หมู่ | (n) group, See also: party, Syn. กลุ่ม, พวก, หมวด, Example: อัตราเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งในหมู่ของพนักงานต่อเชื่อมสายเคเบิลของบริษัทโทรศัพท์นิวยอร์กเพิ่มสูงขึ้นมาก, Thai Definition: สิ่งต่างๆ ที่อยู่ด้วยกันจำนวนมาก |
หมู่ | (n) at the present time, See also: recently, during this time, lately, Syn. ระยะเวลา, Example: หมู่นี้ผมไม่ค่อยได้ไปสังสรรค์กับเพื่อน เพราะงานเยอะมาก |
หมู่ | (clas) group, See also: collection, bevy, squad, crowd, herd, flock, party, Example: คณะนายพลอากาศไทย 3 นาย ได้ไปรับมอบเครื่องบินไอพ่นหนึ่งหมู่จากฐานทัพอเมริกัน, Thai Definition: ลักษณนามของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ด้วยกันจำนวนมาก |
กฎหมู่ | (n) mob rule, See also: jungle law, majority power, Example: นาย เติ้ง เสี่ยว ผิง ไม่อาจยินยอมให้กฎหมู่หรืออิทธิพลของชาวต่างประเทศมามีส่วนกำหนดวิถีทางการเปลี่ยนแปลงภายในสังคมจีนจนมากเกินไป, Thai Definition: อำนาจกดดันที่บุคคลจำนวนมากนำมาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทำหรือเว้นกระทำสิ่งที่ต้องการ (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย) |
ตายหมู่ | (v) die en mass, See also: die in massive numbers, Example: โรคระบาดที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วทำให้ประชาชนบาดเจ็บและตายหมู่เป็นจำนวนมาก, Thai Definition: เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก |
มวยหมู่ | (n) melee, See also: dog fight, Example: เขายืนดูมวยหมู่ของพวกนักเรียนช่างกล, Thai Definition: การยกพวกเข้าชกต่อยกันอย่างชุลมุน |
รวมหมู่ | (v) gather together, See also: gather intergroup, Example: นกมารวมหมู่ทำอะไรกันอยู่ที่ใต้ต้นไม้ |
หมู่คณะ | (n) staff, See also: clique, bloc, organization, Example: การทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะมีมาแต่สมัยโบราณ, Thai Definition: กลุ่มบุคคลที่กระทำกิจกรรมร่วมกัน |
หมู่นี้ | (adv) recently, See also: at the present time, for the past few days, Syn. พักนี้, เดี๋ยวนี้, Example: หมู่นี้ใจคอผมไม่ค่อยอยู่กับตัว |
หมู่ไม้ | (n) wood, See also: bush, Syn. แมกไม้, สุมทุมพุ่มไม้, ดงไม้, พงไม้, Example: ผู้สูงอายุเล่นแบดมินตันอยู่ในสนามท่ามกลางหมู่ไม้เขียวขจี, Thai Definition: บริเวณที่มีต้นไม้ขึ้นเป็นจำนวนมาก |
หมวดหมู่ | (n) classification, See also: category, grouping, sort, type, Syn. พวก, หมู่, หมวด, Example: นักภาษาศาสตร์ทำการแบ่งภาษาต่างๆ ในโลกออกเป็นหมวดหมู่ตามโซนและต้นตระกูลภาษา |
หมู่ญาติ | (n) relatives, See also: cousin, lineage, kin, kinsmen, Syn. เครือญาติ, ญาติพี่น้อง, ญาติโกโหติกา, วงศาคณาญาติ, วงศ์วานว่านเครือ, วงศ์ญาติ, วงศ์ตระกูล, Example: ก่อนการแต่งงานผู้ชายจะมีฐานะเหมือนเป็นแขกท่ามกลางหมู่ญาติของฝ่ายหญิง, Thai Definition: กลุ่มคนในวงศ์วานที่ยังนับรู้กันได้ทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่ |
หมู่บ้าน | (n) village, Example: ทุกหมู่บ้านในชนบทมักมีวัด หรือสถานที่ทางศาสนา เป็นศูนย์รวมกิจกรรมต่างๆ ในหมู่บ้าน, Thai Definition: เขตปกครองที่เล็กที่สุด ประกอบด้วยบ้านเรือน ราษฎรจำนวนมากหรือน้อย แล้วแต่ขนาดของหมู่บ้าน |
หมู่เกาะ | (n) archipelago, See also: group of islands, Example: หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกมีมากมาย |
หมู่เกาะ | (n) archipelago, See also: group of islands, Example: หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกมีมากมาย |
โต๊ะหมู่ | (n) set of altar table, Syn. โต๊ะหมู่บูชา, โต๊ะบูชา, Example: พิธีกรจุดเทียนนำส่งให้คู่บ่าวสาวจุดเทียนชัยคู่ที่โต๊ะหมู่, Count Unit: ชุด, Thai Definition: ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า 4 ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ |
ชนหมู่น้อย | (n) minority, Syn. ชนกลุ่มน้อย, Example: แม้วเป็นชนหมู่น้อยที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย |
หมู่ผู้ใช้ | (n) group of users, Syn. กลุ่มผู้ใช้, Example: คำศัพท์เทคนิคบางคำ จะรู้จักกันในหมู่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น, Count Unit: กลุ่ม, หมู่, Thai Definition: กลุ่มคนที่ใช้สิ่งของอย่างเดียวกัน |
โต๊ะหมู่บูชา | (n) set of altar table, Syn. โต๊ะบูชา, โต๊ะหมู่, Example: ห้องถัดจากนอกชานเข้ามาแง้มประตูไว้เพียงเล็กน้อย ภายในมีโต๊ะหมู่บูชาตั้งอยู่เรียบร้อย, Count Unit: ชุด, Thai Definition: ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า 4 ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ |
เป็นหมวดเป็นหมู่ | (adv) in categories, See also: in groups, under proper headings, in proper order, Example: บรรณารักษ์จัดหนังสือเป็นหมวดเป็นหมู่ทำให้หาง่าย |
กฎหมู่ | น. การกดดันที่บุคคลจำนวนมากนำมาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทำหรือเว้นกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย). |
กองทุนหมู่บ้าน | น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในแต่ละหมู่บ้านตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสำหรับประชาชนในหมู่บ้าน กองทุนดังกล่าวถ้าจัดตั้งขึ้นในเขตชุมชนเมือง เรียกว่า กองทุนชุมชนเมือง. |
ขื่อหมู่ | น. ขื่อไม่น้อยกว่า ๒ ตัว เจาะฝังเข้าไปในเสาร่วมในซึ่งเป็นมุมแล้วทอดไปหาเสาหรือผนังของระเบียงคล้ายเต้าที่รับเชิงกลอน. |
ชนกลุ่มน้อย, ชนหมู่น้อย | น. ชนต่างเผ่าหรือต่างเชื้อชาติที่อยู่อาศัยรวมกันกับชนเผ่าอื่นหรือเชื้อชาติอื่นที่มีจำนวนมากกว่า. |
โต๊ะหมู่, โต๊ะหมู่บูชา | น. ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า ๔ ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ มีหมู่ ๓ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑, เดิมเรียกว่า ม้าหมู่บูชา. |
เป็นหมวดหมู่, เป็นหมวดเป็นหมู่ | ว. เป็นประเภท, เป็นชนิด, เช่น จัดหนังสือให้เป็นหมวดหมู่. |
มวยหมู่ | น. การยกพวกเข้าชกต่อยกันอย่างชุลมุน. |
