ต้นฉบับ | น. ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์หรือแต่งไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์, ต้นสำเนา. |
คัด ๑ | ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ไปคัด. |
คัดสำเนา | ก. ลอกข้อความเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. |
คู่ฉบับ | น. หนังสือหรือเอกสารที่ทำขึ้นตั้งแต่ ๒ ฉบับขึ้นไป มีข้อความตรงกัน โดยถือว่าทุกฉบับเป็นต้นฉบับ. |
ฉบับ | (ฉะ-) น. หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ต้นเดิมของหนังสือที่พิมพ์หรือเขียน เรียกว่า ต้นฉบับ |
ตรวจทาน | สอบหนังสือให้ถูกต้องหรือให้ตรงกับต้นฉบับ, ทาน ก็ว่า. |
ถ่ายสำเนา | ก. ถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร. |
ทาน ๓ | ก. สอบหนังสือให้ถูกต้องหรือให้ตรงกับต้นฉบับ, ตรวจทาน ก็ว่า. |
พิมพ์เขียว | ก. พิมพ์สำเนาโดยการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษบาง ๆ ลงบนกระดาษที่เคลือบสารเคมีซึ่งไวต่อแสง ให้ปรากฏเป็นลวดลายสีขาวบนพื้นสีนํ้าเงินหรือลวดลายสีนํ้าเงินบนพื้นขาว. |
โยชนา | (โยชะนา) น. ชื่อคัมภีร์บาลีประเภทหนึ่ง ซึ่งบอกสัมพันธ์ศัพท์บาลีว่า ศัพท์ไหนเข้ากับศัพท์ไหนในต้นฉบับนั้น ๆ เช่น โยชนาฎีกาสังคหะ. |
เรียงพิมพ์ | ก. เอาตัวพิมพ์มาเรียงตามต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์. |
ลอก | เขียน คัด หรือจำลองออกมาจากต้นฉบับ ต้นแบบ เช่น ลอกหนังสือ ลอกลวดลาย ลอกแบบ, โดยปริยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลอกความคิด. |
สอบทาน | ก. ตรวจสอบหนังสือ ข้อความ หรือตัวเลข ให้ตรงกับต้นฉบับหรือถ้อยคำที่บอกเป็นต้น. |
สำเนา | น. ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ |
สำเนา | ลักษณนามเรียกจำนวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. |
สำเนา | ก. คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสำเนาไว้ก่อน. |
ห้องสมุด, หอสมุด | น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้. |
Holograph | ต้นฉบับลายมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Manuscript | ต้นฉบับตัวเขียน, Example: Manuscript หมายถึง (1) ต้นฉบับตัวเขียน คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสำคัญในการใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนำไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging of manuscript | การทำบัตรรายการต้นฉบับตัวเขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
source code | รหัสต้นฉบับ, Example: คำสั่งและโปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาระดับสูงเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องสำหรับใช้งาน [คอมพิวเตอร์] |
Criticism, Textual | การวิเคราะห์ต้นฉบับ [TU Subject Heading] |
Manuscripts | ต้นฉบับตัวเขียน [TU Subject Heading] |
Manuscripts | ต้นฉบับ [การแพทย์] |
Manuscripts, Medical | ต้นฉบับ, การแพทย์; ต้นฉบับการแพทย์ [การแพทย์] |
Illumination | การประดิษฐ์ตกแต่งต้นฉบับตัวเขียน, Example: จากคำว่า <b>"Illuminaire"</b> ในภาษาละตินหมายถึง <b>"เพื่อให้แสงสว่าง"</b> ดังนั้นจึงปรากฎว่าต้นฉบับตัวเขียนหรือหนังสือที่พิมพ์ก่อนปี ค.ศ.1501 จะประดิษฐ์ตกแต่งอย่างหรูหราด้วยมือ มีการประดับประดาโดยใช้ตัวอักษรหลายสี มีการออกแบบและวาดภาพประกอบด้วยความวิจิตรบรรจงที่เน้นสีสดสวยด้วยสีทองหรือสีเงิน การประดิษฐ์ตกแต่งต้นฉบับตัวเขียนดังกล่าวนี้เป็นที่นิยมกันมากในยุคกลางเมื่อมีการคัดลอกหนังสือด้วยมือลงบนแผ่นหนังสัตว์ แต่เดิมเป็นการสร้างสรรค์โดยพระในศาสนาคริสต์ซึ่งผลิตหนังสือสำหรับใช้ในพิธีสวด เพื่อการสักการะบูชาและเพื่อการแลกเปลี่ยนกับราชวงศ์อื่น ๆ ในช่วงต้นของยุคกลางการประดิษฐ์ตกแต่งต้นฉบับตัวเขียนนี้ส่วนใหญ่ทำในวัดและมีการผลิตหนังสือเหล่านี้ขึ้นเป็นจำนวนมาก ต่อมาในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 มีศิลปินอิสระที่เริ่มใช้ทักษะการเป็นผู้ประดิษฐ์ตกแต่งนี้ในทางการค้า และส่วนใหญ่ทำงานให้กับลูกค้าที่ร่ำรวยที่มีห้องสมุดส่วนตัวมีหนังสือที่สวยงามจำนวนมาก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
arrange | (vt) ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) |
arrange | (vi) ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) |
arrangement | (n) การปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม) |
copy-edit | (vt) แก้ไขต้นฉบับ, See also: ปรับปรุงต้นฉบับ, Syn. copyread, subedit |
