนไว้บนหัวกระดาษคำสั่ง หรือหนังสือราชการ เรียกว่า หัวเกษียน.
เก้อขัดเขินหรือค้างอยู่เพราะไม่เข้ากัน ไม่รับกัน เช่น รำเก้อ เรือนหลังนี้ทำไม่ได้ส่วนดูเก้อ ข้อความที่เขียนไว้เก้อไม่รับกัน.
ขมวด(ขะหฺมวด) ก. บิดม้วนแล้วขอดให้เป็นปม, โดยปริยายหมายความว่า ย่นย่อข้อความทิ้งท้ายไว้ให้คิด.
ข้อเนื้อความตอนหนึ่ง ๆ, ใจความสั้น ๆ ของเรื่อง, ข้อความ ก็ว่า, เรื่อง เช่น ข้อพิพาท ข้อยุติ, หัวข้อ เช่น ข้ออ้าง ข้อข้องใจ
ข้อกำหนดน. ข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง.
ข้อกำหนดพินัยกรรมน. ข้อความที่ระบุไว้ในพินัยกรรมในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นทรัพย์มรดก หรือในการต่าง ๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อผู้ทำพินัยกรรมตายแล้ว เช่น สิทธิในการรับมรดก การจัดการทรัพย์มรดก การโอนทรัพย์มรดก.
ข้อคัดย่อน. ข้อความที่ย่อแต่ใจความสำคัญ.
ข้อเท็จจริงน. ข้อความหรือเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือที่เป็นอยู่ตามจริง
ข้อยกเว้นน. ข้อความที่ไม่เกี่ยวด้วยเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์เป็นต้นที่กำหนดไว้.
ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อน. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔).
ข่าวสารน. ข้อความที่ส่งมาให้รู้เรื่องกัน.
ขำ ๒น. สิ่งหรือข้อความที่มีนัยซึ่งไม่ควรเปิดเผย เช่น ความขำเขาซับซี่ในวัดที่ดรธานปล่ยวน้นน (ม. คำหลวง ชูชก), แล้วทูลว่านางคันธมาลี ให้ข้านี้นำของมาถวาย เป็นความขำกำชับมามากมาย พลางยอบกายเข้าไปให้ใกล้ชิด (คาวี).
ขึ้นชื่อว่าใช้เป็นคำประกอบหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความ เช่น ขึ้นชื่อว่าคนพาลละก็ต้องหลีกให้ห่างไกล.
เข้ารหัสก. เปลี่ยนสารธรรมดาให้เป็นสารลับด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตัวอักษรอื่นแทนอักษรที่ต้องการจะใช้ หรือสลับตำแหน่งอักษรของข้อความนั้น หรือใช้สัญลักษณ์แทนซึ่งรู้กันเฉพาะผู้ที่รู้กุญแจรหัสเท่านั้น.
เขิน ๓, เขิน ๆเข้ากันไม่สนิท เช่น ข้อความตอนนี้ฟังเขิน ๆ อยู่.
ควงรวมหรือโยงเข้าในกลุ่มเดียวกัน เช่น เครื่องหมายปีกกาใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน
ความเรียงน. ข้อความที่เรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว, วรรณกรรมประเภทร้อยแก้วอธิบายความ ซึ่งให้ความรู้หรือแสดงทัศนะอย่างแจ่มแจ้งเกี่ยวกับเรื่องที่นำมาอธิบาย.
คัด ๑ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ไปคัด.
คัดลายมือก. ลอกข้อความออกมาเขียนด้วยตัวบรรจง.
คัดสำเนาก. ลอกข้อความเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ.
ค้านก. แย้งกัน เช่น ข้อความตอนหน้ากับตอนหลังค้านกัน, กล่าวแย้งไม่เห็นด้วย
คำนิยมน. ข้อความที่ผู้มีชื่อเสียงเขียนชื่นชมหนังสือเล่มนั้น อยู่ก่อนส่วนที่เป็นเนื้อเรื่อง.
คำบอกกล่าวน. ข้อความที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งเป็นหนังสือ หรือแจ้งด้วยวาจา ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง แสดงเจตนาที่จะใช้สิทธิ สงวนสิทธิ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คำบอกกล่าวสนองในการทำสัญญา คำบอกกล่าวเลิกสัญญา คำบอกกล่าวว่าจะบังคับจำนอง.
คำลงท้ายน. ข้อความที่เขียนไว้ท้ายจดหมายก่อนลงชื่อ เช่น ขอแสดงความนับถือ รักและคิดถึง.
คำให้การน. ถ้อยคำหรือข้อความที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้อง รับ ภาคเสธ ปฏิเสธ หรือแก้ข้อหาในคดีที่ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในคดีอาญา หรือที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกเป็นข้อต่อสู้ในคดีแพ่งหรือในคดีปกครอง.
คู่ฉบับน. หนังสือหรือเอกสารที่ทำขึ้นตั้งแต่ ๒ ฉบับขึ้นไป มีข้อความตรงกัน โดยถือว่าทุกฉบับเป็นต้นฉบับ.
เครื่องหมายวรรคตอนน. เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบในการเขียนข้อความ เช่น จุลภาค (, ) มหัพภาค (.) ปรัศนี (?).
เคลือบคลุมว. ไม่แจ่ม, ไม่กระจ่าง, ไม่ชัด, เช่น ข้อความเคลือบคลุม.
ฆ่าทำให้หมดไป, ทำให้สิ้นไป, เช่น ฆ่าเวลา ฆ่ากลิ่น ฆ่าข้อความ.
โฆษณา(โคดสะนา) ก. เผยแพร่ข้อความออกไปยังสาธารณชน
โฆษณากระทำการไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความเพื่อประโยชน์ในทางการค้า.
เงื่อนไขข้อความอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมีเหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต.