ยาหมู่ | น. ยาที่ประกอบด้วยสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นของแข็ง มีแก่นไม้ เขี้ยวงา กระดูก เป็นต้น ใช้ฝนกินแก้ร้อนในและผิดสำแลง. |
ลูกหมู่ | น. ลูกหลานที่ต้องถูกเกณฑ์รับราชการตามสังกัดของบิดามารดาในครั้งโบราณ. |
สักเข้าหมู่ | ดู สักหมายหมู่. |
สักหมายหมู่ | น. การสักบอกสังกัด, การสักเลกหรือคนที่ต้องขึ้นทะเบียนเป็นไพร่หลวงหรือไพร่สม ให้รู้ว่าอยู่ในหมู่ใดกรมใด เพื่อใช้ในราชการและไม่ให้ไพร่อยู่อย่างไร้สังกัด เช่น ไพร่หลวงทั้งปวงซึ่งมีสักหมายหมู่กรมนั้นแล้ว (สามดวง), หมายประกาศเรื่องปลอมสักหมายหมู่ (ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔), สักเข้าหมู่ ก็ว่า. |
หมาหมู่ | น. กลุ่มคนที่กลุ้มรุมทำร้ายคนคนเดียว. |
หมู่ ๑ | น. กลุ่มชนิดเดียวกัน เช่น หมู่ดาว หมู่เมฆ, พวกชนิดเดียวกัน เช่น หมู่มนุษย์ หมู่โจร |
หมู่ ๑ | กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น มีจำนวนไม่เกิน ๑๐ คน มีหัวหน้าเรียกว่า ผู้บังคับหมู่ หรือทั่ว ๆ ไปเรียกว่า ผู้หมู่, ถ้าเป็นทหารบกหรือตำรวจจะต้องมียศเป็นนายสิบ, ถ้าเป็นทหารเรือหรือทหารอากาศจะต้องมียศเป็นจ่า. |
หมู่บ้าน | น. ท้องที่ที่รวมบ้านหลายบ้านให้อยู่ในความปกครองอันเดียวกัน และมีประกาศจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านเป็นหัวหน้าปกครอง. |
หมู่ ๒ | น. ระยะเวลา เช่น หมู่นี้สุขภาพไม่ค่อยดี หมู่นั้นไม่ว่าง. |
หมู่ ๓ | ดู คอแดง. |
ก๊ก | น. พวก, หมู่, เหล่า, โดยปรกติมักใช้เข้าคู่กันว่า เป็นก๊กเป็นพวก เป็นก๊กเป็นหมู่ เป็นก๊กเป็นเหล่า. |
กงสี | น. ของกองกลางที่ใช้รวมกันสำหรับคนหมู่หนึ่ง ๆ, หุ้นส่วน, บริษัท. |
กบาล | ลานกลางหมู่บ้าน เรียกว่า กบาลบ้าน |
กบิล ๒ | กระบวน, หมู่, เช่น กบิลไม้ |
กปิตัน | หัวหน้าหมู่ชน. |
กรม ๒ | (กฺรม) น. ลำดับ เช่น จะเล่นโดยกรม (สมุทรโฆษ). [ ส.; ข. กฺรุม (กฺรม) ว่า หมวด, หมู่, กอง; ครอบครัว เช่น มวยกฺรุม = ครอบครัวหนึ่ง ]. |
กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. |
กรวิก ๒ | (กะระ-, กอระ-) น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป.; ส. กรวีก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ ที่ สัต ๒, สัต- ๒, สัตตะ ๑). |
กระจาบ | น. ชื่อนกขนาดเล็ก วงศ์ย่อย Ploceinae ในวงศ์ Ploceidae ปากหนารูปกรวย ปลายหางมน ขนหัวและขนตัวลาย ในฤดูผสมพันธุ์ขนหัวเพศผู้เปลี่ยนเป็นสีเหลือง มี ๓ ชนิด คือ กระจาบธรรมดาหรือกระจาบอกเรียบ[ Ploceus philippinus (Linn.) ] กระจาบอกลาย [ P. manyar (Horsfield) ] ทำรังด้วยหญ้าหรือฟางข้าวห้อยอยู่กับกิ่งไม้หรือต้นพืชน้ำเช่นกก ปากรังอยู่ด้านล่าง และกระจาบทอง [ P. hypoxanthu s (Sparrman) ] ทำรังด้วยหญ้าหรือฟางข้าวโอบหุ้มกิ่งไม้หรือใบพืชน้ำ ปากรังอยู่ทางด้านข้าง มักอยู่รวมกันเป็นหมู่ กินเมล็ดพืช. |
กระเจิง | ว. เลยไป, หลงไป, แตกจากหมู่ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ กระเจอะ กระเจิด เป็น กระเจอะกระเจิง กระเจิดกระเจิง. |
กระเจิดกระเจิง | ก. แตกหนีไปคนละทิศละทาง เช่น กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป, แตกหมู่เพ่นพ่านไป เช่น ฝูงวัววิ่งหนีกระเจิดกระเจิงไป, บางทีใช้ว่า กระเจอะกระเจิง. |
กระทรวง ๑ | (-ซวง) น. หมู่, พวก, เช่น ทุกหมวดทุกกระทรวงทรง ฤทธิเรื้อง (ยอพระเกียรติกรุงธน), ชนิด, อย่าง, เช่น อนึ่งนั้นอุเบกขาว่าเพ่งเฉย คือแหวกเลยสุขทุกข์อาลัยห่วง ไม่มีทุกข์ไม่มีสุขสิ้นทั้งปวง สามกระทรวงนี้เป็นชื่อเวทนา (ปกีรณำพจนาดถ์), แบบ, อย่าง, กระบวน, เช่น ส่วนองค์พระอัยกาก็ทรงพาหนะหัสดินทร กรินทรราชเป็นทัพหลวงตามกระทรวงพยุหยาตรา (ม. ร่ายยาว มหาราช), โดยสมควรแก่กระทรวงแล้วส่งไป (สามดวง), ผจญคนกลิ้งกลอกกลับหลอกลวง เอากระทรวงสัตย์ซื่อให้เสื่อมเท็จ (สุ. สอนเด็ก). |
กระบวน | น. หมู่คนหรือพาหนะเป็นต้นที่จัดเป็นแถวเป็นแนวหรือเป็นหมวดเป็นหมู่ตามแบบแผน เช่น กระบวนพยุหยาตรา กระบวนทัพ, แบบแผน เช่น กระบวนหนังสือไทย, ชั้นเชิง เช่น ทำกระบวน งามกระบวนเนตรเงาเสน่ห์งำ |
กระบาล | ลานกลางหมู่บ้าน เรียกว่า กระบาลบ้าน. |
กระบิล | น. ระเบียบ, หมู่. |
กระวี ๑ | น. นักปราชญ์ในการแต่งบทกลอน เช่น เสดจ์ยังสาระพินิจฉัยพร้อมด้วยหมู่มุกขมนตรีกระวีราชปโรหิตาโหราจารย์อยู่ในศีลสัจ (สามดวง). |
กระวีชาติ | น. หมู่กวี, พวกกวี, เช่น เสดจ์ในพระที่นั่งพลับพลาทองโดยอุตราภิมุขพร้อมด้วยหมู่มาตยามนตรีกระวีชาติราชปะโรหิตาจารย์เฝ้าพระบาท (สามดวง), เขียนเป็น กระวีชาต หรือ กระวิชาติ ก็มี เช่น พระองค์ทรงพระกรุณาเพื่อจะมิให้มุกขมนตรีกระวีชาตแลราษฎรล่วงเกินพระราชอาญา, พร้อมด้วยหมู่มุกขมาตยามนตรีกระวิชาติราชสุริยวงษพงษพฤฒาโหราจารยเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศ (สามดวง). |
กระหย่อม | น. หย่อม, หมู่เล็ก ๆ, กองเล็ก ๆ. |
กริว ๒ | (กฺริว) ว. เกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บางหมู่ก็กริวเกริ่น (ม. ฉันท์ มหาพน). |
กรีธา | (กฺรีทา) ก. เคลื่อน, ยก, เดินทางเป็นหมู่เป็นกระบวน, (ใช้ในการยกทัพ). |
กฤตยา ๒, กฤติยา | (กฺริดตะ-, กฺริดติ-) น. เสน่ห์, อาถรรพณ์, เช่น มนตร์กฤตยานั้นซั้น เสื่อมสิ้นทุกอัน (โลกนิติ), หาแม่มดถ้วนหน้า หมู่แก้ กฤติยา (ลอ). |
กฤติกา | (กฺริดติ-) น. ดาวฤกษ์ที่ ๓ มี ๘ ดวง เห็นเป็นรูปธงสามเหลี่ยม มีหางเรียวยาว เช่น หมู่สามสมมุติ์กุกกุฏโบ- ดกกฤติกาขาน (สรรพสิทธิ์), ดาวธงสามเหลี่ยม ดาวลูกไก่ ดาวกฤตติกา หรือ ดาวกัตติกา ก็เรียก. |
กลุ่ม | (กฺลุ่ม) น. คน สัตว์ หรือสิ่งต่าง ๆ ที่รวมกันเป็นหมู่ ๆ หรือเป็นกลุ่มก้อน เช่น กลุ่มคน กลุ่มดาว กลุ่มด้าย |
กว่าเพื่อน | ว. ที่สุดในหมู่ เช่น ดีกว่าเพื่อน เลวกว่าเพื่อน. |
กวางป่า | น. ชื่อกวางชนิด Cervus unicolor Kerr ในวงศ์ Cervidae เป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในหมู่กวางในประเทศไทย ขนยาวหยาบสีน้ำตาล ตัวผู้มีเขาเป็นแขนงข้างละ ๓ กิ่ง ผลัดเขาปีละครั้ง มักแยกอยู่ตามลำพังยกเว้นฤดูผสมพันธุ์จึงจะรวมกลุ่ม กินใบไม้อ่อน หญ้าอ่อน, กวางม้า ก็เรียก. |
ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. |
กะบิล | น. ระเบียบ, หมู่. (ดู กบิล ๒). |
