\n';
}
function getElementsByClassName(oElm, strTagName, strClassName){
var arrElements = (strTagName == "*" && document.all)? document.all : oElm.getElementsByTagName(strTagName);
var arrReturnElements = new Array();
strClassName = strClassName.replace(/\-/g, "\\-");
var oRegExp = new RegExp("(^|\\s)" + strClassName + "(\\s|$)");
var oElement;
for(var i=0; i');
$("#search").show();
$("#search").val(search_value);
setRandomSearchBoxName();
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
// $("#contents-showup").next().hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
$('input.translate-type:checked').val('popthai');
$('#textboxPlaceholder').html('');
$("#search").text(search_value);
setRandomSearchBoxName();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function doSubmit(obj) {
var form_obj = obj ? obj.form : document.getElementById("dict");
$(form_obj).attr("method", 'post');
var search_value = $("#search").val();
$("#search").attr('name', "search");
$("#search").hide();
$(".for-popthai").hide();
$(".read-bt, .read-bt-accent").removeClass('translate');
var inpType = $('input.translate-type:checked').val();
if (inpType == 'translate') {
$("#longdo-latest, #contents-showup").show();
$("#contents-showup-popthai").hide();
$("#logo-ads").removeClass('popthai-mode');
$("#search").show();
$(".read-bt, .read-bt-accent").addClass('translate');
if(search_value != "" && !obj) {
window.location = "/search/" + escape(encodeURIComponent(search_value.replace(/\n\r?/g, ' ')));
return false;
} else {
$('#textboxPlaceholder').html(' ');
setRandomSearchBoxName();
}
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
var searchinput = $('#search');
value = search_value;
$('#textboxPlaceholder').html('');
setRandomSearchBoxName();
searchinput = document.getElementById('search');
searchinput.value = value;
searchinput.focus();
searchinput.select();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function checkLan(search_value, isChange) {
var langSelect = $(".translate-language");
if(isChange) {
if(/[-ヿ]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('JP');
} else if(/[\u3400-\u9FBF]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('ZH');
}
$(".is-auto-language").val('true');
} else {
$(".is-auto-language").val('false');
}
$(".search-bt").prop('disabled', true);
}
function isUrl(url) {
var pattern = /^(https?:\/\/)?((([a-z\d]([a-z\d-]*[a-z\d])*)\.)+[a-z]{2,}|((\d{1,3}\.){3}\d{1,3}))(\:\d+)?(\/[-a-z\d%_.~+]*)*(\?[;&a-z\d%_.~+=-]*)?(\#[-a-z\d_]*)?$/i
if(!pattern.test(url)) {
return false;
} else {
return true;
}
};
// -->
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ Commission on Human Rights คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] Commission on Human Rights คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต]
国際連合人権委員会 [こくさいれんごうじんけんいいんかい,
kokusairengoujinken'iinkai] (n) (obsc) (See 国連人権委員会) United Nations Commission on Human Rights [Add to Longdo]
From WordNet (r) 3.0 (2006) [wn]:
Commission on Human Rights
n 1: the commission of the Economic and Social Council of the
United Nations that is concerned with human rights
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
วางเมาส์ที่คำศัพท์เพื่อแสดงป๊อปอัป
แสดงคำอ่าน
Commission ( K AH0 M IH1 SH AH0 N ) on ( AA1 N ) Human Rights ( HH Y UW1 M AH0 N R AY1 T S )