เงื่อนงำน. เรื่องราวหรือข้อความที่ซ่อนอยู่ไม่เปิดเผย.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
pseudo-statementข้อความเทียม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
pragmaข้อความสั่งละได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
prompt๑. ตัวพร้อม๒. ข้อความพร้อมรับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
prevaricationการปิดบังข้อความจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
line-oriented text editorบรรณาธิกรณ์ข้อความรายบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
last antecedent ruleหลักการตีความข้อความสุดท้ายมิให้มีความหมายไกลไปจากข้อความที่นำหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
latent ambiguityข้อความเคลือบคลุม, ข้อความกำกวม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
lacunaข้อความที่ขาดไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
representationการแถลงข้อความจริง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
representation๑. การเป็นผู้แทน๒. การชี้แจงข้อเท็จจริง, การแถลงข้อความจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
repugnancyความขัดกัน (ของข้อความ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
scandalous statementข้อความถากถาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
statistical statementข้อความสถิติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
statementข้อความสั่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
statementข้อความ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
statementข้อความสั่ง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
statement๑. ข้อความ๒. ประพจน์ [ มีความหมายเหมือนกับ proposition ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
statement numberหมายเลขข้อความสั่ง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
synthetic statementข้อความสังเคราะห์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
statement, analyticข้อความวิเคราะห์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
statement, categoricalข้อความเด็ดขาด [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
statement, pseudo-ข้อความเทียม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
statement, statisticalข้อความสถิติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
statement, syntheticข้อความสังเคราะห์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
obliterationการขีดฆ่าข้อความ, การลบล้างข้อความ, การเพิกถอน (พินัยกรรม) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
operative wordsข้อความที่กำหนดการโอนที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
analytic statementข้อความวิเคราะห์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
access deniedข้อความห้ามเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
arithmetic statementข้อความสั่งคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
article๑. มาตรา (ในกฎหมาย), ข้อ๒. ข้อบังคับ, กฎ๓. บท๔. บทความ, ข้อความ๕. ของ, สิ่งของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
articles of agreementข้อความในข้อตกลง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
assignment statementข้อความสั่งกำหนดค่า [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
assignment statementข้อความสั่งกำหนดค่า [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
assertionข้อความยืนยัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
assertion of a falsehoodการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
motion to expungeญัตติขอให้ตัดข้อความออก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
misrepresentationการแถลงข้อความเป็นเท็จ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
material factข้อความจริงอันเป็นสาระสำคัญ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
mutilation๑. การตัดข้อความที่สำคัญ (ก. ทั่วไป)๒. การทำให้เสียอวัยวะ (ก. อาญา) [ ดู maim และ mayhem ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
malicious falsehoodข้อความใส่ร้าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
categorical statementข้อความเด็ดขาด [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
concealmentการปกปิดข้อความจริง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
colloquium (L.)ข้อความที่อ้างว่าหมิ่นประมาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
conjectureข้อความคาดการณ์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
contradiction๑. ความขัดแย้งกัน๒. ข้อความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
contradictory statementsข้อความขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
control statementข้อความสั่งควบคุม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
contrary statementsข้อความขัดกัน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
clause๑. ข้อความ๒. ข้อกำหนด๓. ข้อ๔. บท๕. วรรค (ในบทกฎหมาย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
clause๑. ข้อความ (ในนิติกรรม)๒. วรรค (ในบทกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Hypertextข้อความหลายมิติ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Error messages (Computer science)ข้อความระบุความผิดพลาด (คอมพิวเตอร์), Example: <strong>ข้อความระบุความผิดพลาด</strong> ซึ่งเป็นข้อความที่จะปรากฏขึ้นบนจอแสดงภาพโดยอัตโนมัติ หรือที่พิมพ์ออกมาทางรายงาน เพื่อเตือนให้ผู้ใช้งานทราบว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้น มีบางอย่างผิด จึงทำให้โปรแกรมไม่สามารถดำเนินการเสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยเหตุผลบางประการ ซึ่งข้อความดังกล่าวจะเป็นลักษณะข้อความไม่ยาวมาก เพียงพอสำหรับระบุว่าเกิดความผิดพลาดขึ้นที่ใด แต่ไม่ได้บอกว่าจะแก้ไขความผิดพลาดนั้นอย่างไร ดังนั้นประสบการณ์ในการทำงานจึงจำเป็นมากสำหรับค้นหาและแก้ไขความผิดพลาด ดังตัวอย่างต่อไปนี้</p> <li> <strong>400 - Bad File Request</strong><br /> ไวยากรณ์ (Syntax) ที่ใช้กับ URL นั้นมีข้อผิดพลาดเช่น มีการใส่ตัวอักษรเล็ก - ใหญ่สลับกัน หรืออาจจะมีการใช้เครื่องหมายต่างๆ ผิด</li> <p style="text-align: center"> <img alt="" height="221" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/phpcNs2FO" style="width: 454px; height: 221px" width="487" /></p> <li> <strong>403 - Forbidden/Access Denied</strong><br /> ผู้ใช้ไม่ได้รับอนุญาตให้ดูแฟ้มที่ร้องขอ การเข้าใช้งานต้องใช้รหัสผ่าน หรือโดเมนของผู้ใช้งานถูกปิดกั้นการใช้งาน หรือไฟล์อาจจะใช้ได้เฉพาะกับผู้ใช้ภายในเท่านั้น</li> <li> <strong>404 - File Not Found</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์ไม่สามารถหาไฟล์ที่คุณต้องการได้ ซึ่งไฟล์นั้นอาจจะถูกย้ายไปที่อื่นหรือถูกลบไปแล้ว หรือคุณอาจจะใส่ URL หรือชื่อเอกสารผิด ถ้าคุณเจอปัญหานี้ให้ลองตรวจสอบชื่อที่ใส่ใน URL ว่าถูกต้องหรือไม่</li> <li> <strong>408 Request Timeout</strong><br /> ข้อผิดพลาดนี้เกิดจากการหยุดโหลดเว็บเพจก่อนที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลสำเร็จ ซึ่งอาจจะเกิดจากผู้ใช้ไปคลิกปุ่ม stop หรือปิดบราวเซอร์ หรือไปคลิกลิงค์ก่อนที่เว็บเพจนั้นจะโหลดขึ้นมา โดยมากมักจะเกิดตอนที่เซิร์ฟเวอร์ช้าหรือไฟล์มีขนาดใหญ่</li> <li> <strong>500 - Internal Error</strong><br /> ไม่สามารถเรียกไฟล์เอกสาร HTML ได้เนื่องจากอาจมีปัญหาการตั้งค่าเซิร์ฟเวอร์ วิธีแก้ไขคือ ให้คุณติดต่อผู้ที่ดูแลเว็บไซต์ (Administrator)</li> <li> <strong>501 - Not Implemented</strong><br /> เว็บเซิร์ฟเวอร์นั้นไม่รองรับรูปแบบ (Feature) ที่คุณต้องการ</li> <li> <strong>502 - Service Temporarily Overloaded</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์นั้นมีผู้เข้ามาใช้งานมาก ให้ลองโหลดใหม่ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้</li> <li> <strong>503 - Service Unavailable</strong><br /> เซิร์ฟเวอร์นั้นมีผู้เข้ามาใช้งานมาก หรือเว็บไซต์นั้นอาจจะย้ายไปแล้ว หรือคุณไม่ได้เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตแล้ว</li> <li> <strong>Connection Refused by Host</strong><br /> อาจจะเกิดจากคุณไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้งานเว็บไซต นั้นหรือใส่พาสเวิร์ดไม่ถูกต้อง</li></p> อ้างอิงจาก : </br> ครรชิต มาลัยวงศ์. (2543). พจนานุกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับเยาวชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.</br> คูคิน, แดน และ วัง, วอลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก (ชนินทร์ เชาวมิตร, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Text-to-speech synthesisเทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงจากข้อความ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Optical characters recognitionการรู้จำตัวอักษร (โปรแกรมแปลงภาพเอกสารเป็นข้อความ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ถวายพระพรลากระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี]