กะรัง ๒ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลางและขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Epinephelus, Cephalopholis และ Plectopomus วงศ์ Serranidae หัวโต รูปร่างป้อม เรียวยาวไปทางหาง แบนข้างเล็กน้อย เกล็ดเล็ก สีตามตัวและครีบเป็นดอกดวง แต้ม หรือบั้ง ฉูดฉาดหรือคลํ้าทึบแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาด พบอาศัยอยู่ตามบริเวณหมู่ปะการัง โขดหินใกล้ฝั่งหรือเกาะ. |
กะเลิด | น. ยานชนิดหนึ่ง คล้ายเลื่อน แต่ใช้เทียมด้วยวัวหรือควาย ไม่มีล้อ ใช้ลากไปตามท้องนาและหมู่บ้าน สำหรับบรรทุกฟ่อนข้าวเป็นต้น. |
กะหร็อมกะแหร็ม | ว. มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น ผมขึ้นกะหร็อมกะแหร็ม, หร็อมเเหร็ม หรือ หย็อมเเหย็ม ก็ว่า. |
กัจฉปะ | (กัดฉะปะ) น. เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์ (ม. ร่ายยาว จุลพน). |
กาย, กาย- | (กายยะ-) น. ตัว เช่น ไม่มีผ้าพันกาย, มักใช้เข้าคู่กับคำ ร่าง เป็น ร่างกาย, ใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า หมู่, พวก, เช่น พลกาย = หมู่ทหาร. |
กาฮัง | น. ชื่อนกเงือกชนิด Buceros bicornis Linn. ในวงศ์ Bucerotidae เป็นนกขนาดใหญ่ที่สุดในหมู่นกเงือก โคนขากรรไกรบนมีโหนกแข็งขนาดใหญ่ คอสีขาว ปีกสีดำพาดเหลือง ปลายปีกขาว หางยาวสีขาวพาดดำ ตัวผู้ตาสีแดง ตัวเมียตาสีขาว กินผลไม้และสัตว์ขนาดเล็ก, กก หรือ กะวะ ก็เรียก. |
Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Library classification | การจัดหมู่หนังสือ, Example: เดิมห้องสมุดส่วนใหญ่จัดเก็บหนังสือ ตามขนาดของหนังสือ ตามสีของปก หรือตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ ต่อมา ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือขึ้น โดยแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ โดยมีพัฒนาการ ดังนี้ <p> <p>1. สมัยโบราณ <p><p> 1.1 ชาวอัสซีเรียน เชื่อกันว่า ชาวอัสซีเรียนเป็นพวกที่เริ่มวิธีการจัดหมู่อย่างเป็นแบบแผน ในสมัยพระเจ้าอัสซูบานิปาล มีการจัดกลุ่มแท่งดินเหนียวในห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ออกเป็น 2 หมวดใหญ่แบ่งตามเนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวทางโลก และ เรื่องราวทางสวรรค์ <p><p> 1.2 ชาวโรมัน ห้องสมุดในสมัยโรมัน มีการแบ่งแยกหนังสือตามประเภทของผู้เขียน เป็น 2 หมวด คือ หนังสือของพวกนักเขียนนอกศาสนา และหนังสือของพวกนักเขียนที่นับถือศาสนาคริสต์หรือนักบวช <p><p> 1.3 ชาวอียิปต์ คัลลิมาคัส ซึ่งเป็นบรรณารักษ์ของห้องสมุดอเล็กซานเดรีย จัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่ คือ กวีนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา วาทศิลป์ และเบ็ดเตล็ด <p> 2 สมัยกลาง อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก คิดระบบการจัดแบ่งวิชาความรู้ออกเป็น 3 ภาคได้แก่ <p><p> - ความรู้ภาคปฏิบัติ (Practical หรือ Ethical) ประกอบด้วย วิชาเศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ และนิติศาสตร์ <p><p> - ความรู้ในทางสร้างสรรค์ (Productive หรือ Creative) ประกอบด้วย วิชากวีนิพนธ์ และศิลปะ <p><p> - ความรู้ภาคทฤษฎี (Theoretical) ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และเทววิทยา <p> 3. สมัยศตวรรษที่ 16 คอนราด เกสเนอร์ (Conrad Gesner) เขียนหนังสือชื่อ Bibliotheca Universalis ซึ่งเป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือภาษาลาติน กรีก และฮินดู จัดเรียงตามรายชื่อหนังสือตามลำดับหัวข้อวิชา โดยแบ่งออกเป็น 21 หัวข้อ <p> 4. สมัยศตวรรษที่ 17 เซอร์ ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Advancement of Learning ขึ้นในปี ค.ศ. 1605 โดยเบคอนมีความคิดว่า มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดเป็น 3 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีผลทำให้เกิดความรู้ขึ้น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ความจำ (Memory) ทำให้เกิดวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 จินตนาการ (Imagination) ทำให้เกิดวิชาร้อยกรอง และ ส่วนที่ 3 เหตุผล (Reason) ทำให้เกิดวิชาปรัชญา <p> จากแนวความคิดนี้เอง ประธานาธิบดี โธมัส เจฟเฟอสัน (Thomas Jefferson) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้นำมาจัดทำเป็นระบบจัดหมู่หนังสือในห้องสมุดส่วนตัว ซึ่งต่อมาก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นระบบจัดหมู่หนังสือในหอสมุดรัฐสภาอเมริกันในยุคแรก <p> 5. สมัยศตวรรษที่ 18 กุสตาฟ บูรเนต์ (Gustave Brunet) ชาวฝรั่งเศส เขียนหนังสือคู่มือการจัดหมู่หนังสือและห้องสมุดชื่อ Manuel du Libraire et d l' Amateur de Livres โดยแบ่งความรู้ออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ เทววิทยา นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี <p> 6. สมัยศตวรรษที่ 19-20 ได้มีผู้คิดระบบจัดหมู่หนังสือเพื่อใช้ในห้องสมุดอย่างจริงจังหลายระบบ ได้แก่ <p><p> ค.ศ. 1876 ระบบทศนิยมดิวอี้ <p><p>ค.ศ. 1891 ระบบเอ็กแพนซีฟ <p><p>ค.ศ. 1901 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><p>ค.ศ. 1905 ระบบทศนิยมสากล <p><p> ค.ศ. 1906 ระบบซับเจ็ค <p><p> ค.ศ. 1933 ระบบโคลอน <p><p> ค.ศ. 1935 ระบบบิบลิโอกราฟิค <p> ระบบการจัดหมู่ในระยะแรกมีแนวคิดในการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่อย่างมีเหตุผลตามแนวทฤษฎี จึงเรียกว่า ระบบทฤษฎี (Theoretical system) ต่อมาในศตวรรษที่ 20 แนวความคิดเปลี่ยนเป็นการคำนึงถึงหนังสือที่มีอยู่จริงในห้องสมุด จึงเรียกว่า ระบบปฏิบัติ (Practical system) <p> บรรณานุกรม <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์. แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์. 2520. ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เล่ม 19. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. <p> Wynar, Bohdan S. 1985. Introduction to Cataloging and Classification. 7th ed. Littletob, Colo. : Libraries Unlimited. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Decimal classification | การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dewey Decimal Classification | การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Shelf list card | บัตรแจ้งหมู่, บัตรแจ้งหมู่หนังสือ, Example: บัตรแจ้งหมู่หนังสือ หรือ บัตรแจ้งหมู่ (Shelf list card หรือ Shelflist card) คือ บัตรมี่ลักษณะเดียวกับบัตรหลักหรือบัตรยืนพื้น กล่าวคือ จะมีข้อมูลหรือรายละเอียดทางบรรณานุกรมเหมือนกันทุกประการ แต่มีการเพิ่มรายการทะเบียนวัสดุสารสนเทศไว้ที่ด้้านล่างซ้ายของบัตร และอาจเพิ่มรายการเกี่ยวกับการไดัรับ และ/หรือ ราคาไว้ที่ด้านหลังบัตร <p> <p>การเีรียงบัตรแจ้งหมู่ให้เรียงตามเลขเรียกหนังสือ ตู้ของบัตรแจ้งหมู่นี้ มักจะเก็บไว้ภายในส่วนของการดำเนินการจัดหมวดหมู่หนังสือ เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการภายใน <p>ประโยชน์ของบัตรแจ้งหมู่ คือ <p>1. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือเพื่อสำรวจหรือ Inventory ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด โดยการใช้บัตรแจ้งหมู่เที่ยบกับทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการอยู่ที่ชั้นหนังสือ เมื่อตรวจสอบแล้วรายการใดไม่ครบหรือตรงตามจำนวนที่ปรากฏในบัตรแจ้งหมู่ จะมีการทำเครื่องหมายกำกับไว้ หรือข้อความกำกับสถานภาพว่า หาย หรือ ซ่อม หรือตามแต่กรณี <p>2.เพื่อตรวจสอบจำนวนทรัพยากรสารสนเทศในแต่ละเรื่องหรือแต่ละหมวดวิชา เพื่อพิจารณาการจัดหาในหมวดวิชานั้นๆ <p>3. เพื่อตรวจสอบบรรณานุกรมและเรียกในการทำรายการใหม่ โดยใช้เพื่อเป็นการตรวจสอบความซ้ำซ้อนของการให้เลขเรียกหนังสือ ถ้าพบว่า มีการให้เลขเรียกหนังสือซ้ำกับที่เคยให้แล้ว จะได้มีการกำหนดเลขเรียกหนังสือใหม่ที่ไม่ซ้ำกับรายการเดิม <p>ทั้งนี้ บัตรแจ้งหมู่ อาจจะไม่มีการดำเนินการแล้ว เนื่องจากปัจจุบันห้องสมุดได้ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศ เป็นส่วนมาก ซึ่งช่วยในการลงรายการต่างๆ ได้อย่างสะดวก และสามารถตรวจสอบความซ้ำซ้อนได้อย่างรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
สังเค็ด | ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด [ศัพท์พระราชพิธี] |
Waste storage | การเก็บรักษากากกัมมันตรังสี, การเก็บรักษากากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ มีการจำกัดเขต ติดป้ายแสดงสถานที่และระดับรังสีอย่างชัดเจน ผนังของสถานที่จัดเก็บมีความหนาเพียงพอต่อการกำบังรังสีให้อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก [นิวเคลียร์] |
Storage, waste | การเก็บรักษากากกัมมันตรังสี, การเก็บรักษากากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ มีการจำกัดเขต ติดป้ายแสดงสถานที่และระดับรังสีอย่างชัดเจน ผนังของสถานที่จัดเก็บมีความหนาเพียงพอต่อการกำบังรังสีให้อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก, Example: [นิวเคลียร์] |
Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรตามการประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
EC Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบยุโรป [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
US Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรแบบอเมริกา [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
IPC Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรตามการประดิษฐ์ระหว่างประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
International Design Classification | ระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Free radical | อนุมูลเสรี, อนุมูลอิสระ, ธาตุ หรือ หมู่ธาตุที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (unpaired electron) อยู่ในโครงสร้าง เกิดขึ้นจากการกระตุ้นโมเลกุลของสารด้วยปฏิกิริยาเคมีหรือพลังงานบางชนิด ส่วนใหญ่มีความไวในการทำปฏิกิริยาเคมี เนื่องจากต้องการจับคู่กับอิเล็กตรอนอื่นเพื่อเข้าสู่สถานะเสถียร อนุมูลเสรีใช้จุดทึบเป็นสัญลักษณ์ เช่น H•, Example: [นิวเคลียร์] |
ABO blood-group system | ระบบหมู่เลือดเอบีโอ [TU Subject Heading] |
Andaman and Nicobar Islands (India) | หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ (อินเดีย) [TU Subject Heading] |
Archipelagoes | หมู่เกาะ [TU Subject Heading] |
Batteries (Ordance) | หมู่อาวุธ [TU Subject Heading] |
Blood grouping and crossmatching | การจัดหมู่เลือดและการทดสอบการเข้ากันได้ [TU Subject Heading] |
Blood groups | หมู่เลือด [TU Subject Heading] |
Cook Islands | หมู่เกาะคุก [TU Subject Heading] |
Falkland Islands War, 1982 | สงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ [TU Subject Heading] |
Fishing villages | หมู่บ้านประมง [TU Subject Heading] |
Galapagos Islands | หมู่เกาะกาลาปากอส [TU Subject Heading] |
Islands of the Pacific | หมู่เกาะแปซิฟิก [TU Subject Heading] |
Jonestown Mass Suicide, Jonestown, Guyana, 1978 | การฆ่าตัวตายหมู่ที่โจนส์ทาวน์ กายอานา, ค.ศ. 1978 [TU Subject Heading] |
Classification system | ระบบการจัดหมวดหมู่ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Mass murder | ฆาตกรรมหมู่ [TU Subject Heading] |
Mass screening | การตรวจกรองหมู่มาก [TU Subject Heading] |
Nanking Massacre, Nanjing, Jiangsu Shen, China, 1937 | การสังหารหมู่ที่นานกิง, หนานจิง, เจียงสู, จีน, ค.ศ. 1937 [TU Subject Heading] |
Neighborhood justice centers | ศาลหมู่บ้าน [TU Subject Heading] |
Nicobar Islands Earthquake, 2004 | แผ่นดินไหวที่หมู่เกาะนิโคบาร์, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading] |
Paracel Islands | หมู่เกาะพาราเซล [TU Subject Heading] |
Psychotherapy, Group | จิตบำบัดหมู่ [TU Subject Heading] |
Rh-Hr blood-group system | ระบบหมู่เลือดอาร์เอช-เอชอาร์ [TU Subject Heading] |
Solomon Islands | หมู่เกาะโซโลมอน [TU Subject Heading] |
Spratly Islands | หมู่เกาะสเปรตลี [TU Subject Heading] |
Village communities | ชุมชนหมู่บ้าน [TU Subject Heading] |
Villages | หมู่บ้าน [TU Subject Heading] |
Soil Grouping | การจัดหมวดหมู่ของดิน [สิ่งแวดล้อม] |
