ปฏิวัติ | (v) overthrow, See also: stage a revolution, Syn. เปลี่ยนแปลง, ปฏิรูป, Example: ผู้นำทหารปฏิวัติไม่สำเร็จเลยต้องหนีออกนอกประเทศ |
การปฏิวัติ | (n) revolution, See also: revolutionary, Syn. การเปลี่ยนแปลง, Example: ญี่ปุ่นเป็นผู้ริเริ่มให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นในเอเชีย, Thai Definition: การเปลี่ยนแปลงระบบหรือการเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง |
คณะปฏิวัติ | (n) revolutionary council, See also: revolutionary committee, revolutionary group, revolutionary party, Example: คณะปฏิวัติออกแถลงการณ์ฉบับที่ 1 ทางสถานีโทรทัศน์ทุกช่อง, Count Unit: คณะ, Thai Definition: กลุ่มบุคคลที่มาร่วมกันเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบหรือระบอบการบริหารบ้านเมือง |
นักปฏิวัติ | (n) revolutionist, Example: เหมาเจ๋อตุงเป็นนักปฏิวัติที่สำคัญคนหนึ่งของประวัติศาสตร์จีน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เคลื่อนไหวล้มล้างอำนาจรัฐ |
นักปฏิวัติ | (n) revolutionist, Example: จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนักปฏิวัติที่สำคัญของไทย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้นำในการเปลี่ยนแปลงระบบหรือระบอบการบริหารบ้านเมือง |
ผู้ปฏิวัติ | (n) revolutionist, See also: insurgent, rebel, Example: จอมพลสฤษดิ์ ผู้ปฏิวัติการบริหารประเทศได้เชื้อเชิญญี่ปุ่นให้เข้ามาร่วมในโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ, Thai Definition: ผู้เปลี่ยนแปลงระบบ |
Industrial revolution | การปฏิวัติอุตสาหกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Art and revolutions | ศิลปะกับการปฏิวัติ [TU Subject Heading] |
Arts and revolutions | ศิลปกรรมกับการปฏิวัติ [TU Subject Heading] |
Green Revolution | การปฏิวัติเขียว [TU Subject Heading] |
Industrial revolution | ปฏิวัติอุตสาหกรรม [TU Subject Heading] |
Motion pictures and the revolution | ภาพยนตร์กับการปฏิวัติ [TU Subject Heading] |
Music and the revolution | ดนตรีกับการปฏิวัติ [TU Subject Heading] |
Revolutionaries | นักปฏิวัติ [TU Subject Heading] |
Revolutions | ปฏิวัติ [TU Subject Heading] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Information Revolution | การปฏิวัติสารสนเทศ [การจัดการความรู้] |
Green Revolution | การปฏิวัติเขียว [การแพทย์] |
การปฏิวัติ | [kān patiwat] (n) EN: revolt ; revolution ; mutiny ; rebellion FR: révolte [ f ] ; révolution [ f ] ; insurrection [ f ] ; soulèvement [ m ] ; émeute [ f ] |
การปฏิวัติฝรั่งเศส | [Kān Patiwat Farangsēt] (n, prop) FR: Révolution française [ f ] |
การปฏิวัติคาร์เนชั่น | [Kān Patiwat Khānēchan] (n, prop) EN: Carnation Revolution FR: révolution des œillets [ f ] |
การปฏิวัติเขียว | [Kān Patiwat Khīo] (n, prop) EN: Green Revolution FR: Révolution verte [ f ] |
การปฏิวัติพลังงาน | [kān patiwat phalang-ngān] (n, exp) EN: Energy [ R ]evolution |
การปฏิวัติพฤษภา ’68 | [kān patiwat phreutsaphā hoksip-paet] (n, exp) FR: Mai 68 |
การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 (๒๔๗๕) | [Kān Patiwat Sayām phø.sø. søng phan sī røi jetsip-hā] (n, prop) EN: Siamese Revolution of 1932 ; Siamese Coup d'état of 1932 ; 1932 Revolution in Siam FR: coup d'État de 1932 [ m ] |
การปฏิวัติทางพันธุกรรม | [kān patiwat thāng panthukam] (n, exp) EN: genetic revolution |
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา | [kān patiwat thāng phūmpanyā] (n, exp) EN: Intellectual Revolution |
การปฏิวัติทางอุตสาหกรรม | [kān patiwat thāng utsāhakam] (n, exp) EN: Industrial Revolution FR: révolution industrielle [ f ] |
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ | [kān patiwat thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: Scientific Revolution |
การปฏิวัติเทคโนโลยี | [kān patiwat thēknōlōyī] (n, exp) EN: Technological Revolution FR: révolution technologique [ f ] |
การปฏิวัติอุตสาหกรรม | [kān patiwat utsāhakam] (n, exp) EN: Industrial Revolution FR: révolution industrielle [ f ] |
การปฏิวัติวัฒนธรรม | [kān patiwat watthanatham] (n, exp) EN: cultural revolution FR: révolution culturelle [ f ] |
ลักษณะปฏิวัติ | [laksana patiwat] (n, exp) EN: revolutionary nature |