Instant messagingเมสเซนเจอร์หรือระบบส่งข้อความทันที [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
promptตัวพร้อม , ข้อความพร้อมรับ [คอมพิวเตอร์]
Messageข้อความ [คอมพิวเตอร์]
Error message (Computer science)ข้อความระบุความผิดพลาด (คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์]
Displayแสดงข้อความข่าวสารทางจอภาพ [คอมพิวเตอร์]
DOS promptตัวพร้อม เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS หากเครื่องของเรามีฮาร์ดิสก์ ข้อความสุดท้ายที่จะเห็นบนจอก็คือ C> ข้อความนี้ก็คือตัวพร้อม ซึ่งแสดงว่า DOS พร้อมรับคำสั่ง [คอมพิวเตอร์]
error messageข้อความระบุความผิดพลาด [คอมพิวเตอร์]
text fileแฟ้มข้อความ, Example: แฟ้มที่บันทึกแต่ละข้อความล้วน คือ ไม่มีรหัสสำหรับจัดตำแหน่งพิมพ์ หรือรหัสที่บอกว่าข้อความเป็นอักษรประเภทไหน แฟ้มนี้เรียกอีกอย่างว่า แฟ้ม ASCII โปรแกรมหลายโปรแกรมมีวิธีให้เราบันทึกเก็บแฟ้มที่สร้างขึ้นเป็นแฟ้มข้อความเราอาจนำแฟ้มนี้ไปใช้ในโปรแกรมอื่นๆ ได้โดยไม่ต้องพะวงถึงรหัสคำสั่งอื่นๆ ในแฟ้ม [คอมพิวเตอร์]
Irradiated foodอาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์]
้ัhypertextข้อความหลายมิติ [คอมพิวเตอร์]
Augmentative and Alternative Communicateอุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology]
Augmentative and Alternative Communication Programซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ &quot;ปราศรัย&quot; ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology]
Digital Accessible Information System Bookหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี, สื่อข้อมูลดิจิทัล เช่น แผ่นซีดี หรือ หน่วยความจำ ที่สามารถนำมาเล่นด้วยเครื่อเล่นหรือคอมพิวเตอร์แล้วได้เป็นเสียงอ่านที่เคยบันทึกเอาไว้ก่อน ทั้งนี้ โดยใช้วิธีการกำหนดตำแหน่ง (mark up) ระหว่างเสียง กับข้อความ (ป้ายกำกับข้อมูลเสียง) ตามมาตรฐานเปิด ของสมาคมเดซี (Daisy Consortium) [Assistive Technology]
e-bookหนังสืออิเล็กทรอนิกส์, สื่อข้อมูลดิจิทัลที่สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์พกพา อาจจะเป็นข้อความอย่างเดียว&nbsp;หรือข้อความและภาพ หรือข้อความ ภาพ และเสียง&nbsp;โดยเน้นให้ทุกคนเข้าถึงได้ โดยเฉพาะคนพิการจะได้รับประโยชน์ในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้ [Assistive Technology]
Electronic mailจดหมายอิเล็กทรอนิกส์, ระบบรับส่งข้อความ (และอาจจะมีเอกสารแนบ) ระหว่างผู้ใช้อินเทอร์เน็ต [Assistive Technology]
Optical Character Recognition Programโปรแกรมแปลงข้อความบนกระดาษเป็นข้อความในคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และรู้จำตัวพิมพ์หรือตัวเขียน โดยการสแกนตัวอักษรหรือข้อความ ด้วยแสง นำมาวิเคราะห์ภาพตัวอักษรหรือข้อความนั้น เพื่อแปลงมาเป็นรหัสตัวอักษรเพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป [Assistive Technology]
Screen Readerโปรแกรมอ่านจอภาพ, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่อ่านข้อความทั้งที่เป็นเนื้อหาและคำสั่งของโปรแกรม เพื่อแปลงเป็นคำอ่านที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับคนตาบอดใช้งานคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology]
หมายเหตุคำอธิบาย ข้อความ หรือข้อมูลเพิ่มเติม, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ หมายเหต [คำที่มักเขียนผิด]
Advertising copyข้อความโฆษณา [TU Subject Heading]
Cohesion (Linguistics)การเชื่อมโยงข้อความ (ภาษาศาสตร์) [TU Subject Heading]
Copy writersนักเขียนข้อความโฆษณา [TU Subject Heading]
Discourse analysisการวิเคราะห์ภาษาระดับข้อความ [TU Subject Heading]
Electronic mail messagesข้อความทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Emphasis (Linguistics)การเน้นข้อความ (ภาษาศาสตร์) [TU Subject Heading]
Text editors (Computer programs)โปรแกรมบรรณาธิกรข้อความ [TU Subject Heading]
Consular office Declared ?Non grata?เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต]
Functions of Diplomatic Missionภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต]
Notes in Diplomatic Correspondenceหมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต]
Nuclear Test Banหมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต]
Regional Organizationsคือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ [การทูต]
Sanctionsการบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต]
The Hague Peace Conferencesการประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต]
Vienna Convention on Consular Relationsอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1961 สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้ตกลงให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็ม จากประเทศสมาชิก เพื่อทำหน้าที่พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล และได้ประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1963 ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม ถึงวันที่ 22 เมษายน มีประเทศสมาชิกเข้าร่วมประชุม เป็นจำนวน 92 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ส่วนประเทศโบลิเวีย กัวเตมาลา ปละปารากวัย ได้เข้าร่วมประชุมด้วยในฐานะผู้สังเกตการณ์ (Observers)มีข้อน่าสังเกตว่า ในข้อ 73 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอนุสัญญานี้ว่า จะไม่มีผลกระทบต่อความตกลงระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้บังคับระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงดังกล่าว และไม่มีข้อความใดในอนุสัญญานี้ที่จะตัดหนทางของรัฐในการทำความตกลงระหว่าง ประเทศ เพื่อยืนยันหรือเติมต่อหรือยืดขยายบทแห่งอนุสัญญานี้ออกไปอีก [การทูต]
visaการตรวจลงตรา " การประทับตราหรือข้อความในหนังสือเดินทาง หรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวโดยเจ้าพนักงานของรัฐ เพื่อแสดงว่า ผู้เดินทางได้รับอนุญาตให้เข้ามาพำนัก เดินทางผ่าน และเดินทางออกจากราชอาณาจักร - courtesy visa การตรวจลงตราประเภทอัธยาศัยไมตรี การตรวจลงตราประเภทนี้จำกัดเฉพาะคนต่างด้าวที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราว ซึ่ง (1) ปฏิบัติหน้าที่เพื่อการอื่นนอกเหนือจากการเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต กงสุล หรือราชการ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางทูต หนังสือเดินทางราชการ หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทางทูต หรือหนังสือ เดินทางราชการ) และ (2) เข้ามาในฐานะเป็นพระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ แขกของรัฐบาล หรือหน่วยของรัฐ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางธรรมดา) - diplomatic visa การตรวจลงตราประเภททูต - immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร - non-immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว - non-quota immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้าเมืองนอกกำหนดจำนวนคนต่างด้าว ซึ่งเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นรายปี การตรวจลงตราประเภทนี้จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ 1 ปี - official visa การตรวจลงตราประเภทราชการ - re-entry visa การตรวจลงตราประเภทให้กลับเข้ามาในราชอาณาจักรได้อีก - tourist visa การตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว - transit visa การตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร - visa on arrival การตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาตของด่านตรวจคนเข้าเมือง " [การทูต]
Work of the United Nations on Human Rightsงานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต]
irradiated foodอาหารฉายรังสี, คือ อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใดจึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศ จะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต ผู้ฉายรังสีและวันเดือนปีที่ฉายรังสี [พลังงาน]
