Petroleum Province | บริเวณที่มีลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา และลักษณะชั้นหินที่คล้ายคลึงกัน, บริเวณที่มีลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา และลักษณะชั้นหินที่คล้ายคลึงกัน และมีแหล่งกักเก็บปิโตรลียม (Petroleum reservoir) อยู่เป็นจำนวนมาก [ปิโตรเลี่ยม] |
Core | แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, บริเวณส่วนกลางเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ประกอบด้วย เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ แท่งควบคุม สารหน่วงนิวตรอน และโครงสร้างที่รองรับอุปกรณ์ต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Very high radiation area | บริเวณรังสีสูงมาก, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงมากซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 1 เมตร จากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีดูดกลืนเกิน 5 เกรย์ ในเวลา 1 ชั่วโมง การรับรังสีปริมาณสูงมากมักจะวัดในหน่วยของปริมาณรังสีดูดกลืน เนื่องจากให้ค่าการวัดที่แม่นยำกว่าการวัดปริมาณรังสีสมมูล, Example: [นิวเคลียร์] |
Supervised area | พื้นที่ตรวจตรา, บริเวณที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุม แต่จำเป็นต้องมีการสำรวจรังสีจากการทำงานโดยไม่ต้องมีมาตรการป้องกันและข้อกำหนดด้านความปลอดภัยเป็นพิเศษ [นิวเคลียร์] |
Radiation area | บริเวณรังสี, บริเวณที่มีรังสีในปริมาณที่กำหนดไม่ว่ารังสีนั้นจะมาจากวัสดุกัมมันตรังสี หรือ เครื่องกำเนิดรังสี <br>ปริมาณรังสีที่กำหนดตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2546) ออกตามความในพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 เท่ากับหรือมากกว่า 25 ไมโครซีเวิร์ตต่อชั่วโมงที่ระยะ 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี</br> [นิวเคลียร์] |
High radiation area | บริเวณรังสีสูง, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 30 เซนติเมตรจากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีสมมูลเกิน 1 มิลลิซีเวิร์ต ในเวลา 1 ชั่วโมง [นิวเคลียร์] |
Estuaries | บริเวณน้ำกร่อย [TU Subject Heading] |
Open Coasts | บริเวณชายฝั่งทะเล, Example: บริเวณซึ่งไม่ได้รับอิทธิพลของน้ำจืดและระบบ นิเวศทะเลสาบน้ำเค็ม เช่นเดียวกับบริเวณปากแม่น้ำ ระบบนิเวศชายฝั่งทะเลประกอบด้วย พื้นที่ชุ่มน้ำหลายประเภทรวมทั้งหาดโคลน (mud flat) และป่าชายเลน แม้ว่าพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งสองนี้จะมีพัฒนาการสูงกว่าในบริเวณปากแม่น้ำ [สิ่งแวดล้อม] |
Floodplains | บริเวณที่ราบน้ำท่วมถึง, Example: พื้นที่ราบระหว่างลำน้ำกับพื้นที่บนบกซึ่งอยู่ สูงกว่า มีน้ำท่วมเป็นครั้งคราว พบได้ตามระบบลำน้ำในบริเวณต่างๆ ทั่วโลก ที่ราบน้ำท่วมถึงหลายแห่งอยู่ ในบริเวณที่ลุ่มชายฝั่งทะเลติดกับดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ และ อีกหลายแห่งอยู่ในบริเวณแม่น้ำสายใหญ่ๆ ที่มีที่ราบน้ำท่วมถึงเป้นบริเวณกว้างใหญ่ ประกอบด้วย ที่ลุ่มชื้นแฉะมีหญ้าอยู่รก ป่าน้ำท่วม ทะเลสาบรูปแอก และแอ่งน้ำต่าง ๆ ในบางพื้นที่อาจเรียกบริเวณที่ราบน้ำท่วมถึงเหล่านี้ว่าดินดอนสามเหลี่ยม [สิ่งแวดล้อม] |
Freshwater Marshes | บริเวณที่ลุ่มน้ำจืดชื้นแฉะ, Example: พบทั่วไปในบริเวณซึ่งน้ำใต้ดิน ตาน้ำผิวดิน แม่น้ำและลำธาร มีส่วน ก่อให้เกิดภาวะน้ำท่วมบ่อยครั้ง หรือเกิดภาวะน้ำขังอย่างถาวรในระดับตื้นๆ ไม่ลึกนัก เป็นผลให้เกิดบริเวณพื้นที่ที่มีน้ำจืดท่วมขังหรืออยู่ในสภาพชื้นแฉะ เกือบตลอดเวลา บริเวณที่ลุ่มน้ำจืดชื้นแฉะขนาดใหญ่หลายแห่งมีน้ำนิ่งขังอยู่เกือบตลอดปี เรียกว่า ที่ลุ่มน้ำขัง หรือมาบ (swamps) [สิ่งแวดล้อม] |