copyist | (n) ผู้ที่ทำงานคัดลอกจากต้นฉบับ |
copyread | (vt) แก้ไขต้นฉบับ, See also: ปรับปรุงต้นฉบับ, Syn. copy-edit, subedit |
file | (vt) ส่งต้นฉบับไปที่สำนักพิมพ์, See also: ส่งต้นฉบับไปที่สำนักข่าว |
library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย |
manuscript | (n) ต้นฉบับที่เขียนหรือพิมพ์, See also: ต้นสำเนา, Syn. copy, original |
master | (n) ต้นฉบับ, Syn. original, file, copy |
original | (adj) ซึ่งเป็นแบบฉบับ, See also: ซึ่งเป็นต้นฉบับ, ที่เป็นอันแรก, Syn. primary, first |
original | (n) ต้นฉบับ, See also: ของเดิม, สิ่งต้นแบบ, ต้นแบบ, Syn. prototype, master |
scrivener | (n) ผู้จดต้นฉบับ, See also: อาลักษณ์ |
text | (n) ต้นฉบับ, See also: ต้นฉบับเดิม, ถ้อยคำเดิม |
textual | (n) เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, See also: ที่เกี่ยวกับข้อความ, Syn. verbal, scriptural |
autograph | (ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) , สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง, ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน, เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n. |
copyhold | (คอพ'พีโฮลดฺ) n. กรรมสิทธิ์ที่ดินโดยมีหนังสือกรรมสิทธิ์ที่คัดลอกจากต้นฉบับของศาลที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อื่น, กรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก |
copywriter | (คอพ'พีไรเทอะ) n. คนเขียนต้นฉบับ |
derivative | (ดีริฟ'วะทิฟว) adj., n. (สิ่งที่, คำ) ซึ่งได้มาจากที่อื่น, เป็นอนุพันธุ์, ซึ่งแตกกิ่งสาขามา, ไม่ใช่ต้นฉบับ, อนุพันธุ์, Syn. derived |
desktop publishing | การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน |
dtp | (ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน |
handwriting | (แฮนฺด'ไรทิง) n. ลายมือ, สิ่งที่เขียนด้วยมือ, ต้นฉบับที่เขียนด้วยมือ |
manuscript | (แมน'นิวสคริพทฺ) n., adj. ต้นฉบับ, หนังสือเอกสาร จดหมายหรืออื่น ๆ ที่เขียนด้วยมือ, การเขียนด้วยมือ, ซึ่งเขียนด้วยมือ |
object language | ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ |
object program | โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ |
original | (อะริจ'จิเนิล) adj., n. แรกเริ่ม, ต้นตอ, ต้นฉบับ, เดิม, ซึ่งมีมาแต่เดิม, เป็นราก, เป็นฐาน, ใหม่, สด, เป็นครั้งแรก, เป็นของแท้ , มูลเหตุ, รากฐาน |
progenitor | (โพรเจน'นิเทอะ) n. บรรพบุรุษ, ต้นตระกูล, ปฐมาจารย์, รากเง่า, ต้นฉบับ, Syn. forefather |
script | (สคริพทฺ) n. ลายมือ, แบบตัวเขียน, เอกสารต้นฉบับ, ฉบับเขียน, ต้นร่าง, ระบบการเขียน, vt. เขียนต้นร่าง, เขียน, ร่าง., See also: scripter n., Syn. handwriting |
source code | รหัสต้นฉบับรหัสต้นทางหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวต้นฉบับของโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นโปรแกรมที่เครื่องแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) เรียบร้อยแล้ว |
target language | ภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ |
text | (เทคซฺทฺ) n. ต้นฉบับเดิม, ข้อความเดิม, แม่บทเดิม, ใจความ, แบบฉบับการเขียน, เนื้อเพลง, ตำรา, แบบเรียน, หนังสือเรียน, ข้อความสั้น ๆ ในพระคัมภีร์ไบเบิล, อักษรในพระคัมภีร์ไบเบิล, หัวข้อสำคัญ, ตัวพิมพ์., Syn. textbook |
textual | (เทคซฺ'ชวล) adj. เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, เกี่ยวกับใจความ, เกี่ยวกับข้อความในพระคัมภีร์ไบเบิล, Syn. literal |
unscripted | (อันสคริพ'ทิด) adj. ไม่ใช่ต้นร่าง, ไม่ใช่ต้นฉบับ, ไม่ใช่บทละคร |
vellum | (เวล'ลัม) n. หนังลูกวัว (หนังลูกแกะหรือลูกสัตว์อื่น) ที่ใช้เขียนหนังสือ, ต้นฉบับที่เป็นหนังลูกวัว, กระดาษหรือผ้าที่ทำคล้ายหนังลูกวัว. adj. ทำด้วยหรือคล้ายหนังลูกวัว, มัดหรือผูกด้วยหนังลูกวัว, See also: vellumy adj., Syn. calfs |
autograph | (n) ลายเซ็น, ลายมือ, ต้นฉบับ |
copy | (n) ฉบับคัดลอก, ต้นฉบับ, สำเนา, การลอกเลียนแบบ, การก๊อบปี้ |
copywriter | (n) คนเขียนต้นฉบับ, คนคิดคำโฆษณา |
manuscript | (n) ต้นฉบับ |
original | (adj) ดั้งเดิม, แรกเริ่ม, เป็นราก, เป็นต้นฉบับ |
progenitor | (n) ต้นตระกูล, บรรพบุรุษ, ครู, ผู้เบิกทาง, ต้นฉบับ |
script | (n) ตัวเขียน, ต้นฉบับ, ลายมือ, ต้นร่าง |
text | (n) หัวข้อ, ต้นฉบับ, ตัวหนังสือ, แบบเรียน, เนื้อหา, ใจความ |