Partial Overlap System หรือ Taungya System | การปลูกสร้างสวนป่าแบบชาวไร่ในรูปหมู่บ้าน ป่าไม้, Example: ระบบวนเกษตรประเภทหนึ่งที่มีการผสมผสานระหว่าง Simultaneous cropping system กับ Cyclical or shifting cultivation system เข้าด้วยกัน โดยมีการปลูกพืชไร่ควบกับการปลูกต้นไม้ ในระยะ 2-3 ปีแรกของรอบตัดฟันหนึ่งๆ หลังจากปีที่ 2 หรือ 3 ผ่านไปแล้วเรือนยอดของต้นไม้จะเริ่มปกคลุมพื้นที่จนทำให้ไม่สามารถปลูกพืช เกษตรควบด้วยได้ จึงปล่อยให้ต้นไม้เจริญเติบโตต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอายุตัดฟันของต้นไม้ จึงทำการตัดต้นไม้ทั้งหมดในพื้นที่นั้นออกไปใช้ประโยชน์ จากนั้นจึงเริ่มปลูกต้นไม้ใหม่โดยปลูกควบกับพืชเกษตรเช่นเดียวกับการปฎิบัต ิในรอบตัดฟันแรก [สิ่งแวดล้อม] |
Africa, Caribean and Pacific Countries | กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคแอฟริกา หมู่เกาะในแคริบเบียน และแปซิฟิก ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าจากสหภาพยุโรป [การทูต] |
ASEAN Foundation | มูลนิธิอาเซียน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกของความเป็นอาเซียนในหมู่ประชาชน และเพื่อให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกอาเซียนอย่างเท่าเทียมกัน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงจาการ์ตา [การทูต] |
Caribbean Community and Common Market | ประชาคมตลาดร่วมแคริบเบียน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2516 ประกอบด้วย แอนติกัวและบาบูดา บาฮามาส บาร์เบโดส เบลิซ หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน โดมินิกา เกรนาดา กายอานา จาเมกา มองเซรัต เซนต์คริสโตเฟอร์และเนวิส เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซูรินาเม ตรินิแดดและโตเบโก และหมู่เกาะเตอร์กและไคโกส [การทูต] |
Organization of Eastern Caribbean States | องค์การรัฐแคริบเบียนตะวันออก " ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2524 ประกอบด้วย แอนติกัวและบาบูดา โดมินิกา เกรนาดา มองเซรัต เซนต์คริสโตเฟอร์และเนวิส เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์ และเกรนาดีนส์ โดยมีหมู่เกาะบริติชเวอร์จินเป็น สมาชิกสมทบ " [การทูต] |
Pacific Islands Forum | PIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต] |
South Pacific Forum | เวทีหารือของกลุ่มประเทศในภูมิภาคแปซิฟิกใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 ประเทศสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย หมู่เกาะคุก ไมโครนีเซีย คีรีบาส หมู่เกาะมาร์แชล เนารู นิวซีแลนด์ นุย ปาปัวนิวกินี หมู่เกาะโซโลมอน ตูวาลู ซามัวตะวันตก วานูอาตู ตองกา ฟิจิ " [การทูต] |
War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] |
อักษรสามหมู่ | [aksøn sām mū] (n, exp) FR: les trois classes de consonnes [ fpl ] ; les trois classes consonantiques [ fpl ] |
การแบ่งหมวดหมู่ | [kān baeng mūatmū] (n, exp) EN: classification |
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ | [kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification FR: classification des ouvrages [ f ] |
กฎหมู่ | [kot mū] (n, exp) EN: mob rule |
หมู่ | [mū] (n) EN: group ; collection ; squad ; bevy ; crowd ; party ; pile ; lot FR: groupe [ m ] ; ensemble [ m ] ; collection [ f ] ; classe [ f ] ; lot [ m ] |
หมู่ | [mū] (n) EN: sector FR: secteur [ m ] ; quartier [ m ] |
หมู่ | [mū] (n) EN: [ classifier : group, collection, bevy, squad, crowd, herd, flock, party ] |
หมวดหมู่ | [mūatmū] (n) EN: classification |
มวยหมู่ | [mūay mū] (n, exp) EN: melee ; dog fight |
หมู่บ้าน | [mūbān] (n) EN: village ; hamlet FR: village [ m ] ; hameau [ m ] ; communauté [ f ] |
หมู่บ้านชายแดน | [mūbān chāidaēn] (n, exp) EN: border village FR: village frontalier [ m ] |
หมู่บ้านชนบท | [mūbān chonnabot] (n, exp) EN: rural village FR: village rural [ m ] |
หมู่บ้านจัดสรร | [mūbān jatsan] (n, exp) EN: housing development |
หมู่บ้านนักกีฬา | [mūbān nakkīlā] (n, exp) EN: athletic village |
หมู่บ้านภูเขา | [mūbān phūkhao] (n, exp) EN: mountain village FR: village de montagne [ m ] |
หมู่บ้านประมง | [mūbān pramong] (n, exp) EN: fishing village FR: village de pêcheurs [ m ] |
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง | [mūbān sētthakit phøphīeng] (n, exp) EN: self-reliant village |
หมู่คณะ | [mūkhana] (n) EN: staff ; clique ; bloc ; organization |
หมู่เกาะ | [mūkǿ] (n) EN: group of islands ; archipelago FR: archipel [ m ] ; chapelet d'îles [ m ] |
หมู่เกาะกาลาปากอส | [Mūkǿ Kālāpākøs] (n, prop) FR: îles Galápagos [ fpl ] |
หมู่เกาะคะเนรี | [Mūkǿ Khanērī] (n, prop) EN: Canary Islands FR: îles Canaries [ fpl ] |
หมู่โลหิต | [mū lōhit] (n, exp) FR: groupe sanguin ]m ] ; groupe sanguin érythrocytaire [ m ] |
หมู่โลหิตบี | [mū lōhit bī] (n, exp) FR: groupe (sanguin) B [ m ] |
หมู่ไม้ | [mūmāi] (n) EN: thicket ; grove ; bush ; cluster FR: fourré [ m ] ; bosquet [ m ] ; buisson [ m ] |
หมู่นี้ | [mū nī] (adv) EN: at the present time ; for the past few days ; recently ; lately FR: récemment |
หมู่ผู้ใช้ | [mū phūchai] (n, exp) EN: group of users FR: groupe d'utilisateurs [ m ] |
หมู่ญาติ | [mūyāt] (n) EN: relatives ; cousin ; lineage ; kin ; kinsmen FR: parents [ mpl ] ; membres de la famille [ mpl ] ; famille [ f ] |
ในหมู่ | [naimū] (prep) EN: among FR: parmi |
ผู้หมู่ | [phūmū] (n) EN: sergeant ; corporal |
ประหารหมู่ | [prahān mū] (v, exp) FR: massacrer |
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ | [rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ] |
รวมหมู่ | [rūam mū] (v, exp) EN: gather together ; gather intergroup |
ตายหมู่ | [tāi mū] (v, exp) EN: die en mass |