Text alternativeทางเลือกที่เป็นข้อความ, Example: การใช้ข้อความแทนเนื้อหาสาระที่อยู่ในรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่ข้อความ เป็นการกำหนดด้วยโปรแกรม หรือการใช้ข้อความเพื่อเสริมสร้างเนื้อหาสาระอื่นที่ไม่ใช้ข้อความ [Assistive Technology]
Cautionary Statementข้อความเตือน [การแพทย์]
text to speechซอฟต์แวร์แปลงข้อความเป็นเสียงสังเคราะห์, Example: ซอฟต์แวร์แช่วยแปลงข้อความเป็นเสียงสังเคราะห์สำหรับช่วยผู้ที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ได้อ่านหนังสือผ่านการฟัง [Assistive Technology]
Markup languageภาษากำกับข้อความ [Assistive Technology]
equivalent statementsข้อความสมมูล, ข้อความสองข้อความที่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี กรณีต่อกรณี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
quantifierตัวบ่งปริมาณ, ข้อความที่บอกปริมาณ  เช่น ประโยค "สำหรับ x ทุกตัว ถ้า x เป็นจำนวนเต็มแล้ว x เป็นจำนวนจริง" ข้อความ "สำหรับ x ทุกตัว " เป็นตัวบ่งปริมาณ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
body (of a table)ตัวเรื่อง, ข้อความหรือตัวเลขที่แสดงไว้ในตารางสถิติ  (ดู statistical table ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
negationนิเสธ, นิเสธของประพจน์ p หมายถึง ประพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปที่มีข้อความ "ไม่เป็นความจริงที่ว่า" เติมอยู่ข้างหน้าประพจน์ p [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
proposition [ statement ]ประพจน์, ข้อความที่เป็นจริงหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยอาจอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
As soon as you get this message, please give me a-- คุณได้รับข้อความนี้เมื่อไหร่ กรุณาโทรกลับ... Basic Instinct (1992)
You have no new messages. คุณไม่มีข้อความใหม่ Basic Instinct (1992)
Hello, this is Roy Washburn, please leave a message. สวัสดีครับ ผม รอย วอชเบิร์น กรุณาฝากข้อความ Basic Instinct (1992)
So she... she had no message for me? งั้นหล่อน ก็ไม่มีข้อความฝากมาถึงฉันใช่ไหม Wuthering Heights (1992)
Some damnable writing. I can't read it. ข้อความระยำสักอย่าง ฉันอ่านไม่ออก Wuthering Heights (1992)
You never found her? ไม่มีข้อความ ไม่มีโทรศัพท์ ไม่มีสิ่งบอกเหตุใดๆ Deep Throat (1993)
Hi. I got your message. ไฮ ฉันได้รับข้อความคุณ Squeeze (1993)
Any favorite passages? ข้อความใด ๆ ที่ชื่นชอบ? The Shawshank Redemption (1994)
Pleased to see you reading this. ยินดีที่จะเห็นคุณที่อ่านข้อความนี้ The Shawshank Redemption (1994)
Dear Red, if you're reading this, you've gotten out. รักสีแดง ถ้าคุณกำลังอ่านข้อความนี้คุณเคยออก The Shawshank Redemption (1994)
May I take a message? ท่านจะฝากข้อความถึงไหมครับ The Great Dictator (1940)
- It's a message. - What's it say? มันเป็นข้อความ มันเป็นสิ่งที่ พูด? Pinocchio (1940)
Are you absolutely sure you left those messages for Mr. De Winter? เเน่ใจนะว่าเธอฝากข้อความ ไว้ให้คุณเดอ วินเทอร์เเล้ว Rebecca (1940)
A message flutters to the ground. Will it be found? ข้อความที่ปลิวร่วงลงพื้นดิน จะมีใครได้อ่านหรือ? Night and Fog (1956)
-A Sicilian message. - ข้อความซิซิลี The Godfather (1972)
I'll get a message to that girlfriend when the time is right. ฉันจะได้รับข้อความถึงแฟนสาวว่าเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม The Godfather (1972)
Leave a message and the docfor will call you back... at his earliest convenience. ทิ้งข้อความไว้ แล้วคุณหมอจะโทรกลับ... ...เมื่อเขาสะดวก Jumanji (1995)
You can do it, It's only one message. คุณทำได้แค่ 1 ข้อความเท่านั้น Oh, God! (1977)
And he wants you to give his message to the world? ท่านอยากให้คุณส่งข้อความให้ชาวโลก Oh, God! (1977)
Jerry Landers. He said that he wanted me to be his messenger, like Moses. เจอร์รี่ แลนเดอร์ส ท่านบอกว่า อยากให้ผมเป็นผู้ส่งข้อความ Oh, God! (1977)
-...at this particular time, Mr. Landers? ผู้ส่งข้อความในช่วงเวลานี้ Oh, God! (1977)
You picked the wrong message boy. ท่านเลือกเด็กส่งข้อความผิดคน Oh, God! (1977)
I don't expect, I insist, that you print his message in your paper and give it the prominence it deserves. ไม่ใช่ ผมขอแนะนำให้นำข้อความนี้ พิมพ์ในหนังสือพิมพ์ของคุณ แล้วก็... ให้ผู้ที่นับถือได้อ่านกัน Oh, God! (1977)
I don't know if he'll show up again, but he gave me his message and-- ผมไม่ทราบว่าท่านจะปรากฏอีกหรือไม่ แต่ท่านบอกข้อความของเขา Oh, God! (1977)
Until everyone gets the message. จนกว่าทุกคนจะได้รับข้อความ Oh, God! (1977)
He is a supermarket manager from Tarzana, California who says that he has been instructed by God to spread the message that God lives and God cares. เขาเป็นผจก.ซูเปอร์มาร์เก็ต จากทาร์ซานน่า เขาบอกว่าพระเจ้าสั่งให้เขา เผยแพร่ข้อความว่า พระเจ้ามีตัวตนและท่านเป็นห่วง Oh, God! (1977)
This'll give me credibility, and God'll get his word across. ใช่ มันทำให้ผมมีชื่อเสียง พระเจ้าอยากส่งข้อความออกไป Oh, God! (1977)
I gave a message of encouragement, you passed it along, now we'll see. ผมส่งข้อความให้กำลังใจผู้คน คุณส่งข้อความต่อ Oh, God! (1977)
You think anybody got the message? ท่านว่าจะมีใครได้รับข้อความมั้ยครับ Oh, God! (1977)
You coax a man into doing it to you, and a man gets the message fast. คุณ ชักชวน คนในการทำ มัน ให้ คุณ และ คนที่ได้รับข้อความ อย่าง รวดเร็ว I Spit on Your Grave (1978)
By the way, all your messages are in the communication bay. โอ้โดยวิธีการที่ข้อความ ทั้งหมดของคุณ อยู่ในอ่าวสื่อสาร 2010: The Year We Make Contact (1984)
-There is a message for you. มีข้อความ สำหรับคุณคือ 2010: The Year We Make Contact (1984)
What's the message? The message as folIows: อะไรข้อความหรือไม่ ข้อความ ดังต่อไปนี้: 2010: The Year We Make Contact (1984)
Do you want me to repeat the message, Dr. floyd? คุณต้องการให้ฉันไปทำซ้ำ ข้อความดร. ฟลอยด์? 2010: The Year We Make Contact (1984)
Is this message by voice or keyboard? คือข้อความนี้ด้วยเสียงหรือ แป้นพิมพ์? 2010: The Year We Make Contact (1984)
Dr. Curnow is not sending the message. ดร. นาวไม่ได้ส่งข้อความ เขาอยู่ในการเข้าถึงวิธีที่ 2 2010: The Year We Make Contact (1984)
There may be another message after if all goes well. อาจมีข้อความอีกครั้งหลังจากที่ ถ้าทุกอย่างเป็นไปด้วยดี 2010: The Year We Make Contact (1984)
Message from Milson to floyd. Top secret. ข้อความจาก มิลสอน ไปฟ ลอยด์ ความลับสุดยอด. 2010: The Year We Make Contact (1984)
Message from Milson to floyd. ข้อความจาก มิลสอน ไปฟ ลอยด์ 2010: The Year We Make Contact (1984)
Now there is one final message for you to transmit to Earth. ตอนนี้มีหนึ่งข้อความสุดท้าย สำหรับคุณที่จะส่งไปยังโลก 2010: The Year We Make Contact (1984)
It is the most important message you have ever sent. มันเป็นข้อความที่สำคัญที่สุด คุณได้ส่งเคย 2010: The Year We Make Contact (1984)
Message commencing. เริ่มข้อความ 2010: The Year We Make Contact (1984)
They read the message, and perhaps they learned something because they finally recalled their ships and their planes. พวกเขาอ่านข้อความและบางที พวกเขา ได้เรียนรู้บางสิ่งบางอย่างเพราะ พวกเขาในที่สุด จำได้ว่าเรือและเครื่องบินของ พวกเขา 2010: The Year We Make Contact (1984)
This means some messenger from the castle may come tonight to take you. มันคือข้อความที่ เคานท์ส่งถึงเธอ Vampire Hunter D (1985)
It doesn't matter! (ข้อความสำหรับการลาจากของพวกเค้า) Full House (1987)
We'll run up the white flag and deliver your message. พวกเราจะชักธงสีขาวและส่งข้อความของท่าน The Princess Bride (1987)
$10 deposit for the sheets. กรอกข้อความ 3ฉบับ Big (1988)
- Have a pleasant stay. คนต่อไปค่ะ กรอกข้อความ 3 ฉบับ Big (1988)
A code. ข้อความ A Short Film About Love (1988)
My ex-roommates cover for me. If he calls, they leave me a message on my service, so it all works out. ถ้าพ่อโทรมา เพื่อนร่วมห้อง จะโทรมาฝากข้อความไว้ให้ Punchline (1988)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ฝากข้อความ[fāk khøkhwām] (v, exp) EN: leave a message
จดข้อความไว้[jot khøkhwām wai] (v, exp) EN: take a message  FR: prendre un message