Commission ค่านายหน้า: ค่าคอมมิชชั่น [Lex2] งานที่รับผิดชอบ[Lex2] อำนาจที่จะทำ[Lex2] คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ [LongdoEN] (คะมิช'เชิน) {commissioned,commissioning,commissions} n. การมอบหมายหน้าที่,การมอบหมาย,อำนาจที่มอบหมายให้,เอกสารมอบอำนาจ,คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายอำนาจให้กระทำบางอย่าง,คณะกรรมการ,คณะกรรมาธิการ,ค่านายหน้า,ค่าคอมมิชชั่น,สัญญาบัตร -Phr. (in commission เข้าประจ [Hope] (n) ค่านายหน้า,ค่าคอมมิชชั่น,คณะกรรมาธิการ,การแต่งตั้ง [Nontri] (vt) แต่งตั้ง,มอบหมายให้ทำ,มอบอำนาจหน้าที่,สั่งการ [Nontri] /K AH0 M IH1 SH AH0 N/ [CMU] (v) /k'əm'ɪʃən/ [OALD]
on บน[Lex2] ที่ (ใช้บอกสถานที่) [Lex2] (ติด) ไว้ที่: (แขวน) ไว้ที่, (เอา) ไว้ที่ [Lex2] ใน (ใช้กับวัน, วันที่, โอกาส) [Lex2] อยู่ในระหว่าง[Lex2] เกี่ยวกับ: ในเรื่อง [Lex2] ในสภาพ: ในลักษณะ, ในอาการที่ [Lex2] โดย (วิธีการ) : ด้วย [Lex2] ทาง (ทิศทาง) [Lex2] ใกล้: อยู่ติด [Lex2] (ใช้จ่าย) ไปกับ[Lex2] อย่างทำงานอยู่: อย่างใช้อยู่ [Lex2] อย่างกำลังดำเนินอยู่[Lex2] อย่างต่อไป: อย่างเรื่อยๆ, อย่างไม่หยุด [Lex2] ที่กำลังทำงานอยู่[Lex2] ที่เป็นไปตามกำหนด: ที่เป็นไปตามแผนการ [Lex2] (ออน) prep.,adv. บน,ที่,ตาม,ณ,ในเวลาที่,ในขณะที่,ในวันที่,เกี่ยวกับ,อยู่ในสถานการณ์,ในเรื่อง,โดย,อาศัย,ทันทีหลังจาก,ไปสู่,ไปทาง,ติดกัน,ประชิด,ประจำ adj. เปิดอยู่,ใช้อยู่,ซึ่งกำลังเกิดขึ้น,ตามแผน,ตามกำหนด n. ความเป็นอยู่,สถานการณ์,ด้านข้าง -Phr. (on and off บางครั้งบางคราวเป็นช่วง ๆ) [Hope] (adv) ต่อเนื่อง,ต่อไป,ประจำ,เรื่อยไป,ไปข้างหน้า [Nontri] (pre) ข้างบน,บน,ในเรื่อง,ณ,เกี่ยวกับ,โดย,ตาม [Nontri] /AA1 N/ [CMU] /AO1 N/ [CMU] (a) /ɒn/ [OALD]
Human Rights
Search other online dictionaries
Do you know the meaning of this word? You can Suggest your own translation to Longdo
Discussions
บริการ ติดโพย (PopThai)
เป็นบริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ โดยผู้ใช้สามารถป้อนข้อความ ทีละประโยค หรือ เป็นหน้าเลยก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทีละคำสองคำ
ระบบจะทำการแนบความหมายของคำหรือวลีภาษาต่างประเทศ
(ปัจจุบันสนับสนุน ภาษาอังกฤษ, ญี่ปุ่นและเยอรมัน )
ติดกับเนื้อหานั้นๆ และจะแสดงผลความหมายเมื่อเอาเมาส์ไปวางเหนือคำหนึ่งๆ
ช่วยให้สามารถเข้าใจเนื้อหาของเวบภาษาต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ความหมายของคำจะปรากฏขึ้นมาเมื่อท่านเอาเมาส์ไปวางบนคำหรือวลีที่มีอยู่ในพจนานุกรม
โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มใดๆ
ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างนี้
คุณสมบัติ / Features
แสดงความหมายของคำโดยอัตโนมัติ เพียงวางเมาส์ไว้บนคำที่ต้องการทราบความหมาย
สนับสนุนเวบหลากภาษา (ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น และเยอรมัน)
ค้นหาความหมายจากพจนานุกรมหลายชุดพร้อมๆกัน ในฐานข้อมูลของ Longdo ได้แก่
Lexitron2, Hope, Nontri, Longdo อังกฤษ-ไทย, Longdo เยอรมัน-ไทย เป็นต้น
แสดงได้ทั้งความหมายของคำเดี่ยว และคำผสม ได้อย่างถูกต้อง
เช่น Secretary of State=รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ (ในภาพตัวอย่าง),
High school=โรงเรียนมัธยมปลาย
แสดงความหมายของคำที่แปรรูปจากคำในพจนานุกรมได้ เช่น
เมื่อวางเมาส์ไว้บนคำว่า executed/abusing ซึ่งไม่มีในพจนานุกรม
เครื่องจะแสดงความหมายของคำว่า execute/abuse ให้โดยอัตโนมัติ
เรียกใช้งานได้ง่ายเพียงกดปุ่ม PopThai บน
Longdo Toolbar
เพื่อแนบความหมายหน้าจอที่เปิดชมอยู่ในขณะนั้น
แก้ไข Link ในหน้าที่แสดง เพื่อให้สามารถเปิดชม Link เหล่านั้นผ่านบริการ PopThai
ได้ทันทีเช่นเดียวกัน
สนับสนุนบราวเซอร์ชั้นนำทั่วไป เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Safari, Konqueror, etc.
