ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ใช้กำลัง*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ใช้กำลัง, -ใช้กำลัง-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ใช้กำลัง(v) use force against, See also: exert oneself, fight, engage in battle, Example: ตำรวจใช้กำลังเข้าปราบปรามผู้ชุมนุม, Thai Definition: หักหาญเอาด้วยกำลัง

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ใช้กำลังประทุษร้ายก. ทำการประทุษร้ายแก่กายหรือจิตใจของบุคคล ไม่ว่าจะทำด้วยใช้แรงกายภาพหรือด้วยวิธีอื่นใด และหมายความรวมถึงการกระทำใด ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ ไม่ว่าจะโดยใช้ยาทำให้มึนเมา สะกดจิต หรือใช้วิธีอื่นใดอันคล้ายคลึงกัน.
กด ๔ก. บังคับลง, ข่ม, ใช้กำลังดันให้ลง, โดยปริยายหมายความว่า แกล้งกักไว้ เช่น กดคดี
กดน้ำก. ใช้กำลังกดสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้มิดลงไปในนํ้า ในความว่า จับกดน้ำ จับหัวกดน้ำ.
กรรโชก(กัน-) น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น.
กระโดดก. ใช้กำลังเท้าดันพื้นให้ตัวลอยสูงขึ้นหรือเคลื่อนจากที่เดิม เช่น กระโดดสูง ดีใจกระโดดจนตัวลอย, ภาษาปากว่า โดด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลากระโดด ตัวพิมพ์กระโดด.
กุมเหงก. ข่มเหง, รังแก, ใช้กำลังหรืออำนาจทำให้เดือดร้อน, คุมเหง ก็ว่า.
ข่มก. ใช้กำลังกดลงไม่ให้เผยอขึ้น
ข่มขืนกระทำชำเราน. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ชำเราบุคคลอื่น ไม่ว่าผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำจะเป็นชายหรือหญิง และจะเป็นคู่สมรสของตนหรือไม่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย โดยผู้ถูกกระทำอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทำให้ผู้ถูกกระทำเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น.
ข่มขืนใจก. บังคับจิตใจหรือฝืนใจให้ต้องกระทำการหรืองดเว้นกระทำการ เช่น ข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย ซึ่งเป็นความผิดต่อเจ้าพนักงาน.
ข่มเหง(-เหง) ก. ใช้กำลังรังแกแกล้งทำความเดือดร้อนให้ผู้อื่น.
คุมเหงก. ข่มเหง, รังแก, ใช้กำลังหรืออำนาจทำให้เดือดร้อน, กุมเหง ก็ว่า.
โจมตีก. ใช้กำลังบุกเข้าตี เช่น โจมตีข้าศึก, โดยปริยายหมายความว่า พูดหรือเขียนว่าหรือกล่าวหาผู้อื่นอย่างรุนแรง เช่น ๒ พรรคการเมืองโจมตีกันและกัน หนังสือพิมพ์โจมตีผู้บริหารที่ทุจริต.
ฉีดก. ใช้กำลังอัดหรือดันให้ของเหลวอย่างนํ้าพุ่งออกจากช่องเล็ก ๆ.
ชิงทรัพย์น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ลักทรัพย์ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป (๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม.
ปล้น(ปฺล้น) ก. ใช้กำลังลอบมาหักโหมแย่งชิงเอาโดยไม่รู้ตัว.
พลการ(พะละกาน) น. การกระทำโดยใช้กำลังหรืออำนาจเป็นต้น อย่างไม่ยอมฟังเสียงใคร, อำเภอใจ, เช่น ทำโดยพลการ.
พลานึกน. ทหาร, นักรบที่ต้องใช้กำลังกาย.
ยึดอำนาจก. ใช้กำลังเข้าแย่งอำนาจในการบริหารบ้านเมือง, โดยปริยายใช้ในความคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตอนนี้ลูกยึดอำนาจในบ้านหมดแล้ว.
โยธา ๒น. งานที่ต้องใช้กำลังกายเกี่ยวกับการก่อสร้างมีแบก หาม ทำความสะอาดเป็นต้น เรียกว่า งานโยธา.