การวิเคราะห์ระบบข้อความ[kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis
การวิเคราะห์ระบบข้อความ[kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis
ข้อความ[khøkhwām] (n) EN: subject ; case ; matter ; story ; gist ; substance ; message  FR: contenu [ m ] ; teneur [ f ] ; substance [ f ] ; message [ m ] ; important [ m ]
ข้อความ[khøkhwām] (n) EN: text ; wording ; context ; passage ; statement ; message ; clause ; matter
ข้อความดังต่อไปนี้[khøkhwām mī dang tøpainī] (xp) EN: the text reads as follows
ข้อความพันธกิจ[khøkhwām phanthakit] (n, exp) EN: mission statement
ข้อความเพิ่มเติม[khøkhwām phoēmtoēm] (n, exp) EN: additional clause ; additional comment ; rider  FR: ajout [ m ]
ข้อความสำคัญ[khøkhwām samkhan] (n, exp) EN: point
ข้อความสุดท้าย[khøkhwām sutthāi] (n, exp) EN: ending
ข้อความที่บันทึกไว้[khøkhwām thī bantheuk wai] (n, exp) EN: annals
ข้อความที่ขาดหายไป[khøkhwām thī khāt hāi pai] (n, exp) EN: lacuna
ข้อความย่อย[khøkhwām yǿi] (n, exp) EN: indentation

Longdo Approved EN-TH
sidebar(n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก
blog(n) เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้, See also: weblog, web diary, Syn. online diary
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
cutout(n) แผ่นป้าย ที่ตัดจากไม้หรือวัสดุอื่นตัดเป็นชิ้นขนาดใหญ่ มักมีรูปภาพหรือข้อความโฆษณาบนแผ่นป้ายนั้น เช่น Cardboard cutouts, lifesize standups of movie stars at wholesale prices., See also: board
TL;DR(phrase, slang) ย่อมาจาก too long; didn't read เป็นคำศัพท์ที่ใช้กันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อระบุว่า ข้อความที่ตามมาจะเป็นการสรุปเนื้อหาสั้นๆ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาอ่านทั้งบทความ (ซึ่งมักจะต้องใช้เวลานาน)

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
acknowledgement(n) ใบตอบรับ, See also: ข้อความแสดงว่าได้รับ, Syn. acknowledgment
acknowledgment(n) ใบตอบรับ, See also: ข้อความแสดงว่าได้รับ, Syn. acknowledgement
affirmative(n) ข้อความที่แสดงการยินยอม, See also: ข้อความที่แสดงการเห็นพ้อง
ambiguity(n) ข้อความกำกวม, See also: ข้อความคลุมเครือ
annals(n) จดหมายเหตุ, See also: ข้อความที่บันทึกไว้, บันทึก, ประวัติการณ์, Syn. history, historical records, historical chronicles
address to(phrv) ส่ง (คำพูด, ข้อเขียน, ข้อความ) ไปยัง, Syn. direct to
broadcast(n) รายการออกอากาศ, See also: ข้อความที่ออกอากาศ, Syn. programme
construe(vi) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ)
construe(vt) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ)
context(n) บริบท, See also: ข้อความแวดล้อมที่ช่วยในการเข้าใจความหมาย, Syn. linguistic context
cross-reference(n) ข้อความที่ชี้บอกผู้อ่านให้ไปอ่านอีกตอนหนึ่งในหนังสือเล่มเดียวกัน
draft out(phrv) ร่าง (เอกสาร, ข้อความ, แผนการ)
disclaimer(n) ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ, Syn. denial, rejection, contradiction, Ant. avowal, affirmation
distortion(n) การบิดเบือน, See also: ข้อความเท็จ, เรื่องโกหก, Syn. lie, untruth, Ant. truth, fact
encryption(n) เปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัส, See also: การนำข้อความมาทำให้เป็นรหัส
epexegesis(n) การเพิ่มคำหรือวลีเพื่ออธิบายความหมายของข้อความ
epexegesis(n) การเพิ่มคำหรือวลีเพื่ออธิบายความหมายของข้อความ
epitaph(n) คำพูดหรือข้อความสั้นๆ ที่ทำขึ้นเพื่อระลึกถึงผู้ตาย, Syn. velediction
excerpt(n) ข้อความที่ตัดตอนมา, See also: ส่วนที่ตัดตอนมา, Syn. extract, selection
excerpt(vt) ตัดตอนมา (ข้อความ, ย่อหน้า เป็นต้น), Syn. extract, select
extract(n) ข้อความที่คัดเลือกมาจากหนังสือ, หนัง, ละคร, See also: ส่วนที่ตัดตอนมา, Syn. citation, excerpt, passage
extract(vt) คัดลอกหรือตัดทอน (ข้อความ), See also: คัด, ตัดทอน, Syn. cite, excerpt, quote
fax(n) โทรสาร (คำย่อของ facsimile), See also: แฟกซ์, ข้อความที่ส่งทางโทรสาร, Syn. facimile
foreshorten(vt) ย่อข้อความให้สั้นลง (คำทางการ), See also: ทำให้สั้นขึ้น, Syn. abridge
get in(phrv) ส่งข้อความให้กับ, Syn. keep in, lose with
headword(n) คำหลัก, See also: คำสำคัญที่นำหน้าข้อความ
highlighter(n) ปากกาสำหรับเน้นข้อความเพื่อให้เห็นเด่นชัด
inscription(n) สิ่งที่จารึก, See also: ข้อความที่จารึก, Syn. engraving, epitaph
interline(vt) สอดแทรกคำระหว่างบรรทัดหรือข้อความ, Syn. line, face
interpolate(vt) แทรกคำลงในข้อความ, Syn. insert
leave word at(idm) ฝากข้อความไว้ที่, See also: ฝากข้อความไว้กับ, Syn. leave for, leave with
leave word for(idm) ฝากข้อความไว้ให้กับ, Syn. leave at, leave with
leave word with(phrv) ฝากข้อความไว้กับ, Syn. leave at
jotting(n) ข้อความสั้นๆ, See also: บันทึกข้อความสั้นๆ, Syn. note
libel(n) การหมิ่นประมาท (ข้อความ, รูปภาพ), See also: การสบประมาท, การใส่ร้ายป้ายสี, การกล่าวโทษใส่ร้าย, Syn. defamation
line(n) จดหมายสั้นๆ, See also: ข้อความ, Syn. short letter
loc. cit.(abbr) ตามที่อ้างอิงไว้ในข้อความที่กล่าวมาแล้ว (คำย่อของ loco citato)
memorandum(n) บันทึกข้อความ, See also: บันทึกความจำ, ข้อความที่บันทึก, บันทึก, Syn. notice, record, message, note, memo
message(n) ข่าวสาร, See also: ข่าวคราว, ข้อความ, สาร, Syn. new, document, letter, note
Morse code(n) ระบบส่งข้อความด้วยสัญญาณเสียงหรือไฟ, See also: รูปแทนเมื่อพิมพ์คือ จุดและขีดเช่น _._.
note(n) ข้อความ, See also: โน้ต, หมายเหตุ, จดหมายสั้นๆ, Syn. message, report
op. cit.(abbr) เรื่องเดิม, See also: แหล่งอ้างอิงเดิม, ข้อความเดิม
palindrome(n) คำ วลี ประโยค ข้อความที่อ่านได้เหมือนกันทั้งจากหน้า/หลัง, Syn. wordplay, witticism
paragraph(n) ย่อหน้า, See also: ตอนหนึ่งของข้อความ, Syn. passage, section, article
parentheses(n) ข้อความแทรกในวงเล็บ, Syn. aside, digression, divagation
passage(n) ตอน, See also: ส่วนบทความ, ข้อความ, บทความ, ท่อนเพลง
prose(n) ข้อความที่จืดชืด
record(n) บันทึก, See also: ข้อความที่บันทึกไว้, รายงาน, บันทึกความทรงจำ, Syn. reminder, report
rider(n) ข้อความเพิ่มเติม, See also: ความเห็นเพิ่มเติม, Syn. additional clause, additional comment
roger(int) คำอุทานหมายถึงเข้าใจข้อความ

Hope Dictionary
alert boxช่องข้อความเตือนหมายถึงช่องข้อความที่คอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นบนจอภาพ มีข้อความเตือนในเรื่องการใช้คำสั่งบางประการที่อาจทำให้เกิดผลเสีย เช่น เครื่องพิมพ์ไม่มีกระดาษ ข้อความบางตอนอาจศูนย์หาย ฯ เป็นต้น
alpha testการทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ
alpha versionรุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ
amplification(แอมพลิฟีเค' เชิน) n. การขยายออกให้กว้างหรือใหญ่ขึ้น, ภาวะที่ถูกขยายออก, การขยายข้อความหรือเรื่องราว, ข้อความหรือเรื่องราวที่ขยายออก, สิ่งที่ใช้ขยาย, การเพิ่มกำลังกระแสไฟฟ้าหรือการเพิ่มโวลต์, Syn. enlargement, Ant. reduction
antinomy(แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction)
arithmetic statementข้อความสั่งคำนวณ <คำแปล>หมายถึง คำสั่งที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ นำค่าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหรือนำค่าเหล่านั้นไปทำการคำนวณ เมื่อได้ผลจากการคำนวณแล้วจึงนำไปเก็บในตำแหน่งที่ซี่งกำหนดไว้ เช่น score = A+B หมายความว่า ให้นำค่า A+B ได้ผลเท่าใด นำไปเก็บไว้ที่ score
ascii fileแฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
attribute(อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น
autoexec.batชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis :
averment(อะเวอ'เมินท) n. การเฉลี่ย, ข้อความหรือถ้อยแถลงที่แน่นอน (act of averring)
bad sectorsส่วนวงเสียหมายถึงส่วนวงในร่องที่ใช้บันทึกข้อมูลบนแผ่นจานบันทึกเสีย ทำให้ไม่สามารถอ่านข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงไปเก็บได้ คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อความนี้บนจอภาพเมื่อสั่งให้อ่านหรือบันทึกข้อมูล แล้วไม่สามารถทำได้ เพราะเกิดกรณีนี้ขึ้น
bbs(บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
blip(บลิพ) n. ตำแหน่งแสงบนจอเรดาร์ที่แสดงตำแหน่งวัตถุในรัศมีเรดาร์, เสียงสั้นที่ดังชัด, สัญลักษณ์, เสียงขาดหายไประหว่างรายการโทรทัศน์, การหยุดในระยะเวลาสั้น -v. สับสวิตช์ออกและเข้าอย่างรวดเร็ว, ลบคำหรือข้อความหรือเสียงที่ไม่ต้องการออก -S...