โต๊ะหมู่ | [tomū] (n) EN: set of altar table |
โต๊ะหมู่บูชา | [tomūbūchā] (n) EN: set of altar tables |
altar | (n) แท่นบูชา, See also: โต๊ะหมู่บูชา, ที่บูชา |
among | (prep) ท่ามกลาง, See also: ในจำนวน, ในระหว่าง, ในพวก, ในหมู่, Syn. amongst, surrounded by, Ant. beyond, away from |
amongst | (prep) ท่ามกลาง, See also: ในจำนวน, ในระหว่าง, ในพวก, ในหมู่, Syn. among, surrounded by, Ant. beyond, away from |
archipelago | (n) ทะเลบริเวณที่มีหมู่เกาะ |
archipelago | (n) หมู่เกาะ |
apportion among | (phrv) แบ่งปัน, See also: แบ่งสรรปันส่วนในหมู่, จัดสรร |
barn dance | (n) การเต้นรำหมู่ในโรงนา, Syn. square dance, country dance |
batch | (n) หมู่, See also: พวก, ชุด, กลุ่ม, Syn. group |
blood group | (n) หมู่เลือด |
blood type | (n) หมู่เลือด |
bloodbath | (n) การฆาตกรรมหมู่ |
brush | (n) หมู่ไม้เตี้ยๆ, See also: ไม้พุ่ม, Syn. bush |
bunch | (n) หมู่คน, See also: พวก, กลุ่ม, Syn. group, Ant. individual |
categorize | (vt) จัดหมวดหมู่, See also: จัดกลุ่ม, จัดประเภท, Syn. classify |
category | (n) หมวด, See also: หมู่, หมวดหมู่, ประเภท, Syn. class, type |
choral | (adj) ซึ่งประสานเสียงหมู่, See also: ที่ร้องหมู่ |
chorus | (n) คณะขับร้องหมู่, See also: คณะนักร้องประสานเสียง, Syn. choir, choristers |
chorus | (vt) ร้องประสานเสียง, See also: ขับร้องหมู่ |
class | (vt) จัดแบ่งหมวดหมู่, See also: จัดกลุ่ม, Syn. classify, categorize |
clump | (vt) ปลูกไว้เป็นหมู่ |
codification | (n) การจัดระเบียบหมวดหมู่กฎหมายหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ, See also: การเรียบเรียง, การประมวล, Syn. arrangement, classification |
collective | (n) กลุ่ม, See also: หมู่คณะ, กอง, Syn. group |
collective | (adj) ซึ่งเป็นกลุ่ม, See also: ซึ่งเป็นกอง, ซึ่งรวมกันเป็นหมู่, Syn. aggregate, collected, Ant. distributive |
collectively | (adv) อย่างเป็นกลุ่ม, See also: อย่างเป็นกอง, อย่างรวมกันเป็นหมู่, Syn. mass, unanimously |
colony | (n) กลุ่ม, See also: หมู่, เหล่า, พวก, Syn. community, group, swarm |
fight among | (phrv) ต่อสู้กันในหมู่หรือท่ามกลาง, Syn. fight amongst |
fight amongst | (phrv) ต่อสู้กันในหมู่หรือท่ามกลาง, Syn. fight among |
decimate | (vt) ทำลายยับเยิน, See also: ทำลายไปเป็นจำนวนมาก, สังหารหมู่, Syn. abate, massacre |
decimation | (n) การทำลายล้างเป็นจำนวนมาก, See also: การสังหารหมู่, การฆ่าล้างบาง, Syn. genocide, destruction |
embattle | (vt) สร้างตึก, หมู่บ้าน เพื่อใช้ในการรบ (คำโบราณ), Syn. fortify |
endogamy | (n) การแต่งงานของคนที่อยู่ในเผ่าเดียวกัน, See also: การแต่งงานในหมู่ญาติมิตร |
esprit de corps | (n) ความภาคภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ, Syn. camaraderie, group spirit |
Fiji | (n) ประเทศฟิจิ, See also: หมู่เกาะฟิจิและเกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก, Syn. Fiji Islands |
file | (n) เอกสารที่จัดเก็บเป็นหมวดหมู่ |
flock | (n) ฝูงสัตว์, See also: กลุ่ม, โขยง, หมู่, Syn. herd, gaggle, skein |
flock | (n) ฝูงชน, See also: ขบวนประชาชน, หมู่ชน, Syn. group, company, crowd, Ant. solitary |
go round | (phrv) แจกจ่าย (ในกลุ่มหรือหมู่), Syn. send around, send round, take round |
go through | (phrv) แพร่เข้าไปในหมู่หรือกลุ่ม |
intermarry with | (phrv) แต่งงานกันระหว่าง, See also: แต่งงานกันในหมู่ของ |
gam | (vi) อยู่เป็นกลุ่ม, See also: อยู่เป็นหมู่, รวมกันเป็นฝูง |
gang warfare | (n) มวยหมู่, Syn. street fight, fight, rumble |
group | (n) กลุ่ม, See also: คณะ, พวก, ฝ่าย, หมู่, เหล่า, Syn. band, division, gang, party, type |
grove | (n) ป่าละเมาะ, See also: ป่าเล็กๆ, แมกไม้, หมู่ไม้, Syn. spinney, woods |
hacker | (n) ผู้ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ (ทางคอมพิวเตอร์), See also: ผู้เจาะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นคำที่ใช้ในหมู่นักเขียนโปรแกรมหมายถึงผู้แสดงหาควา |
hamlet | (n) หมู่บ้านเล็กๆ |
Hawaiian Islands | (n) หมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก |
Hibernia | (n) หมู่เกาะของประเทศไอร์แลนด์ (คำโบราณหรือทางวรรณคดี) |
horde | (n) โขยง, See also: โขลง, เหล่า, หมู่, ฝูง, Syn. crowd, herd, throng |
in a body | (idm) มาเป็นหมู่, See also: มากันเป็นกลุ่ม |
square meal | (idm) อาหารครบห้าหมู่, See also: อาหารที่ดี |
amiga | (อามิกา) เป็นชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซียี่ห้อหนึ่งที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ราคาไม่สู้จะแพงนัก นิยมใช้เฉพาะในหมู่นักวาดภาพและนักดนตรี |
among | (อะมัง') prep. ในระหว่าง, ในหมู่, ในจำพวก, ระหว่าง (surrounded by) |
antiphony | (แอนทิฟ' โฟนี) n. การขับร้องสลับกันในหมู่นักร้อง, โคลงกลอนที่ร้องสลับกัน, antiphon, การขับร้องตอบโต้กัน. -antiphonic (al) adj. (singing, antiphon) |
aquila | (แอค'วิลา) n. ชื่อหมู่ดาว (Eagle) |
archipelago | (อาร์คิเพล'ละโก) n., (pl. -goes. -gos) หมู่เกาะ -archipelagic, archipelagian adj., Syn. island group |
aristocracy | (แอริสทอค'คระซี) n. พวกคนชั้นสูง, พวกขุนนาง, คณาธิปไตย, การปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ, การปกครองของขุนนาง, Syn. gentry, nobility, Ant. proletariat |
aristocratic | (อะริสโทแครท'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ (คณาธิปไตย) , มีลักษณะของคนชั้นสูง |
aristocratical | (อะริสโทแครท'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ (คณาธิปไตย) , มีลักษณะของคนชั้นสูง |
artiodactyl | (อาร์ทีโอแดค'ทิล) adj. มีนิ้วมือ (เท้า) เป็นเลขคู่. -n. สัตว์มีกีบจำพวก Artiodactyla เช่นหมู่ อูฐ แพะ แกะ วัว ควาย. -artiodactylous adj. (hoofed) |