รั้งก. หน่วงเหนี่ยวไว้ เช่น รั้งตัวไว้ก่อน, เหนี่ยว เช่น แขนเสื้อรั้ง, ชักมา, ใช้กำลังเต็มที่เพื่อให้สิ่งที่มีแรงต้านทานเคลื่อนเข้ามาหรือหยุดอยู่ เช่น รั้งวัวรั้งควาย
รัฐประหาร(รัดถะปฺระหาน, รัดปฺระหาน) น. การใช้กำลังเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลโดยฉับพลัน.
ราวีก. รบ เช่น ยกทัพไปราวีข้าศึก, รบกวนหรือระรานโดยใช้กำลังรังแกเป็นต้น เช่น อันธพาลชอบราวีชาวบ้าน, (ปาก) สู้กัน, ตะลุมบอนกัน, เช่น นักเรียนกำลังราวีกัน.
รีดใช้กำลังหรืออิทธิพลบังคับเอาทรัพย์สินของผู้อื่น เช่น รีดเอาเงิน รีดเอาทรัพย์, ใช้ว่า รีดไถ ก็มี.
แรง ๑ใช้กำลังกระทำถึงขีด เช่น อย่าทำแรง ตีแรง ๆ, แข็ง, มีกำลัง
เลื่อยโยงน. เครื่องมือสำหรับโกรกหรือฉลุไม้ ใบเลื่อยมีลักษณะเป็นแถบยาว ปลายข้างบนผูกโยงกับคันคานดีด ปลายข้างล่างผูกโยงกับไม้รองกระเดื่อง ใช้กำลังคนเหยียบกระเดื่องชักใบเลื่อยให้ทำงาน.
ศึกน. การใช้กำลังเข้าประหัตประหารกันอย่างรุนแรงระหว่างรัฐหรือประเทศตั้งแต่ ๒ รัฐหรือ ๒ ประเทศขึ้นไป เช่น ศึกชายแดน, การต่อสู้กันระหว่างบุคคลกับบุคคลหรือระหว่างพวกหนึ่งกับอีกพวกหนึ่ง เช่น ศึกล้างบาง ศึกล้างโคตร, โดยปริยายหมายถึงการเกิดขัดแย้งต่อสู้เป็นปฏิปักษ์ขึ้นในใจ เช่น ศึกในอก.
สีลมน. ชื่อเครื่องสีข้าวซึ่งใช้กำลังลมหมุนใบพัดให้หมุนเครื่องจักร.
แหกก. แยกออก, ถ่างออก, ทำให้อ้าออก, เช่น แหกขา, ใช้กำลังฟันฝ่าออกไป เช่น แหกคุก กองทหารตีแหกวงล้อมข้าศึกออกไป.
ออกกำลังก. ใช้กำลัง
ออกแรงก. ใช้กำลัง, ใช้แรงงาน, ใช้ความพยายาม, โดยปริยายหมายความว่า วิ่งเต้นขอความช่วยเหลือในกิจที่ต้องประสงค์.
ไอพ่นน. ชื่อเครื่องยนต์ชนิดหนึ่งซึ่งเผาเชื้อเพลิงให้เป็นแก๊สพุ่งออกมาตามท่อด้วยความดันสูงมาก ทำให้เกิดพลังขับเคลื่อนได้, เรียกเครื่องบินที่ใช้กำลังด้วยเครื่องยนต์เช่นนั้น ว่า เครื่องบินไอพ่น.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
power-operated welding machineเครื่องเชื่อมใช้กำลังกล [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
physical forceการใช้กำลังทำร้ายร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
bulldozeข่มขู่ว่าจะใช้กำลัง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
forcible and violent meansวิธีใช้กำลังและความรุนแรง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
forcible detainer๑. การยึดหน่วงที่ดินไว้โดยใช้กำลัง๒. การยึดหน่วงทรัพย์ไว้โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
forcible entryการใช้กำลังบุกรุก (เข้าครอบครองที่ดิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
effractionการใช้กำลังทำร้าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
entry, forcibleการใช้กำลังบุกรุก (เข้าครอบครองที่ดิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
indecent assault on womanการใช้กำลังกระทำอนาจารต่อหญิง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
violent and forcible meansวิธีใช้กำลังและความรุนแรง มีความหมายเหมือนกับ forcible and violent means [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