boilerplateต้นแบบหมายถึง เอกสารประเภทหนึ่งที่ทำเอาไว้เป็นแบบ เรียกว่า boilerplate document นิยมนำมาใช้ในเวลาที่รีบร้อน ไม่มีเวลาคิดหาถ้อยคำเพราะ ๆ เช่น บัตรเชิญ จดหมายขอบคุณ จดหมายแสดงความยินดี แสดงความเสียใจ หรือ สัญญาต่าง ๆ เมื่อนำมาใช้ ก็เพียงแต่เปลี่ยนข้อความให้เหมาะกับสถานการณ์เท่านั้นมีความหมายเหมือน template
bookmarkn. ที่คั่นหนังสือ, ริบบิ้นหรือกระดาษคั่นหนังสือ ที่คั่นหนังสือคั่นหน้า1. การใช้ที่คั่นหนังสือนั้นเพื่อประโยชน์ในการกลับมาหาที่เก่าได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาค้นหา ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทำไว้ให้ง่ายในการกลับมาค้นหา 2. เป็นคำสั่งในโปรแกรมบางโปรแกรมที่ช่วยให้กลับมาค้นหาง่าย กล่าวคือนำข้อความหรือคำสั่งมารวมไว้ หากต้องการสั่งก็จะหาพบได้ง่าย เช่น ในโปรแกรมเน็ตสเคป (ใช้อินเตอร์เน็ต) การเลือกคำสั่ง bookmark หมายถึงการนำชื่อโฮมเพจที่จะใช้บ่อย ๆ ไปเก็บรวมไว้ เมื่อต้องการกลับไปใช้อีก จะได้สั่งได้สะดวก
brief(บรีฟ) { briefed, briefing, briefs } adj. สั้น, ชั่วคราว, รวบรัด, กะทัดรัด, สรุป. n. ข้อสรุป, ข้อความที่สั้น, สาระสำคัญ, การเป็นทนาย, สำนวนแก้ฟ้องต่อศาล. vt. สรุป, ย่อความ, กล่าวสรุป, Syn. little
bullet(บูล'ลิท) { bulletted, bulletting, bullets } n. กระสุนปืน, กระสุน, หัวกระสุน, ลูกตะกั่ว, ลูกกลม เล็ก. vi. เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วมาก, Syn. shot เครื่องหมายนำสายตา จุดนำหมายถึงสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ที่นำมาวางหน้าข้อความ หรือหัวข้อเพื่อเน้นให้ดูเด่นหรือเห็นชัดขึ้นเช่น* ตัวอักษร* ตัวเลข* เครื่องหมายต่าง ๆ
bulletin board systemระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
byte(ไบทฺ) n. หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่ากับ 1 อักขระหรือ 8 บิต, ข้อมูลจำนวน 8 บิต, ชุดของบิต (bit) ซึ่งคอมพิวเตอร์จัดไว้สำหรับเก็บข้อมล 1 ชุด คอมพิวเตอร์ต่างชนิดจะจัดชุดของบิตไว้ไม่เท่ากัน เช่น เครื่อง IBM 360 จัดบิตไว้เป็นชุด ๆ ละ 8 บิต เรียกว่า ไบต์ โดยปกติ ใช้เป็นหน่วยวัดขนาดของหน่วยความจำ หรือจานบันทึกว่า มีขนาดเก็บได้กี่ตัวอักษร หน่วยวัดที่ใช้กันนั้น วัดกันเป็นกิโลไบต์ (kilobyte) เรียกว่า K byte เท่ากับประมาณ 1 พันไบต์ หรือหนึ่งพันตัวอักษร, เมกะไบต์ (mega byte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านไบต์ , กิกะไบต์ (gigabyte) เท่ากับประมาณ 1 พันล้านไบต์ และเทราไบต์ (terabyte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านล้านไบต์เช่น เราอาจพูดว่า ฮาร์ดดิสก์ในเครื่องนี้มีขนาดความจุ 2 กิกะไบต์ (หมายความว่าสามารถเก็บข้อความได้สองพันล้านตัวอักษร) อนึ่ง หน่วยวัดที่นิยมใช้มีดังนี้ 1 KB (kilobyte) = 1, 024 ไบต์ 1 MB (Megabyte) = 1, 048, 576 ไบต์ (หรือ 1, 024 Kbytes) 1 GB (gigabyte) = 1, 073, 741, 824 ไบต์ (หรือ 1, 024 Mbytes) 1 TB (terabyte) = 1, 099, 511, 627, 776 ไบต์ (หรือ 1, 024 Gbytes)
cant(แคนทฺ) n. ข้อความเท็จ, คำพูดเท็จ, คำพูดปากหวานก้นเปรี้ยว, ถ้อยคำพิเศษที่ใช้เฉพาะในหมู่ชนหนึ่ง ๆ , ภาษาวิชาชีพ, การพูดเป็นเพลง, ความเอียง vi. พูดแบบปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, พูดเป็นเพลง, Syn. hypocrisy
caption(แคพ'เชิน) { captioned, captioning, captions } n. หัวข้อ, ข้อความจ่าหน้า, คำอธิบายภาพ vt. เพิ่มหัวข้อ, จ่าหน้า, Syn. heading, title, head
card punchอุปกรณ์เจาะบัตรหมายถึง อุปกรณ์แสดงผล (output device) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องเจาะบัตร หรือ เครื่องที่ใช้บันทึกข้อความลงบนบัตรด้วยการเจาะรู ซึ่งเป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษอื่น ๆ ต่างกับเครื่องเจาะบัตรที่เรียกว่า keypunch กล่าวคือ keypunch เป็นเครื่องเจาะบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ (คนเป็นผู้เจาะ) แต่ card punch เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดู keypunch เปรียบเทียบ
cd-rom(ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง
chit(ชิท) n. เด็ก, เด็กสาว, เด็กเล็ก ๆ , ใบเซ็นชื่อเชื่อ, ใบเสร็จรับของ, ใบสำคัญหลักฐานการจ่าย, จดหมายที่มีข้อความเล็กน้อย, หน่ออ่อน, หน่อ vt. เด็ดเอาหน่อออก, Syn. child
client applicationโปรแกรมเฉพาะเครื่อง1. ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) คำนี้หมายถึง โปรแกรมที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์บางเครื่อง โดยปกติ ในระบบเครือข่ายนั้น จะต้องมีคอมพิวเตอร์กลางเครื่องหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ไว้ให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายสามารถเรียกไปใช้ได้ เรียกว่า เครื่องบริการแฟ้ม (file server) (คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายไม่จำเป็นต้องมีโปรแกรมเหล่านั้น) แต่ถ้าเครื่องบริการแฟ้มนั้นเสีย คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายเดียวกันนั้นก็จะทำงานไม่ได้เลย ฉะนั้น เราจึงมักจะให้คอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายมีโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องของตนเองด้วย อย่างไรก็ตาม ในกรณีนี้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่แม้จะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน จะไม่สามารถเรียกโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปใช้ได้ เราเรียกโปรแกรมที่เก็บอยู่เฉพาะในเครื่องนี้ว่า " client application "2. โปรแกรมบนระบบวินโดว์ที่สามารถโยงถึงที่มาของภาพหรือข้อความที่เป็นต้นแบบได้ หากเมื่อใดมีการแก้ไขในแฟ้มต้นแบบ โปรแกรมก็จะจัดการแก้ไขในแฟ้มใหม่ ให้ด้วย ดู OLE เปรียบเทียบ