แสดง Link ให้ผู้ใช้ช่วยป้อนความหมายสำหรับคำที่ยังไม่มีอยู่ในพจนานุกรม
ใหม่: บริการ Vocabulary แสดงสรุปรายการคำศัพท์พร้อมความหมาย สำหรับพิมพ์ออกมาอ่านได้สะดวก
วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Vocabulary แทน PopThai. (PopThai ในโหมดปกติ จะเหมาะกับการใช้งาน on-line
หน้าจอคอมพิวเตอร็ ส่วนบริการ Vocabulary เหมาะสำหรับท่านที่ต้องการพิมพ์รายการคำศัพท์และความหมายออกมาบนกระดาษไว้อ่าน off-line)
ใหม่: บริการ Pronunciation Guide แสดงคำอ่านของคำใน เว็บ หรือ text ที่ป้อนให้ ข้างบนคำนั้นๆ, นอกเหนือไป
จากการแสดง pop-up ความหมาย. วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Pronunciation.
ขณะนี้ใช้ได้กับภาษาอังกฤษ (แสดงคำอ่านภาษาอังกฤษ) และภาษาญี่ปุ่น (แสดง hiragana เหนือคันจิ). บริการนี้
ใช้ extension ของ browser ที่ชื่อ Ruby ปัจจุบันมีแค่ IE browser ที่สนับสนุน ถ้าเป็น browser อื่นๆ จะเห็นคำอ่านปรากฎในวงเล็บแทน
วิธีใช้
ท่านสามารถป้อนเนื้อหาหรือ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการให้แนบความหมายนี้ ในช่องใส่ข้อความค้นหาปกติ
หลังจากนั้นเลือกบริการที่ต้องการ (เช่น ถ้าป้อนข้อความ ให้เลือก PopThai (text) ถ้าป้อน URL ให้เลือก PopThai (URL)) ถ้าท่านไม่เลือกบริการ
ระบบจะเดาบริการที่ท่านต้องการ จากข้อความที่ท่านใส่เข้ามา (ว่าเป็นข้อความหรือเป็น URL) โดยอัตโนมัติ,
จากนั้นกด Submit เป็นอันเสร็จ
ในกรณีที่ท่านใส่ URL ระบบจะไปทำการดาวน์โหลดเนื้อหาของหน้านั้นๆ มาและแนบความหมาย พร้อมแก้ไขลิงค์ต่างๆ ให้เป็นผ่านบริการ PopThai เ
พื่อที่ว่าเมื่อท่านกดที่ลิงค์ใดๆ ต่อไปจากเพจนั้นๆ ก็จะมีการแนบความหมายมาให้ด้วยในทันที
เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้ท่านสามารถใช้ PopThai ผ่าน Longdo Toolbar โดยเมื่อท่านเปิดดูเว็บไซต์ใดๆ อยู่ตามปกติ และต้องการใช้บริการ PopThai สำหรับ
หน้านั้นๆ สามารถทำได้ทันที โดยคลิกที่ปุ่ม PopThai บน Toolbar รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดอ่านที่ Longdo Toolbar
คำเตือน ในกรณีของ URL นี้ ถึงแม้ทางผู้ดูแลระบบลองดูจะได้ทำการทดสอบกับหลายเว็บไซต์
แล้วก็ตาม ยังมีบางเว็บไซต์ที่ข้อมูลเวลาที่ระบบไปโหลดมาจะแตกต่างจากที่ท่านเปิดดูโดยใช้ browser โดยตรง โปรดระวังด้วย และไม่ควรใช้กับหน้าเว็บไซต์ที่
ต้องการความถูกต้องสูง)
Problems & TODO
inflected word support (German)
support HTTP POST
other foreign language support (Japanese, French)
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม