ขาเข้า | (adj) inbound, See also: inward, Ant. ขาออก, Example: ฉันเห็นรถเมล์ขาเข้าตอนเช้าๆ จะมีคนแน่นมาก, Thai Definition: ที่เข้าสู่ข้างใน, ซึ่งเข้ามาสายข้างใน |
ขาเข้า | (n) import, See also: incoming, Ant. ขาออก, Example: ถ้าในส่วนของขาเข้า เจ้าหน้าที่จะตรวจค้นนานกว่า, Thai Definition: เที่ยวที่เข้าสู่ในประเทศ |
ภาษีขาเข้า | (n) import duty, Syn. ภาษีนำเข้า, Ant. ภาษีขาออก, ภาษีส่งออก, Example: จีนจะลดกฎระเบียบภาษีขาเข้าและโควต้าสำหรับสินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้า เป็นต้น, Thai Definition: ภาษีที่เก็บจากการนำสินค้าเข้ามาในประเทศ |
ภาษีขาเข้า | (n) import duty, Syn. ภาษีนำเข้า, Ant. ภาษีขาออก, Example: สหรัฐฯ ขึ้นภาษีขาเข้า100%กับประเทศเป้าหมาย, Thai Definition: ภาษีที่เรียกเก็บจากสินค้าที่นำเข้ามาในประเทศ |
อากรขาเข้า | (n) import duty, Example: ในปีนี้ภาษีสำคัญหลายประเภทได้สูงขึ้นอย่างน่าสังเกต โดยเฉพาะภาษีการค้า และอากรขาเข้า |
กระเสียน | ว. ชิด, สนิท, แนบเนียน, เช่น ชฎากลีบจีบเวียนกระเสียนพระศก (อภัย), เขาเข้าไม้ปะที่ตรงนี้ดีนัก พอดีกระเสียนกันทีเดียว |
ขา ๒ | คราว, เที่ยว, เช่น ขากลับ ขาเข้า ขาออก |
เข่า | น. ส่วนที่ต่อระหว่างขาส่วนบนกับขาส่วนล่าง สำหรับคู้ขาเข้าและเหยียดขาออก เช่น คุกเข่า ตีเข่า ขึ้นเข่า, ราชาศัพท์ว่า พระชานุ. |
เข้า ๑ | ว. ตรงข้ามกับ ออก เช่น ทางเข้า ขาเข้า |
คลังสินค้าทัณฑ์บน | น. สถานที่ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติและกำหนดให้เป็นสถานที่ตรวจและเก็บของซึ่งมีผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ต้องชำระอากรขาเข้า. |
ค่าปากเรือ | น. ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากเรือบรรทุกสินค้าขาเข้าโดยวัดขนาดกว้างตอนกลางเรือเป็นกำหนด, ภาษีปากเรือ หรือ จังกอบเรือ ก็เรียก. |
คุด | ก. งอกงออยู่ภายในไม่โผล่ออกมาตามปรกติ เช่น หนวดคุด รากคุด, ขดงอ เช่น คุดขาเข้ามา. |
พิกัดอัตราศุลกากร | น. กำหนดอัตราเพื่อคำนวณเงินอากรที่เรียกเก็บจากของที่ส่งหรือพาออกไปนอกราชอาณาจักร เรียกว่า อากรขาออก หรือของที่นำหรือพาเข้ามาในราชอาณาจักร เรียกว่า อากรขาเข้า. |
ล้าเต้ | ว. ช้าเป็นที่ลำดับสุดท้าย เช่น เขาเข้าเส้นชัยกันหมดแล้ว ยังล้าเต้อยู่. |
ศุลก- | (สุนละกะ-) ว. เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. |
ศุลกากร | (สุนละกากอน) น. อากรที่เรียกเก็บจากสินค้าเข้าและสินค้าออก ได้แก่ อากรขาเข้าและอากรขาออก |
สอด ๑ | ก. เสือกหรือใส่เข้าไปในช่องหรือในระหว่างที่แคบ ๆ เช่น สอดจดหมายเข้าไปใต้ประตู สอดขาเข้าไปในกางเกง, ใส่ เช่น สอดสนับเพลา, แทรกเข้าไประหว่างกลาง เช่น เอาธนบัตรสอดไว้ในหนังสือ, แทรกเข้าในระหว่าง (มักใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น ขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดอยู่ เด็กไม่ควรพูดสอดขึ้น. |
สุงก-, สุงกะ | (สุงกะ-) ว. เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. |