assorted | (อะซอร์ท'ทิด) adj. ประกอบด้วยชนิดที่คัดเลือกแล้ว, ประกอบด้วยชนิดต่าง ๆ , หลายชนิด, หลากหลาย, คละกัน, เหมาะสม, แบ่งประเภทเป็นหมู่, Syn. miscellaneous, varied, sundry, Ant. matching, similar |
austronesia | (ออสโทรนี'เซีย) n. หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและใต้ |
austronesian | (ออสโทรนิ'เซียน) adj. เกี่ยวกับหมู่เกาะและภาษา Austronesta; Malayo- Polynesian. -n. Malayo-Polynesian |
azores | (อะซอร์ซ') n. ชื่อหมู่เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติคตอนเหนือ. -Azorian adj. |
band | (แบนดฺ) { banded, banding, bands } n. สายคาด, สายรัด, แถบ, ปลอก, หมู่, พวก, คณะ, วงดนตรี, คณะตนตรี, ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ, สิ่งผูกมัดคน, โซ่ตรวน, ปลอกรัด, พันธะ, ข้อผูกพัน vt., vi. ใช้สายผูกรัด, รวมกลุ่ม, ประดับด้วยสายหรือแถบ, See also: bander n. |
batch | (แบทชฺ) n. ชุด, หมู่, พวก, ยุก, ปริมาณวัตถุที่ทำแต่ละครั้ง |
bloc | (บลอค) n. กลุ่มคน, หมู่คน, กลุ่มสมาชิกพรรคการเมือง, Syn. group |
blood bath | n. การฆ่ากันอย่างอำมหิต, การฆาตกรรมหมู่ |
brigade | (บริเกด') { brigaded, brigading, brigades } n. กองพัน, กองทหารขนาดใหญ่, กลุ่มคนหรือหมู่คณะที่รวมกันเพื่อทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง. vt. จัดเป็นกองพัน, จัดเป็นกลุ่ม, Syn. group |
brunet | (บรูเนท') n., adj. คนที่ (โดยเฉพาะผู้ชาย) มีผมดำตาดำหรือผิวคล้ำ (ในหมู่คนขาว), See also: brunetness n. -Conf. brunette |
cant | (แคนทฺ) n. ข้อความเท็จ, คำพูดเท็จ, คำพูดปากหวานก้นเปรี้ยว, ถ้อยคำพิเศษที่ใช้เฉพาะในหมู่ชนหนึ่ง ๆ , ภาษาวิชาชีพ, การพูดเป็นเพลง, ความเอียง vi. พูดแบบปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, พูดเป็นเพลง, Syn. hypocrisy |
categorise | (แคท'ทะกอไรซ) v { categorized, categorised, categorising, categorizing, categorizes, categorises } จัดเป็นหมวดหมู่, ลำดับขั้น, แบ่งออกเป็นประเภท, See also: categorist n. ดูcategorise categorization n. ดูcategorise, Syn. classif |
categorize | (แคท'ทะกอไรซ) v { categorized, categorised, categorising, categorizing, categorizes, categorises } จัดเป็นหมวดหมู่, ลำดับขั้น, แบ่งออกเป็นประเภท, See also: categorist n. ดูcategorise categorization n. ดูcategorise, Syn. classif |
celt | n. ชาวเซลท์ที่อยู่ในหมู่เกาะอังกฤษ, Syn. kelt -Celtic adj., n. |
classification | (แคลสซิฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นหมวดหมู่., See also: classificatory adj. -al adj. |
classified | (แคลส'ซิไฟดฺ) adj. ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทหรือหมวดหมู่, สำหรับเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น, เป็นความลับ. n. แจ้งความเล็ก ๆ ในหน้าหนังสือพิมพ์, Syn. confidential |
classify | (แคลส'ซิไฟ) ฐclassified, classifying, classifies } vt. แยกประเภท, แยกหมวดหมู่, จัดให้เป็นประเภทความลับ., See also: classifiable adj. ดูclassify |
clique | (คลิค) n. พวก, คณะ, กลุ่ม, หมู่, ก๊ก, ชมรม vi. จัดกลุ่มขึ้น vt.เข้ากลุ่ม, See also: cliquey, cliquy adj. |
clump | (คลัมพฺ) n. หมู่ต้นไม้, ก้อน, กลุ่ม v. เดินหนักและงุ่มง่าม, จับกันเป็นกลุ่มก้อน, See also: clumpy, clumpish, Syn. bunch |
codifies } | vt. ประมวล, จัดเป็นหมวดหมู่ |
codify { codified | vt. ประมวล, จัดเป็นหมวดหมู่ |
codifying | vt. ประมวล, จัดเป็นหมวดหมู่ |
cohort | (โค'ฮอร์ท) n. ผู้ร่วมงาน, กลุ่ม, หมู่, กลุ่มนักรบ, กลุ่มทหาร, เพื่อน, ผู้ติดตาม, Syn. colleague |
collective | (คะเล็ค'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับการรวบรวมไว้.n. หมู่คณะ, ส่วนรวม, กลุ่ม, ก้อน, See also: collectivity n. ดูcollective, Syn. cumulative |
commonalty | (คอม'มะแนลที) n. สามัญชน, คนสามัญ, ประชาชน, หมู่คณะ, Syn. commonality |
company | (คัม'พะนี) n. หมู่เพื่อนฝูง, วงสมาคม, การสังคม, การคบค้า, บริษัท, คณะ, หมู่, แขก, กองร้อย, Syn. association, body |
confraternity | (คอนฟระเทอ'นิที) n. หมู่, คณะ, ชมรม, สมาคม., See also: confraternal adj. ดูconfraternity |
confrere | (คอน'แฟรฺ) n. สมาชิกชมรม (หมู่คณะ, สมาคม), Syn. colleague |
corporate | (คอร์'เพอริท) adj. เกี่ยวกับหมู่คณะ/สมาคม นิติบุคคล/บริษัทหรืออื่น ๆ , ซึ่งรวมกันเป็นหมู่, ทั้งหมู่, ทั้งคณะ, Syn. collective |
corporation | (คอร์พะเร'เชิน) n. บริษัท, หมู่, คณะ, สมาคม, นิติบุคคล, สโมสร, วิสหกิจ, เทศบาล |
corps | (คอร์) n., (pl. corps) หมู่, เหล่า, คณะ, กลุ่ม, หน่วยทหาร, กองพลน้อย, Syn. group |
dactylology | n. ภาษานิ้วมือใช้กันมากในหมู่คนใบ้ |
decury | (เดค'คะรี) n. หมู่ 10 คน |
dis | (ดิส) เทพเจ้าแห่งนรก, นรก, หมู่คนเลว |
dorp | (ดอร์พ) n. หมู่บ้าน, หมู่เล็ก ๆ |
faction | (แฟค'เชิน) n. หมู่, เหล่า, ก๊ก, พวก, ฝ่าย, การต่อสู้ภายในหมู่ (เหล่า, ก๊ก, พวก, ฝ่าย) |
factional | (แฟค'เชินเนิล) adj. เกี่ยวกับหมู่ (เหล่า, ก๊ก, พวก, ฝ่าย) , เห็นแก่ตัว, ซึ่งถือพวกถือพ้อง |
flock | (ฟลอค) n. ฝูง, โขยง, กลุ่ม, หมู่, ผู้คนจำนวนมาก, ฝูงชน, ก้อน, กลุ่มก้อน. vi. รวมกลุ่ม, จับกลุ่ม, ออ, Syn. herd, group |
folk | (โฟล์ค) n. ประชาชน, ชาวบ้าน, คนทั่วไป, ญาติสมาชิกของครอบครัว, พ่อแม่. adj. เกี่ยวกับชาวบ้าน หรือสามัญชน. ซึ่งกำเนิดในหมู่สามัญชน., See also: folkish adj. folkishness n., Syn. persons, people |
fourth generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ในยุคที่สี่นี้มีขนาดของหน่วยความจำเล็กกว่ายุคที่สามลงไปอีก มีการนำไอซี (IC หรือ integrated circuit) หรือวงจรเบ็ดเสร็จมารวมกันเป็นแผงใหญ่ ๆ เรียกว่าแผงวงจรรวมความจุสูง (large scale integrated circuit) หรือบางทีเรียกกันว่าชิป (chip) ทำให้สร้างคอมพิวเตอร์ได้เล็กลงมาก จึงทำให้เกิดมีไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซีขึ้น ราคาขายในท้องตลาดก็ลดลงได้มาก ทำให้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็วในหมู่คนทั่วไป ไม่เฉพาะแต่นักคอมพิวเตอร์ ต่อมาปลายยุคที่สี่นี้ มีการนำพีซีหลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (network) ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปอีกดู generation ประกอบ |