woman, indecent assault onการใช้กำลังกระทำอนาจารต่อหญิง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Gaseous diffusion plantโรงงานแบบแพร่แก๊ส, <font color="#8b0000"><em>โรงงานเสริมสมรรถนะยูเรเนียม</em></font>แบบหนึ่ง โดยการแยกไอโซโทปยูเรเนียม-238 และยูเรเนียม-235 ในรูปแก๊สเฮกซะฟลูออไรด์ออกจากกัน ภายในเครื่องแพร่แก๊สที่มีตัวกั้นเป็นรูพรุน ยูเรเนียม – 235 ซึ่งเบากว่าจะแพร่ผ่านเข้าสู่เครื่องแพร่แก๊สถัดๆ ไปในอัตราที่เร็วกว่า จนกว่าจะได้ยูเรเนียม-235 ที่มีสมรรถนะตามต้องการ โรงงานชนิดนี้มีขนาดใหญ่และใช้กำลังไฟฟ้ามาก จึงไม่นิยมใช้ในปัจจุบัน [นิวเคลียร์]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
New World Orderระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต]
Niccolo Machiavelli (1469-1527)คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต]
Palestine Questionปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต]
peace enforcementการบังคับให้เกิดสันติภาพ " เป็นมาตรการใช้กำลังบังคับผู้ที่กำลังดำเนินการที่เป็นการละเมิด สันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศให้ยุติการกระทำดังกล่าว " [การทูต]
Sanctionsการบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต]
Treaty of Amity and Cooperationสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต]
Energy Expenditureปริมาณพลังงานที่ใช้, การใช้กำลังงาน [การแพทย์]
Labour Intensiveการใช้กำลังคน [การแพทย์]
Maintenanceใช้กำลังงานเพื่อดำรงชีวิต, ระยะไข้คง [การแพทย์]
Mechanical Processกระบวนการทางการใช้กำลัง [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
No violence, please.โปรดอย่าใช้กำลัง Gandhi (1982)
Has there been any violence?มีการใช้กำลังบ้างมั้ย Gandhi (1982)
The question was intended to discover if there was any violence on their side.ผมหมายถึงมีการใช้กำลังจากฝ่ายนั้นมั้ย Gandhi (1982)
Biting, I see....ฉันไม่อยากจะใช้กำลัง Ace Ventura: When Nature Calls (1995)
Personally, I'm inclined to deport him, forcibly, if necessary but I'd have to come up with a politically acceptable reason for it.โดยส่วนตัวแล้ว ผมพร้อมเสมอที่จะใช้กำลังเนรเทศเขา ถ้าจำเป็น... ...แต่เราต้องปฏิบัติตามข้อตกลงทางการเมืองนี่สิ Ghost in the Shell (1995)
He's even violent sometimes.บางทียังมาใช้กำลังกับเธอเลย Christmas in August (1998)
His father had to make a call.พ่อเขาใช้กำลังภายในนิดหน่อย Legally Blonde (2001)
Are you paying back with violence?ทวงดีๆไม่ชอบ ต้องให้ใช้กำลังใช่ไหม Failan (2001)
I'll run at half speed...ผมจะใช้กำลังครึ่งเดียวเวลาวิ่ง Pilot (2001)
Stop this felonious and unlawful act, or I shall have to use force.หยุดการกระทำที่ร้ายแรงและ ฝ่าฝืนกฏหมายนี่ซะ... ไม่เช่นนั้นจะใช้กำลัง Inspector Gadget 2 (2003)
Stop this felonious and unlawful act, or I shall have to use force.หยุดการกระทำที่ร้ายแรงและ ฝ่าฝืนกฏหมายนี่ซะ... ไม่เช่นนั้นจะใช้กำลัง Inspector Gadget 2 (2003)
Stop this felonious and unlawful act, or I shall have to use force.หยุดการกระทำที่ร้ายแรงและ ฝ่าฝืนกฏหมายนี่ซะ... ไม่เช่นนั้นจะใช้กำลัง Inspector Gadget 2 (2003)
Stop this felonious and unlawful act, or I shall have to use force.หยุดการกระทำที่ร้ายแรงและ ฝ่าฝืนกฏหมายนี่ซะ... ไม่เช่นนั้นจะใช้กำลัง Inspector Gadget 2 (2003)
Now stop this felonious and unlawful act, or I shall have to use force.คราวนี้หยุดการกระทำที่ร้ายแรงและ ฝ่าฝืนกฏหมายนี่ซะ... ไม่เช่นนั้นจะใช้กำลัง Inspector Gadget 2 (2003)
He got rough with you? Where he at?ใช้กำลังเหรอ เขาอยู่ไหน Bringing Down the House (2003)
My children believe that their demonstrations and sit-ins... and happenings... what, they believe that these possess the capacity... not only to provoke society, but also to transform it.ลูกป๊ามันเชื่อในการประท้วง การชุมนุม การสร้างสถานการณ์ อะไรพวกนั้น พวกมันเชื่อจริงๆว่า การใช้กำลังเข้าต่อสู้ The Dreamers (2003)
I plan to defeat this enemy without the use of force.ข้ากำลังวางแผนที่จะทำลายกองทัพของศัตรู โดยที่ไม่ต้องใช้กำลังของเราเลย Mulan 2: The Final War (2004)
This mission does not call for force, but finesse.ภาระกิจนี้หาจำเป็นต้องใช้กำลังไม่ หากแต่ต้องใช้อุบาย Mulan 2: The Final War (2004)
Shinra tried to use force... against those who stood in opposition.ชินระจึงต้องใช้กำลังในการจัดการ กับทุกคนที่พยายามจะต่อต้าน Final Fantasy VII: Advent Children (2005)
I told her it keeps me fit.งานใช้กำลังอย่างนี้เนี่ยทำให้ข้ายังฟิตดีนักล่ะ Brokeback Mountain (2005)
Brute force isn't the only optionการใช้กำลังไม่ใช่หนทางเดียว Æon Flux (2005)
Since when the use of force solve a problem of your?ตั้งแต่คุณใช้กำลังในการแก้ปัญหาของคุณ ? Saw II (2005)
We will take your boat by force if you don't take us on board.ถ้าแกไม่ยอมละก็ คงต้องใช้กำลังกันแล้ว Seinto Seiya: Meiou Hades Meikai Hen (2005)
They need to be beaten to start speaking.เหมือนเดิม ต้องให้ใช้กำลังก่อนจะพูด Shadowless Sword (2005)
Haywire, I said "back off." You want a hot shot?เฮยไวร์ ถอยออกไป นายอยากให้ใช้กำลังเรอะ ? Cute Poison (2005)
They took him by force. Oh, my God.ใช้กำลังจับตัวเขาไป Bandidas (2006)
Case we gotta apply some force to these niggas, man.เผื่อต้องใช้กำลังกับพวกมัน Gridiron Gang (2006)
- I'm gonna knock your ass out.- อย่าให้ต้องใช้กำลังนะ Alpha Dog (2006)
No, we're gonna need all our manpower for evidence control and witness processing.ไม่, เราต้องจะใช้กำลังคนทั้งหมดที่เรามีเลย เพื่อควบคุมหลักฐานและสืบพยาน Deja Vu (2006)
He pounced on me and slammed me to the floor.เขาทุบตีฉัน แล้วก็ใช้กำลังกับฉันลงไปที่พื้น The Host (2006)
We'll get reinforcements.เราต้องใช้กำลังหนุน.. Letters from Iwo Jima (2006)
- That maid has an attitude.- สาวใช้กำลังทำอะไรอยู่น่ะ A Millionaire's First Love (2006)
We never fight.เราไม่เคยใช้กำลังกัน Confession of Pain (2006)
Man quitted the force afterwards and started working for Chow.ต่อมาชายคนนั้นเลิกใช้กำลัง และเริ่มทำงานกับเชา Confession of Pain (2006)
I've been doing this 14 years, and most escapes can be attributed to dumb luck or brute force.ฉันทำงานนี้มา 14 ปี นักโทษแหกคุกส่วนมากจะแสดงความบ้าหรือไม่ก็ใช้กำลัง Otis (2006)
And i'm not a violent person, but i hope they hurt him.ฉันไม่ใช่พวกชอบใช้กำลังรุนแรงนะ แต่อยากให้ตำรวจทำมันเจ็บๆ See-Through (2007)
No forceful impact spatter, he's telling the truth, I can tell.ไม่มีรอยเลือดที่เกิดจากการใช้กำลังปะทะ เขาพูดความจริง ผมดูออก That Night, a Forest Grew (2007)
Olympus is no stranger to military prowess.มับไม่ใช่เรื่องใหม่ของโอลิมปัส กับการใช้กำลังทางการทหาร Appleseed Ex Machina (2007)
No excessive force unless you have to.ไม่อนุญาตให้ใช้กำลังถ้าไม่จำเป็น Appleseed Ex Machina (2007)
Avoid deadly force if at all possible!เลี่ยงการใช้กำลังถ้าเป็นไปได้! Appleseed Ex Machina (2007)
Forcing everybody's consciousness together... doesn't create anything whole!ใช้กำลังรวมตัวคนแต่ละคนไว้ด้วยกัน... ...มันไม่ทำให้เกิดอะไรขึ้นหรอก Appleseed Ex Machina (2007)
Stupid people always try to use force.คนโง่มักพยายามจะใช้กำลัง Attack on the Pin-Up Boys (2007)
Let us stop this mindless violence.หยุดใช้กำลังเถอะ Hot Fuzz (2007)
I believe that the urgency of the situation... compels the use of any and all resources to obtain Cris Johnson.ฉันเชื่อว่า สถานะการณ์ ฉุกเฉินตอนนี้ บังคับให้เรา ต้องใช้กำลัง ไปนำพา คริส จอห์นสันมา Next (2007)
but I will never force you to treat me as your husband.แต่ผมจะไม่มีทางใช้กำลังกับคุณ ในฐานะของสามีคุณ Namastey London (2007)
Have you heard anything from Janice?กล่าวได้ว่าไม่มีการสูญเสีย ในการใช้กำลังบังคับ Chapter Twenty 'Five Years Gone' (2007)
Now, don't make e ge comt you.เร็ว อย่าให้ต้องใช้กำลังนะ Good Fences (2007)
this time, use a little elbow grease.ครั้งนี้ใช้กำลังแขนมากหน่อย Opening Doors (2008)
You shouldn't use violence like that. Remember what Dad used to say?นายไม่ควรใช้กำลังตัดสินปัญหา จำที่พ่อพูดได้ไม๊ ? The Machine Girl (2008)
Violence doesn't solve anything. It only hurts people.การใช้กำลังไม่ได้แก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง มีแต่จะทำให้เจ็บตัว The Machine Girl (2008)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ใช้กำลัง[chai kamlang] (v, exp) EN: use force against ; exert oneself ; fight ; engage in battle  FR: recourir à la force ; faire usage de la force ; utiliser la force

English-Thai: Longdo Dictionary
leverage(vt) ใช้กำลังให้เป็นประโยชน์
augmented reality (AR)(n) ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
beachhead(n) การใช้กำลังยึดชายหาด (ทางทหาร), See also: การยึดหัวหาด, Syn. bridgehead
crush in(phrv) บังคับให้หยุด, See also: ทำให้เลิกโดยใช้กำลัง, Syn. bash in, beat in, stave in
dragoon into(phrv) กดขี่ข่มเหง, See also: ใช้กำลังบังคับ
dragoon(vt) การปราบปรามโดยใช้กำลังทหาร
elbow grease(n) งานที่ต้องใช้กำลังแขนมาก (คำไม่เป็นทางการ), See also: งานหนัก, อาชีพที่ต้องใช้กำลังมาก, Syn. toil, travail
enforce(vt) ใช้กำลังบังคับให้ปฏิบัติตาม, See also: บังคับให้ทำ, Syn. coerce, compel, force
exertion(n) กิจกรรมที่ต้องลงแรงมาก, See also: กิจกรรมที่ต้องใช้กำลังมาก, Syn. effort
exhaustion(n) ความเหนื่อยอ่อน, See also: ความอ่อนเพลีย, การสิ้นสภาพ, การหมดแรง, การใช้กำลังหมด, Syn. fatigue, lasstitude, weariness