มือปฏิวัติ | [meū patiwat] (n, exp) EN: expert in staging a coup d'etat |
นักปฏิวัติ | [nakpatiwat] (n) EN: revolutionary ; revolutionist FR: révolutionnaire [ m ] |
ปฏิวัติ | [patiwat] (n) EN: revolution FR: révolte [ f ] ; révolution [ f ] |
ปฏิวัติ | [patiwat] (v) EN: revolt ; overthrow ; stage a revolution ; drastically reform FR: se révolter ; renverser le pouvoir |
ปฏิวัติ | [patiwat] (adj) EN: revolutionary |
ปฏิวัติการศึกษา | [patiwat kānseuksā] (n, exp) EN: educational revolution ; revolution in education |
ปฏิวัติอุตสาหกรรม | [patiwat utsāhakam] (n, exp) EN: industrial revolution FR: révolution industrielle [ f ] |
coup | (n) รัฐประหาร, See also: ปฏิวัติ, Syn. revolution, overthrow |
coup d'etat | (n) การรัฐประหาร, See also: การชิงอำนาจ, การปฏิวัติ, Syn. putsch, takeover |
Industrial Revolution | (n) การปฏิวัติอุตสาหกรรม, See also: เริ่มในประเทศอังกฤษช่วงตอนกลางของศตวรรษที่ 18 ก่อนแพร่หลายเข้าสู่ทวีปยุโรปและสหรัฐอเมร |
new broom | (n) ผู้มาทำงานใหม่ที่มาปฏิวัติสิ่งต่างๆ |
nihilism | (n) การก่อการร้าย, See also: การปฏิวัติ, Syn. terrorism |
redcoat | (n) ทหารอังกฤษที่แต่งเครื่องแบบสีแดงช่วงการปฏิวัติในอเมริกา |
revolt | (vi) ปฏิวัติ, See also: กบฏ, จลาจล, Syn. mutiny, rebel, resist |
revolt | (n) การปฏิวัติ, See also: การกบฏ, จลาจล, Syn. rebellion, revolution |
revolution | (n) การปฏิวัติ, Syn. mutiny, rebellion, revolt |
revolutionary | (adj) เกี่ยวกับการปฏิวัติ, Syn. rebellious, revolting, insurgent |
revolutionise | (vt) ปฏิวัติ, See also: ทำให้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก, Syn. transform, remodel, recast |
revolutionist | (n) นักปฏิวัติ, See also: ผู้ปฏิวัติ, Syn. revolter |
revolutionize | (vt) ปฏิวัติ, See also: ทำให้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก, Syn. transform, remodel, recast |
uprising | (n) การปฏิวัติ, Syn. revolt, rebellion |
ancien regime | (อานุเซียน' เรจึม) fr. ระบบการเมืองและสังคมของฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติปี ค.ศ.1789 ระบอบเก่า |
counterrevolution | (เคา'เทอะเรฟโวลู'เชิน) n. การปฏิวัติซ้อน, การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านการปฏิวัติที่เกิดขึ้น. |
filibuster | (ฟิล'ละบัสเทอะ) n., v. (ผู้ที่) (การ) ปฏิบัติการที่ทหารเข้าไปในประเทศอื่นโดยพลการเพื่อสนับสนุนการปฏิวัติ, ขัดขวางการยอมรับญัตติหรือกฎหมายในสภา, , See also: filibusterer n. filibusterism n. |
french revolution | n. การปฏิวัติในฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ.1789 โค่นล้มราชวงศ์Bourbonและนโปเลียนมหาราชโดยยึดอำนาจเมื่อปี ค.ศ.1799 |
nihilism | (ไน'อะลิสซึม) n. ลัทธิยกเลิกกฎหมายและองค์กรบริหารทั้งหลาย, คนสงสัยอย่างยิ่งยวด, ลัทธิทำลาย, สภาวะที่ไร้กฎหมาย มีการก่อการร้ายและการปฏิวัติอื่น ๆ , การทำลายสิ้นเชิง., See also: nihilist n., adj. nihilistic adj. |
revolt | (รีโวลทฺ') vi., vt., n. (การ) ปฏิวัติ, กบฏ, จลาจล, ทรยศ, เอาใจออกห่าง, หักหลัง, รังเกียจ, ขยะแขยง, See also: revolter n., Syn. rebel, mutiny, feel horror |
revolute | (เรฟ'วะลิวทฺ) vi. ปฏิวัติ adj. ม้วนกลับ, ม้วนลง, งอกลับ, งอลง |
revolution | (เรฟ'วะลิว'เชิน) n. การปฏิวัติ, การเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง (และมักรวดเร็ว) , การเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่, การหมุนรอบ, การโคจร, การพลิกแผ่นดิน, รอบ, วัฎจักร, See also: revolutionary adj., n., Syn. revolt, cycle, rotation |
revolutionise | (เรฟวะลู'เชินไนซ) vt. ปฏิวัติ, ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง, หมุนรอบ, See also: revolutionizer n., Syn. effect a radical |
revolutionize | (เรฟวะลู'เชินไนซ) vt. ปฏิวัติ, ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง, หมุนรอบ, See also: revolutionizer n., Syn. effect a radical |
vaporware | เวเพอร์แวร์ <คำอ่าน>หมายถึง ผลิตภัณฑ์สินค้า ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ยังไม่มีการผลิตออกสู่ตลาด จริง ๆ แต่มีการประชาสัมพันธ์ราวกับว่าได้มีการผลิตออกมาเรียบร้อยแล้ว ชักชวนให้เชื่อว่า จะปฏิวัติระบบเก่า ๆ ได้ ยกตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ที่สามารถสั่งงานได้ด้วยเสียงพูด แต่จริง ๆ แล้ว กว่าจะผลิตออกขายได้ ยังต้องใช้เวลาพัฒนาอีกนาน |