สุงกากร | น. ศุลกากร, ค่าอากรที่เรียกเก็บจากสินค้าขาเข้าและขาออก. |
เสียงเขียว | ว. อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาเข้าไปผิดจังหวะ หัวหน้ากำลังโกรธอยู่ เลยถูกตวาดเสียงเขียว, เสียงเกรี้ยว ก็ว่า. |
Import quotas | การควบคุมสินค้าขาเข้า [TU Subject Heading] |
Non-tariff trade barriers | มาตรการที่มิใช่การเก็บภาษีขาเข้า [TU Subject Heading] |
Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] |
Generalized System of Preferences | ระบบการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป " มีที่มาจากการประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาขององค์การ สหประชาชาติ (UNCTAD) เมื่อปี พ.ศ. 2510 ภายใต้ระบบนี้ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถส่ง สินค้าไปขายแข่งขันในประเทศพัฒนา โดยการยกเว้นหรือลดหย่อนอัตราภาษีขาเข้าให้แก่สินค้าที่อยู่ในข่ายได้รับ สิทธิพิเศษ โดยไม่เรียกร้อง ผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ " [การทูต] |
Freight in | ค่าระวางขาเข้า [การบัญชี] |
Afferent | เส้นใยประสาทขาเข้า, ประสาทนำเข้า [การแพทย์] |
อากรขาเข้า | [ākøn khākhao] (n, exp) EN: import duty |
บัตรขาเข้า | [bat khākhao] (n, exp) EN: (immigration) arrival card FR: carte d'arrivée [ f ] ; volet arrivée de la carte d'immigration [ m ] |
การได้รับยกเว้นอากรขาเข้า | [kān dāi rap yokwen ākøn khākhao] (n, exp) EN: exemption from import duties |
ขาเข้า | [khākhao] (adj) EN: on the way in ; inward ; inbound ; import FR: entrant ; vers l'intérieur ; d'importation |
ค่าภาษีอากรขาเข้า | [khā phāsī ākøn khā khao] (n, exp) EN: import duty FR: taxe d'importation [ f ] |
ภาษีอากรขาเข้า | [phāsī-akøn khākhao] (n, exp) EN: import duty ; import tariff |
ภาษีขาเข้า | [phāsī khākhao] (n, exp) EN: import duty ; import levy FR: taxe d'importation [ m ] |
เสียค่าอากรขาเข้า | [sīa khā ā-køn khā khāo] (v, exp) EN: pay customs duties FR: payer les droits de douane |
สินค้าขาเข้า | [sinkhā khākhao] (n, exp) EN: imports ; imported goods FR: produit d'importation [ m ] |
balance of trade | n. ดุลการค้าของประเทศเป็นการเปรียบเทียบค่าสินค้าขาเข้า กับสินค้าขาออก |
hogtie | (ฮอก'ไท) vt. มัด (สัตว์ทั้ง4ขาเข้าด้วยกัน) , ขัดขวาง |
protect | (โพรเทคทฺ') vt. ป้องกัน, พิทักษ์, รักษา, อารักขา, คุ้มกันอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้า. vi. ป้องกัน |
protection | (พระเทค'เชิน) n. การป้องกัน, การคุ้มครอง, การพิทักษ์, การอารักขา, ระบบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูง, เอกสารคุ้มครอง, หนังสือเดินทาง, ค่าคุ้มครอง, ค่าอารักขา, Syn. security, defense |
protectionism | (พระเทค'เชินนิสซึม) n. ระ-บบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูงสำหรับสินค้าที่เป็นคู่แข่ง., See also: protectionist n. |