herculean(adj) ซึ่งต้องใช้กำลังและความพยายามอย่างมาก
muscle in(phrv) ใช้กำลังควบคุม (คำสแลง), Syn. horn in
manual(adj) ซึ่งใช้แรงกาย, See also: ซึ่งใช้กำลังกาย
overwork(vi) ทำงานมากไป, See also: ใช้กำลังเกินไป, ทำงานหักโหม, Ant. rest
overwork(vt) ทำงานมากไป, See also: ใช้กำลังเกินไป, ทำงานหักโหม, Ant. loaf
pneumatic(adj) ซึ่งใช้กำลังอัดของอากาศ
put forth(phrv) ใช้กำลัง, Syn. put out
put out(phrv) ใช้กำลัง, See also: ใช้ความพยายาม, Syn. put forth
rough(vt) ใช้กำลังรุนแรงต่อคู่แข่งขัน (เช่น ฟุตบอล, ฮ็อกกี้)
seizure(n) การยึดครองดินแดนโดยใช้กำลังทหาร, See also: การครอบครองทางทหาร, Syn. occupation, usurpation
steamroller(vt) บีบบังคับ, See also: ใช้กำลังบังคับ, Syn. compel, force
strenousity(n) การใช้กำลังมาก
strenously(adv) อย่างใช้กำลังมาก
strenousness(n) การใช้กำลังมาก
strenuous(adj) ซึ่งต้องใช้กำลังมาก, See also: ซึ่งต้องออกแรง, เหนื่อยยาก, ซึ่งอาบเหงื่อต่างน้ำ, Syn. hard, laborious, uphill
take(vt) ยึด, See also: เอาไปโดยใช้กำลัง, Syn. seize, catch
take out(phrv) ดึงออก, See also: ใช้กำลัง ถอนออก, Syn. extract, pull out
violence(n) การใช้กำลังทำลาย, See also: การทำลาย, Syn. force, savagery

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
action(แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ
compel(คัมเพล') { compelled, compelling, compels } vt. บังคับ, ผลักดัน, เกณฑ์, ใช้วิธีบังคับ, ได้มาโดยการบังคับ, ต้อน. vi. ใช้กำลัง, มีอิทธิพลต่อ, See also: compeller n., Syn. enforce
enforce(เอนฟอร์ส') vt. ทำให้ปฎิบัติตาม, ใช้กำลังบังคับ, บังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย, See also: enforceability n. ดูenforce enforcer n. ดูenforce enforcive adj. ดูenforce enforcement n. ดูenforce
forcible(ฟอร์ซฺ'ซิเบิล) adj. ใช้กำลัง, มีกำลัง, มีพลัง, ให้กำลัง, ได้ผล, จูงใจ, โน้มน้าวจิตใจ., See also: forcibility n., forcibly adv., Syn. compulsory
gas plasma displayจอภาพก๊าซพลาสมาหมายถึง จอภาพพิเศษที่ออกแบบให้ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) จอภาพชนิดนี้จะให้ความสว่างเรืองรองออกเป็นสีส้ม ดูคล้าย ๆ กับกัมมันตภาพรังสี ใช้กำลังไฟสูง ราคาแพง และมักจะไม่มีสี (มีแต่สีขาว/ดำ) ปัจจุบันจอโทรทัศน์ก็ใช้จอแบบเดียวกันนี้ แต่มีสีสันสวยงาม
herculean(เฮอ'คิวเลียน) adj. ยากมาก, ต้องใช้กำลังมหาศาล, มีกำลังมหาศาล, กล้าหาญมาก, ใหญ่มาก, เกี่ยวกับเฮอร์คิวลิส
lcd(แอลซีดี) ย่อมาจากคำว่า liquid crystal display (จอภาพผลึกเหลว) ใช้ทำจอภาพ มีลักษณะเป็นของเหลวใสเหมือนแก้วเจียรนัย อัดอยู่ระหว่างเนื้อแก้วสองชั้น เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงจากภายนอก จะสะท้อนแสงออกมาเป็นมุมต่าง ๆ ใช้เป็นตัวแสดงอักขระและภาพ คอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนิยมใช้จอภาพชนิดนี้ จอภาพนี้แม้จะใช้กำลังไฟฟ้าน้อยมาก แต่จะชัดเจนดี นิยมใช้กับเครื่องคำนวณที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ด้วย