galaxy | (แกล'ลัคซี) n. กาแล็กซี, หมู่ใหญ่มากของดวงดาว, ทางช้างเผือก |
among | (pre) ท่ามกลาง, ในหมู่, ระหว่าง |
amongst | (pre) ท่ามกลาง, ในหมู่, ระหว่าง |
archipelago | (n) หมู่เกาะ |
band | (n) ปลอก, แถบ, ผ้าพันหมวก, สายคาด, พวก, หมู่, คณะ, แตรวง |
batch | (n) หมู่, พวก, ชุด |
bevy | (n) กลุ่ม, ฝูง, หมู่, คณะ |
bloc | (n) หมู่, กลุ่มคน, ฝูงคน, พวก |
BLOOD blood group | (n) กลุ่มเลือด, หมู่เลือด, กรุ๊ปเลือด |
BLOOD blood type | (n) กลุ่มเลือด, หมู่เลือด, กรุ๊ปเลือด |
brigade | (n) กองทหาร, กองพลน้อย, กองพัน, กลุ่มคน, หมู่คณะ |
carnage | (n) การฆาตกรรม, การสังหาร, การฆาตกรรมหมู่ |
circle | (n) วงกลม, วงแหวน, วงเวียน, บริเวณ, ขอบเขต, หมู่คณะ, การหมุนเวียน, วัฏจักร |
classification | (n) การแบ่งประเภท, การจัดหมวดหมู่, การแยกประเภท |
classify | (vt) แบ่งประเภท, จัดหมวดหมู่, จัดประเภท, แยกประเภท, แบ่งชั้น |
clique | (n) พวก, คณะ, ก๊ก, หมู่, กลุ่ม, ชมรม |
cluster | (n) กลุ่ม, ก้อน, หมู่, ฝูง, พวก, พวง, ช่อ |
cluster | (vi) รวมกลุ่ม, เป็นหมู่, เป็นฝูง, เป็นพวก |
codify | (vt) ทำเป็นประมวล, ทำเป็นระเบียบ, รวบรวม, เข้ารหัส, จัดหมวดหมู่ |
collect | (vi, vt) เก็บรวบรวม, เก็บสะสม, สะสม, รวมหมู่, เกาะกลุ่ม, จับกลุ่ม |
collective | (adj) เกี่ยวกับหมู่คณะ, เกี่ยวกับส่วนรวม, โดยรวม |
collective | (n) ส่วนรวม, หมู่คณะ, กลุ่ม |
colony | (n) อาณานิคม, ดินแดน, ประเทศอาณานิคม, หมู่คณะ |
company | (n) บริษัท, ห้างร้าน, การสังคม, วงสมาคม, การคบค้า, หมู่คณะ |
constellation | (n) หมู่ดาว, ดาวฤกษ์, ดารากร |
corporate | (adj) เกี่ยวกับหมู่คณะ, ทั้งคณะ, เกี่ยวกับบริษัท |
corps | (n) คณะ, หมู่, เหล่า, กองร้อย |
faction | (n) หมู่คณะ, ก๊ก, พวก, ฝ่าย, เหล่า |
flock | (vi) ชุมนุม, จับกลุ่ม, รวมหมู่, รวมกลุ่ม, ออ |
galaxy | (n) กลุ่มดาว, ทางช้างเผือก, หมู่คนแต่งกายงดงาม |
gang | (n) คณะ, พวก, หมู่คน, ชุด, กลุ่ม, แก๊ง, พวกโจร |
group | (n) หมู่, พวก, กลุ่ม, ฝูง, เหล่า, ชุด |
group | (vt) เข้าหมู่, เข้าพวก, เข้ากลุ่ม, แบ่งพวก |
hamlet | (n) หมู่บ้านเล็กๆ |
horde | (n) โขลง, หมู่, ฝูง, กอง, เหล่า |
horde | (vi) รวมฝูง, รวมหมู่, รวมเหล่า, รวมเป็นโขลง |
majority | (n) หมู่มาก, คะแนนเสียงส่วนมาก, วัยผู้ใหญ่ |
massacre | (n) การฆาตกรรมหมู่, การสังหารหมู่ |
massacre | (vt) ฆ่าหมู่, สังหารหมู่ |
shibboleth | (n) คำทดสอบ, คำสัญญาณในหมู่คณะ, คำสั่ง |
squad | (n) กลุ่ม, หมู่ทหาร, หมู่คณะ, ทีม |
squadron | (n) กองพันทหารม้า, กองทหาร, กองเรือรบ, ฝูงเครื่องบิน, หมู่คณะ |
subsume | (vt) จัดหมวดหมู่, รวมพวก, พินิจพิเคราะห์ |
tribal | (adj) เกี่ยวกับหมู่ชน, เกี่ยวกับเผ่า |
tribe | (n) หมู่ชน, จำพวก, เผ่า, ชาติ, ประเภท |
troop | (n) กองทหาร, กองกำลัง, หมู่, กลุ่ม, ฝูง |
vernacular | (adj) เกี่ยวกับภาษาพื้นเมือง, เกี่ยวกับภาษาเฉพาะหมู่คณะ |
village | (n) หมู่บ้าน |
yesterday | (n) วานนี้, อดีต, หมู่นี้, ระยะนี้ |
Assumption College Sriracha | [-] (name) โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6 |
Canki | (n) จังกีพราหมณ์ ในพุทธประวัติ ครอบครองหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อโอปาสาทะ ซึ่งพระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชทานให้ครอบครอง |
chalcogen | [ชาโคเจน] (n) ชื่อธาตุหมู่ 6A (IVA) , ธาตุหมู่ชาโคเจน |
doggy | (n, aux, verb, abbre) เป็นรูปแบบการ ผสมพันธ์แบบหมา รูปที่ยกมาให้เป็นแบบ doggy หมู่, See also: A. catty, sex, Syn. cat Image: |
Epigenetic | [อีพีเจเนติกส์] อีพีเจเนติกส์ หรือพันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม คือองค์ความรู้ทางชีววิทยาโดยเฉพาะพันธุศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของการแสดงออกของยีนที่เกิดจากกระบวนการอื่นนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงลำดับดีเอ็นเอ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีนแบบนี้เช่นการเติมหมู่เมธิลบนดีเอ็นเอหรือการถอนหมู่อะเซทิลออกจากฮิสโตน เป็นการยับยั้งการแสดงออกของยีนนั้นๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของลำดับดีเอ็นเอในยีนนั้นๆ |
Gangbang | (slang) การรุมโทรม หรือการร่วมเพศหมู่, See also: rape, Syn. gang-rape |
Gangbang | (slang) การรุมโทรม หรือการร่วมเพศหมู่ ( * w *m iiiita), See also: rape, Syn. gang-rape |
holocaust | (n) การสังหารหมู่, การทำลายล้างซึ่งส่งผลให้ผู้คนตายเป็นจำนวนมาก |
LC | ระบบการจัดหมวดหมู่แบบรัฐสภาอเมริกัน |
lnw | (slang) เป็นคำที่เลียนแบบภาษาไทยให้ดูคล้ายคำว่า "เทพ" เป็นที่นิยมในหมู่เกรียนเพื่อที่จะบ่งบอกความเก่งของตน ซึ่งโดยมากจะตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิง, Syn. god |
long kong | (name) ลองกองเป็นชื่อของผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ MELIACEAE ชื่อสามัญคือ long kong ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Lansium domesticum Corr. ลองกองนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย Image: |
Mass Hysteria | (n, name) อุปทานหมู่ |
Moo | หมู่ (หมู่บ้าน) ในประเทศไทย |
overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย |
Plassey | (name) ปลาศี เป็นหมู่บ้านในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ. 1757 อังกฤษได้รับชัยชนะในยุทธการที่ปลาศี และเริ่มแผ่อิทธิพลครอบงำอินเดีย |
radiator | [เรดิเอเตอร์] (n) ธาตุกัมมันตรังสี, ธาตุที่สามารถแผ่รังสีได้ (ธาตุสุดท้ายของแต่ละหมู่ของตารางธาตุและธาตุที่ไม่เสถียรต่างๆ) |
rawee | (n) ชื่อของคน ศจ.ดร.ระวี ภาวิไล ดวงตะวัน หมู่เกาะราวีที่ประเทศมาเลเซีย, See also: ravi |
squad leader | (n) ผู้บังคับหมู่ |
Squad Leader | [สควอด ลีด เดอ] (n) ผู้บังคับหมู่ |
บดินทร์ | (n) ผู้เป็นใหญ่ในหมู่เทวดา |