clipboardคลิปบอร์ดกระดาษทดหมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำที่กันไว้ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว มีใช้ทั้งในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช และระบบวินโดว์ของพีซี เนื้อที่ที่กันเอาไว้ส่วนนี้ทำหน้าที่เหมือนกระดาษทด ที่หากใช้คำสั่ง cut หรือ copy (ใต้เมนู Edit) แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะนำข้อความหรือภาพที่ถูก cut หรือ copy นั้นไปเก็บไว้ที่นั่น ข้อความหรือภาพที่อยู่ในนั้น จะอยู่ในกระดาษทดหรือคลิปบอร์ดนี้จนกว่าจะมีข้อความหรือภาพใหม่ไปทับ เราสามารถนำข้อความหรือภาพที่อยู่บนกระดาษทดนี้ไปวางหรือ paste ลงในแฟ้มข้อมูลของโปรแกรมใดก็ได้ ดู copy, cut, paste ประกอบ
clipboard viewerที่ดูคลิปบอร์ดเป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งในระบบวินโดว์ เมื่อเรียกใช้ จะแสดงให้ดูทันทีว่า ในคลิปบอร์ดมีภาพหรือข้อความใดเก็บอยู่ เมื่อเราใช้คำสั่ง paste ที่อยู่ใต้เมนู EDIT ซึ่งจะมีอยู่ในทุกโปรแกรม ภาพหรือข้อความที่มองเห็นว่าอยู่ในคลิปบอร์ดจะไปปรากฏ ณ ตำแหน่งที่กำหนดให้ทันทีดู clipboard ประกอบ
command lineบรรทัดคำสั่งหมายถึงข้อความที่พิมพ์ลงบนจอภาพ เพื่อเป็นคำสั่งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน โดยปกติใช้หมายถึงคำสั่งที่อยู่พิมพ์หลัง A> B> หรือ C> เช่น A>COPY C:garuda.pm4
compact diskใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง
con(คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น
config.sysแฟ้มโครงแบบย่อมาจาก configuration system เป็นชื่อแฟ้มข้อมูลที่ใช้ในระบบดอสและโอเอสทูซึ่งจะมีข้อความที่กำหนดในเรื่องการใช้แป้นพิมพ์ จำนวนของบัฟเฟอร์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ระบบนั้นจะใช้ ฯ พอเริ่มใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ไปสักพัก ก็จะต้องเรียนรู้วิธีการสร้างแฟ้มข้อมูลนี้ คอมพิวเตอร์จะแฟ้มข้อมูลนี้เฉพาะเมื่อมีการเริ่มเครื่องใหม่เท่านั้น
control cardบัตรควบคุมหมายถึง บัตรซึ่งบรรจุข้อความที่เป็นภาษาควบคุมงานซึ่งได้มีการกำหนดไว้เป็นรหัสเป็นการเฉพาะ เพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ กัน หรือใช้กับงานชนิดต่าง ๆ เช่น บัตรควบคุม อาจจะเป็นตัวบอกว่า โปรแกรมหรือชุดคำสั่งชุดต่อไปจะเป็นภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล หรือภาษาอื่น ๅ บัตรควบคุมอาจทำให้รู้ได้ว่างานนี้เป็นงานของนิสิต หรือเป็นงานของนักวิจัยทั่วไป เพราะบางทีอาจมีการกำหนดข้อห้ามบางอย่างสำหรับงานของนิสิตไว้ในระบบ ปัจจุบัน ไม่ค่อยมีการใช้บัตรแล้ว คำนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปด้วยดู card (บัตร)
control statementข้อความสั่งควบคุมในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้น โดยปกติ เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่งไปทีละคำสั่ง โดยเรียงไปตามลำดับก่อนหลัง แต่เราอาจใช้ข้อความสั่งให้ควบคุมการทำงานได้เช่น กระโดดข้าม, วนกลับไปทำบางคำสั่งใหม่หรือวนหลาย ๆ รอบหรือหยุดทำถ้า ... ข้อความสั่งเหล่านี้มีอยู่หลายคำสั่ง ขึ้นอยู่กับภาษาเป็นต้นว่า GOTO, DO, IF ในภาษาฟอร์แทรน หรือ FOR.....NEXT ในภาษาเบสิก
cryptographyวิทยาการเข้ารหัสลับหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการกำหนดรหัสให้แก่ข้อความต่าง ๆ ที่คนภายนอกจะไม่สามารถเข้าใจ ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสและเข้าใจความหมายได้
decryptionการถอดรหัสลับหมายถึงการถอดรหัส หรือแปลความของรหัส ให้เป็นข้อความที่เข้าใจได้ เช่นรหัส 3716543 มีความหมายว่า เป็นเลขประจำตัวของนักศึกษาที่เริ่มเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2537 อยู่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ดู encryption ประกอบ
delete(ดิลีท') vt. ลบออก, เอาออก ลบทิ้งลบออกลบ1. หมายถึง แป้นสำหรับสั่งให้ลบทิ้ง การกดแป้นนี้ จะทำให้ลบตัวอักขระที่ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) นำอยู่ออก ตัวอักขระที่อยู่ถัดไปจะเลื่อนขึ้นมาทางซ้ายอีกตำแหน่งหนึ่งตามกันมาเป็นกระบวน2. ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ที่แท้จริงนั้น หมายถึง การลบข้อความหรือข้อมูล หรือระเบียน ออกจากแฟ้มข้อมูล (file) หรือฐานข้อมูล (database) 3. ในระบบดอส ใช้เป็นคำสั่งลบชุดคำสั่ง (program) หรือแฟ้มข้อมูล (file) ที่เก็บไว้ในจานบันทึก (disk) เช่นเดียวกับคำสั่ง ERASE อาจใช้ตัวย่อว่า DEL ก็ได้ เช่น A>DEL* . BASมีความหมายเหมือน erase
desktop publishingการจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
dimmedจางซีดในระบบวินโดว์ที่มีรายการคำสั่งให้เลือก หากรายการคำสั่งใดปรากฏบนจอภาพด้วยสีจาง แสดงว่าเป็นคำสั่งที่จะยังเลือกใช้ไม่ได้ สาเหตุที่ยังเลือก ใช้ไม่ได้ อาจเป็นเพราะผิดขั้นตอน เช่นสั่งให้คัดลอก แต่ยังไม่ได้กำหนดว่าจะให้คัดลอกข้อความหรือภาพใด
doc(ดอค) n. ดูdoctor, คำสั้น ๆ ที่ใช้เรียกนายแพทย์ ทันตแพทย์ หรือสัตวแพทย์ abbr. II-deoxycorticosterone ด็อก <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า document มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลหรือ แฟ้มเอกสาร (.doc) ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้
document fileแฟ้มเอกสารหมายถึง แฟ้มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ เป็นแฟ้มที่ต้องมีการจัดรูปหน้าไว้เรียบร้อย มักใช้นามสกุล (file type) ว่า .docดู non document file เปรียบเทียบ
drag(แดรก) { dragged, dragging, drags } vt. ลาก, ดึง, กวาด, คราด, เลื่อน, ลอก, นำเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามา, เอ้อระเหย, เฉื่อยชา vi. ถูกลากหรือดึงไปตาม, เลื่อนบนพื้นดิน, เคลื่อนอย่างอืดอาด, ล้าหลัง, ขุดลอก. n. เครื่องมือลาก, การลากอวน, คนที่น่าเบื่อที่สุด, สิ่งที่เบื่อที่สุด หมายถึง การใช้เมาส์ลากเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งบนจอภาพจากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่งใหม่ บางทีใช้หมายถึงการ "ลากดำ" หรือ "ทำแถบสี" บนข้อความบางตอนเพื่อเป็นการบอกคอมพิวเตอร์ว่าได้เลือกข้อความนี้ไว้ แล้วจะใช้คำสั่ง cut หรือ copy ต่อไป