chromatic aberration | (n) อาการที่ปรากฏแถบสีที่ไม่ต้องการ(มักจะเป็นสีม่วง หรือแดง)ในภาพ ณ บริเวณที่มีความสว่างแตกต่างกันมาก เช่น รอยต่อระหว่างท้องฟ้ากับวัตถุด้านหน้า เกิดจากการที่แสงสีต่างๆมีดัชนีความหักเหของแสงต่างกัน เมื่อแสงสีขาวส่องผ่านเลนส์ จึงตกกระทบบนฟิล์มเป็นบริเวณกว้างกระจายเป็นสีรุ้ง เลนส์ถ่ายภาพคุณภาพสูง มักถูกออกแบบให้มีโครงสร้างชิ้นเลนส์ซับซ้อน เพื่อแก้ไขอาการนี้ |
unsharp mask | (name) คือกระบวนการทำภาพถ่ายให้คมชัดขึ้น โดยการนำฟิล์มของภาพ ไปถ่ายสำเนาใส่ฟิล์มอีกแผ่นหนึ่งโดยเจตนาให้ได้ภาพที่เบลอ (unsharp) กว่าเดิม ภาพบนฟิล์มที่ทำสำเนาขึ้นมาใหม่นี้ จะแตกต่างจากภาพบนฟิล์มเดิม ณ บริเวณภาพที่มีรายละเอียด (เนื่องจากถูกทำให้เบลอ) แต่จะเหมือนเดิม ณ บริเวณภาพที่เป็นสีพื้น (ไม่มีรายละเอียด การทำเบลอไม่มีผลต่อภาพ) จากนั้นจึงเอาฟิล์มทั้งสองมาทาบเข้าด้วยกัน ภาพที่ได้เมื่อมองผ่านฟิล์มทั้งสอง บริเวณที่มีรายละเอียดจะถูกเน้นให้เห็นรายละเอียดชัดเจนมากขึ้น คือ ทำให้ภาพดูคมชัดขึ้น |
vignette | (n) ภาพถ่ายที่มีความสว่างค่อยๆลดจางลงบริเวณขอบภาพ |
bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD |
ice cap | (n) ดินแดนที่ปกคลุมด้วยน้ำแข็งต่ำกว่า 50, 000 ตารางกิโลเมตร เช่น บริเวณขั้วโลก |
territorial | (adj) แสดงความเป็นเจ้าของที่หรืออาณาเขต, แสดงอาการป้องกันอาณาเขตของตนจากผู้บุกรุก เช่น สุนัขเห่าคนแปลกหน้าที่เข้ามาในบริเวณ, See also: A. nonterritorial, Syn. territorial behavior |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
sandbag | (vi) วางกระสอบทรายในบริเวณหนึ่งๆ เพื่อป้องกันภัยบางอย่าง เช่น ไม่ให้น้ำท่วม ป้องกันแรงระเบิด |
abrasion | (อะเบร' เชิน) n. บริเวณถลอก, รอยถลอก, รอยขัด, รอยสึก, การถลอก (ขัด, สึก) |
achilles heel | บริเวณหรือส่วนเดียวที่ได้รับบาดเจ็บ (Achilles hell) |
aeolis | (อี' โอลิส) n. ชื่อบริเวณฝั่งทะเลโบราณที่เป็นเมืองขึ้นของกรีก |
aeropause | (แอ' โรพอส) n. บริเวณบรรยากาศของโลกที่เบาบางเกินไปที่เครื่องบินจะทำงานได้ |
aerosphere | (แอ' โรสเฟียร์) n. บริเวณเหนือชั้นบรรยากาศของโลก (lighter-than-air craft) |
air mass | กลุ่มก้อนอากาศที่กินบริเวณเนื้อที่กว้างขวาง |
aliasing | หมายถึงรอยหยักที่ปรากฏกับภาพตรงบริเวณที่เป็นเส้นโค้ง ภาพของคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเห็นรอยหยักนี้ชัดเมื่อขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้น |
allochthonous | (อะลอค' โธนัส) adj. เกิดจากบริเวณอื่น, มาจากแหล่งอื่น, ซึ่งถูกนำมาจากแหล่งอื่น |
alpestrine | (แอลเพส' ทริน) adj. ซึ่งเกี่ยวกับบริเวณเชิงเทือกเขาแอลพ์ |
alsace | (แอลเซส' , แอล' เซส) ชื่อบริเวณหนึ่งในฝรั่งเศส |
area | (n) พื้นที่, เขต, เนื้อที่, บริเวณ, สาขาวิชา |
boatyard | (n) บริเวณท่าเรือ |
bound | (n) ขอบเขต, บริเวณ, เขตแดน, อาณาเขต, ขอบข่าย |
boundary | (n) ขอบเขต, เขตแดน, บริเวณ, อาณาเขต |
churchyard | (n) บริเวณรอบโบสถ์, สุสาน, ป่าช้า |
circle | (n) วงกลม, วงแหวน, วงเวียน, บริเวณ, ขอบเขต, หมู่คณะ, การหมุนเวียน, วัฏจักร |
commodious | (adj) จุ, มีเนื้อที่กว้าง, กว้างขวาง, มีบริเวณกว้าง |
compound | (n) บริเวณ, สารประกอบ, ของเจือ, คำประสม |
coop | (vt) กักบริเวณ, ครอบ, ใส่กรง |
dockyard | (n) อู่เรือ, บริเวณท่าเรือ |
Bereich | (n) |der, pl. Bereiche| ขอบข่ายบริเวณหรือพื้นที่ |
Nähe | (n) |die, nur Sing.| ความใกล้, บริเวณใกล้เคียง เช่น in der Nähe von der Post |
Region | (n) |die, pl. Regionen| ย่าน, บริเวณ |
Schamgegend | (n) |die, nur Sg.| บริเวณหัวหน่าว |
Divertikulitis | (n) |die| อาการโป่งพองของถุงน้ำบริเวณผนังลำไส้ใหญ่ เช่น Etwa 20 Prozent aller Betroffenen mit Divertikulose entwickeln im Laufe des Lebens eine Entzündung der Divertikel (Divertikulitis), welche sich durch Beschwerden wie länger anhaltende, hauptsächlich im linken Unterbauch angesiedelte Bauchschmerzen, Verstopfung oder auch Durchfälle bemerkbar macht. |