liquid crystal displayจอภาพผลึกเหลวใช้ตัวย่อว่า LCD (อ่านว่า แอลซีดี) ใช้ทำจอภาพ มีลักษณะเป็นของเหลว ใสเหมือนแก้วเจียรนัย อัดอยู่ระหว่างเนื้อแก้วสองชั้น เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงจากภายนอก จะสะท้อนแสงออกมาเป็นมุมต่าง ๆ ใช้เป็นตัวแสดงอักขระและภาพ คอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนิยมใช้จอภาพชนิดนี้ จอภาพนี้แม้จะใช้กำลังไฟฟ้าน้อยมาก แต่จะชัดเจนดี นิยมใช้กับเครื่องคำนวณที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ด้วย
rescue(เรส'คิว) vt. ช่วยเหลือ, ช่วยชีวิต, ช่วยให้รอด, ให้กำลังแย่งเอาไป, n. การช่วยเหลือ, การช่วยชีวิต, การช่วยให้รอด, การใช้กำลังแย่งเอาไป, See also: rescuable adj. rescuer n., Syn. save, free, release, liberate
robust(โรบัสท'ฺ, โร'บัสทฺ) adj. แข็งแรง, เข้มแข็ง, มีกำลังมาก, กำยำ, ที่ใช้กำลังมาก, เอางานเอาการ, หยาบ, เอะอะ, อุดมสมบูรณ์, Syn. hardy, vigorous
rough-up(รัฟ'อัพ) n. การใช้กำลัง
second generation computeคอมพิวเตอร์ยุคที่สองหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ราวทศวรรษ 1960 จนถึงต้น 1970 มีคุณสมบัติที่สำคัญคือ มีขนาดเล็กว่ายุคที่หนึ่งมาก ใช้กำลังไฟน้อยลง และให้ความร้อนน้อยลงด้วย เพราะหน่วยความจำที่ใช้เป็น วงจรที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) แทนที่จะเป็นหลอดสุญญากาศเหมือนยุคที่หนึ่ง ส่วนหน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) นิยมใช้เทปหรือแถบบันทึก และจานบันทึก การนำข้อมูลเข้าและการแสดงผล สามารถทำได้ควบคู่ไปกับการคำนวณ เริ่มรู้จักใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system) ควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์
shotgun(ชอท'กัน) n. ปืนสั้น, ปืนล่าสัตว์ adj. เกี่ยวกับปืนดังกล่าว, คลุมไปหมด vt. ยิงด้วยปืนดังกล่าว, บีบบังคับ, ใช้กำลังบังคับ
strained(สเทรนดฺ) adj. ใช้กำลัง, ออกแรง, ฝืน, ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ, เครียด., See also: strainedness n.
strenuous(สเทรน'นิวอัส) adj. แข็งแรง, มีพลัง, เข้มแข็ง, บากบั่น, พากเพียร, อุตสาหะ, ใช้กำลังมาก., See also: strenuousness n. strenuosity n., Syn. demanding, arduous, tough, uphill
tooth and nailn. อย่างดุเดือด, ใช้กำลังหรือทุนเต็มที่, Syn. fiercely
violence(ไว'อะเลินซฺ) n. ความรุนแรง, ความดุเดือด, การใช้กำลัง, ความพลการ, การทำลาย, การล่วงละเมิด, การสบประมาท, การทำให้บาดเจ็บ
violent(ไว'อะเลินทฺ) adj. รุนแรง, ดุเดือด, ใช้กำลัง, พลการ, ทำลาย, ล่วงละเมิด, สบประมาท, ซึ่งทำให้บาดเจ็บ., See also: violently adv.

English-Thai: Nontri Dictionary
enforce(vt) บังคับให้กระทำ, ใช้กำลังบังคับ, ทำให้ปฏิบัติตาม
enforceable(adj) บังคับได้, ใช้กำลังบังคับได้
enforcement(n) การบังคับ, การใช้กำลังบังคับ
forcible(adj) โดยการบังคับ, ซึ่งใช้กำลัง, ซึ่งใช้อำนาจ
hydraulic(adj) ซึ่งใช้กำลังน้ำ
overpower(vt) มีอำนาจเหนือ, มีกำลังเหนือ, ใช้กำลัง, ทำให้หมดกำลัง
overstrain(n) การใช้กำลังมากไป
overstrain(vt) ทำงานมากเกินไป, ใช้กำลังมากไป
violent(adj) รุนแรง, หักโหม, ใช้กำลัง, ล่วงละเมิด
WATER water mill(n) โรงสีใช้กำลังน้ำ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
実力行使[じつりょくこうし, jitsuryokukoushi] (phrase) ใช้กำลัง

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top