drag and dropลากแล้วปล่อยลากไปวางหมายถึง การใช้เมาส์ลากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (ภาพหรือข้อความทั้งบล็อก) บนจอภาพ ไปวางไว้ยังตำแหน่งใหม่ โดยต้องกำหนด (select) ให้คอมพิวเตอร์รู้ก่อน แล้วจึงใช้เมาส์ลากไป การลากด้วยเมาส์นั้น จะต้องกดนิ้วชี้บนปุ่มซ้ายของเมาส์แช่ไว้ ในขณะที่ลากเมาส์เพื่อนำไปวางในที่ ๆ ต้องการ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงจะยกนิ้วออกจากเมาส์ได้ ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) อาจลากไปได้ทั้งแถวหรือทั้งคอลัมน์
drum(ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum
dtp(ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
e-mail addressหมายเลขไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หมายถึง หมายเลขประจำตัวหรือรหัสประจำตัวที่กำหนดให้แก่สมาชิก ผู้ใช้หมายเลขนี้จะใช้สำหรับส่งจดหมายหรือเรียกดูข้อความที่ส่งมาทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวโปรแกรมที่ใช้ จะต้องทำหน้าที่เหมือนที่ทำการไปรษณีย์ โดยจะรับข่าวสารที่มีผู้ส่งมาแล้วเก็บรอไว้ จนกว่าผู้รับจะเรียกออกมาดู
edit modeภาวะบรรณาธิกรหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์อยู่ในสภาวะที่เตรียมพร้อมจะรับการแก้ไข เราสามารถสั่งแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ โดยผ่านทางแป้นพิมพ์
electronic mailไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า e-mail หมายถึงการสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (e-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก
em dash(เอ็มแดช) เป็นอักษรพิเศษตัวหนึ่งที่ใช้ในการพิมพ์ มีลักษณะเป็นขีดยาวเท่า ๆ กับอักษร M หรือเครื่องหมาย hyphen 2 ตัวพิมพ์ติด ๆ กัน (--) โดยปกติ จะใช้เพื่อแสดงว่าต้องการเน้นข้อความนั้น ๆ เช่น " การ เล่นกอล์ฟเป็นการพนันอย่างหนึ่ง -- การพนันที่เป็นที่นิยมมากเสียด้วย " ดู en dash เปรียบเทียบ
encryption(เอน' สคริพเชิน) n. การสร้างรหัสลับ, การนำข้อความมาเข้ารหัส
endorsevt. สลักหลังเช็คหรือตั๋วเงิน, รับรอง, เห็นด้วย, อนุมัติ, ลงนามเห็นด้วยหรืออนุมัติ, บันทึกข้อความไว้ในใบอนุญาต, เซ็นชื่อรับรอง., See also: endorsable adj. ดูendorse endorsement n. ดูendorse indorsement n. ดูendorse endorser n. ดูendorse indor

Nontri Dictionary
digestion(n) การย่อยอาหาร, การไตร่ตรอง, การเก็บข้อความสำคัญ
excerpt(n) ข้อความที่ตัดตอนมา, สิ่งที่สกัดมา, ข้อความที่คัดลอกมา
idyl(n) ข้อความพรรณนาสั้นๆ, บทกวีลูกทุ่ง
idyll(n) ข้อความพรรณนาสั้นๆ, บทกวีลูกทุ่ง
information(n) การบอก, ข้อความ, ข่าว, ความรู้, เรื่องที่บอก, ข้อมูล
notebook(n) สมุดบันทึกข้อความ
passage(n) การข้าม, ทางเดิน, การผ่าน, ค่าโดยสาร, ข้อความ
purport(n) ความหมาย, ใจความ, ข้อความ, วัตถุประสงค์
rider(n) ผู้ขับ, ผู้ขี่, สัตว์ที่ใช้ขี่, ข้อความเพิ่มเติม
truism(n) ข้อความที่เป็นจริง, ข้อความซ้ำซาก

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
channelise(vi) กำหนดการเดินทาง สร้างช่องทางสำหรับ ส่งบุคคลหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง การส่งข้อความผ่าน
Context (contexte)(n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) บริบท (คำหรือข้อความแวดล้อมที่ช่วยให้เข้าใจความหมาย
Deverbalism (deverbalisme)(n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง
executable statement(n) ข้อความสั่งทำการหมายถึง คำสั่งในภาษาระดับสูงที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ลงมือทำการ
foregoing[ฟอร์-โก-อิ้ง] (n, adj) สิ่งที่กล่าวมาก่อนหน้านี้, ข้อความก่อนหน้านี้ มักใช้ว่า the foregoing (อาจจะใช้ในเชิงกฎหมาย) เช่น The foregoing shall not affect the obligation of any person to comply with the applicable provisions of laws. ถ้าเป็น adj. จะใช้เติมนำหน้านามเท่านั้น, See also: A. following
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
phishing(n) การหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ต, การส่งข้อความที่ดูน่าเชื่อถือ เพื่อหลอกลวงให้กรอกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลบัตรเครดิต ฯลฯ ลงไป, See also: phishing email, Syn. fishing
router(n) Router คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ computer จากเครือข่ายหนึ่ง ไปยัง computer อีกเครือข่ายหนึ่ง หรือเปรียบเทียบง่าย ๆ ก็คือ ผู้ที่ทำหน้าที่เหมือนบุรุษไปรษณีย์ ที่คอยส่งข้อความจาก computer เราไปยังที่อื่น แถมยังเลือกเส้นทางที่สะดวก หรือใกล้ที่สุด เพื่อจะไปยังจุดหมายปลายทาง Router มีทั้งแบบกระจายสัญญาณ และทำหน้าที่รับสัญญาณอย่างเดียว
ลานข่าว[/laan-/kh'ao-/] (n) แถบนอนยาวที่แสดงข้อความข่าวสารหรือสารสนเทศ, ข้อความที่อยู่ในแถบวิ่งบนจอโทรทรรศน์, See also: แถบข่าว

Longdo Approved JP-TH
伝言[でんごん, dengon] (n, colloq) ข้อความ(ที่ฝากไว้ เพื่อให้ช่วยส่งต่อ), See also: S. Note

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
捕捉[ほそく, hosoku] (n, vt) 1.การจับ, การจับกุม 2.การจับใจข้อความ, การทำความเข้าใจ
記入[きにゅう, kinyuu] การกรอกข้อความ

Saikam JP-TH-EN Dictionary
書き込む[かきこむ, kakikomu] TH: กรอก(ข้อความ)ลง(ในเอกสาร)

Longdo Approved DE-TH
Nachricht(n) |die, pl. Nachrichten| ข้อความข่าวสาร
Stempel(n) |der, pl. Stempel| ข้อความหรือสัญลักษณ์ที่ถูกประทับด้วยตรายาง เช่น ein Stempel auf einem Brief ตราประทับบนจดหมาย
Marker(n) |der, pl. Marker| ปากกาเน้นข้อความ (ซึ่งถ้าได้ยินคนเยอรมันเรียกหา Edding ก็หมายถึงสิ่งนี้เพราะ Edding เป็นยี่ห้อปากกาเน้นข้อความที่เริ่มคิดค้นใช้ที่ประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ.1960 โดย Carl-Wilhelm Edding และ Volker Detlef Ledermann)
Wort(n) |das, pl. Worte| คำพูด, ประโยคหรือข้อความที่พูดออกมามีความเกี่ยวเนื่องกัน เช่น Es tut mir leid, aber Ihre Worte überzeugen mich nicht. ฉันเสียใจนะคะ ฉันไม่เชื่อที่คุณพูดมา

Time: 0.063 seconds, cache age: 11.101 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/