ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*วารสาร*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: วารสาร, -วารสาร-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
วารสาร(n) journal, See also: periodical, Example: ไม่นานมานี้มีบทความในวารสารทางการแพทย์ได้วิจารณ์ในเรื่องนี้แล้ว, Thai Definition: หนังสือที่ออกเป็นคราวๆ
วารสารศาสตร์(n) journalism, See also: newspaper, Syn. วิชาวารสารศาสตร์, Thai Definition: วิชาที่ว่าด้วยการทำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และ การพิมพ์ประเภทอื่นๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
คณะวารสารศาสตร์(n) Faculty of Journalism, Count Unit: คณะ

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
วารสารน. หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา พิมพ์เรื่องที่เป็นงานวิจัยหรือบทความทางวิชาการ มีผู้ตรวจรับรองคุณภาพทางวิชาการ เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์.
วารสารศาสตร์น. วิชาว่าด้วยการทำหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และการพิมพ์ประเภทอื่น ๆ.
บทความน. ข้อเขียนซึ่งเป็นรายงานหรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร สารานุกรม เป็นต้น.
ปริทัศน์หนังสือประเภทวารสารที่วิจารณ์ข่าวหรือเรื่องราวต่าง ๆ.
ว่าด้วยบ. เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์.
สมาชิก ๑(สะมา-) น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย.
สาร ๑, สาร- ๑ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสาร สื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
journal๑. บันทึกการประชุมสภา๒. หนังสือพิมพ์รายวัน, วารสาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
journal๑. วารสาร๒. บันทึกประจำวัน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
journal papersบทความวิชาการวารสาร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Shelving for periodicalการจัดชั้นวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา]
Periodical selectionการเลือกวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา]
Periodicalวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา]
Periodical indexดรรชนีวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา]
Union list of serialsรวมรายชื่อวารสาร [เทคโนโลยีการศึกษา]
Abstract bulletinวารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Abstract journalวารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Abstract periodicalวารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bound periodicalsวารสารเย็บเล่ม, Example: <p>วารสารเย็บเล่ม เป็นงานที่ทำต่อเนื่องจากการบริหารจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา (วารสารฉบับเก่า) คือ การนำวารสารฉบับปีพิมพ์เก่ามาทำการรวมเล่มเข้าด้วยกัน โดยจะไม่นำวารสารปีพิมพ์ปัจจุบันมาเย็บเล่ม เพราะผู้ใช้บริการยังต้องการใช้อยู่ สาเหตุที่ต้องเย็บเล่มวารสาร วัตถุประสงค์หลักเพื่อต้องการให้มีรูปเล่มที่คงทน หยิบใช้งานง่าย และสะดวกต่อการค้นหา อาจพบปัญหาบ้างในกรณีทำสำเนา ที่ไม่ค่อยชัดเจน เนื่องจากติดที่สันที่เย็บเล่มไว้ <p>การเตรียมวารสารส่งเย็บเล่ม มีวิธีและขั้นตอนโดยสรุป ดังนี้ <p>1. รวบรวมวารสาร เมื่อได้รับวารสารครบปีแล้ว ห้องสมุดจะสำรวจว่ามีวารสารชื่อใดบ้างที่จะนำมาเย็บเล่ม <p>2. ก่อนการเย็บเล่มควรตัดหน้าที่ไม่จำเป็นออก เพื่อให้ผู้ใช้ค้นหาบทความได้ง่ายขึ้น รูปเล่มไม่ควรหนาเกิน โดยนำสารบัญของวารสารแต่ละฉบับมาเรียงรวมกันไว้ด้านหน้า หากมีดัชนีจะจัดเรียงไว้ท้ายเล่มเพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาบทความได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น <p>3. รูปแบบการจัดเรียงวารสารส่งเย็บเล่ม คือ ปกฉบับแรกของเล่ม ถ้าต้องการเย็บเล่มวารสารฉบับที่ 1–2 จะเก็บเฉพาะปกฉบับที่ 1 ส่วนฉบับอื่น ๆ จะเก็บเฉพาะหน้าสารบัญ แล้วจัดเรียงส่วนอื่นตามลำดับ คือ สารบัญ เนื้อหา และดัชนี <p>4. การจัดทำทะเบียนวารสารเย็บเล่ม เพื่อให้ทราบว่ามีวารสารฉบับใดบ้างที่อยู่ในระหว่างการเย็บเล่ม <P>5. การตรวจรับวารสารเย็บเล่ม ตรวจสอบการจัดเรียงเนื้อหาให้ถูกต้อง <p>6. การให้บริการ นำวารสารเย็บเล่มขึ้นชั้นให้บริการที่ชั้นวารสารเก่า และเปลี่ยนสถานะของวารสารด้วยคำว่า Bound เพื่อแจ้งให้ผู้ใช้และผู้ปฏิบัติงานทราบ <p>กระบวนการจัดส่งวารสารเย็บเล่ม ห้องสมุดจะมีรายชื่อบริษัท ร้านค้า ที่ทำธุรกิจด้านนี้โดยเฉพาะ ซึ่งต้องมีการประเมินเรื่องคุณภาพและระยะเวลาการส่งมอบงาน เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Electronic journalวารสารอิเล็กทรอนิกส์, Example: วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ คือ วารสารทางวิชาการที่ผลิตและเผยแพร่สู่ผู้ใช้โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวารสารที่ห้องสมุดบอกรับโดยเสียค่าบริการเพื่อให้ผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารนิเทศได้รวดเร็วในเวลาเดียวกันหลายคน โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ สามารถจัดหาได้เมื่อต้องการ ( Acquisition on Demand) และมีบริการจัดส่งบทความ (Document Delivery) เมื่อมีผู้ต้องการสั่งซื้อทาง E - mail หรือ Fax หรืออื่นๆได้ตามต้องการ วารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นพัฒนาการของวารสารที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน <p>ข้อดีของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ผู้ใช้สามารถติดตามอ่านวารสารได้อย่างรวดเร็ว ทันทีที่วารสารมีการจัดพิมพ์ เนื่องจากสำนักพิมพ์จัดพิมพ์แบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำให้เผยแพร่สู่ผู้อ่านได้อย่างรวดเร็ว</ol> <ol>2. ผู้อ่านสามารถเข้าถึงวารสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลา โอกาส และ สถานที่</ol> <ol>3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเย็บเล่มวารสาร การเสียแรงงานบุคลากรในการเตรียมวารสารก่อนส่งเย็บเล่มและหลังการเย็บเล่ม</ol> <ol>4. ช่วยแก้ปัญหาการได้รับวารสารไม่ครบ วารสารถูกฉีกขาด</ol> <ol>5. ช่วยแก้ปัญหาสถานที่เก็บ ไม่มีปัญหาการเพิ่มน้ำหนักพื้นที่ของห้องสมุด</ol> <p>ข้อจำกัดของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ค่าใช้จ่ายในการบอกรับ แต่ละสำนักพิมพ์จะกำหนดค่าบอกรับแตกต่างกัน เช่น บางสำนักพิมพ์เมื่อบอกรับวารสารฉบับพิมพ์จะให้สิทธิ์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ บางสำนักพิมพ์แยกราคากันระหว่างฉบับพิมพ์กับวารสารอิเล็กทรอนิกส์ </ol> <ol>2. ลิขสิทธิ์ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่ชัดเจนเช่นกฎหมายลิขสิทธิ์ของสิ่งพิมพ์</ol> <ol>3. วารสารย้อนหลัง การจัดเก็บวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับย้อนหลังยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ห้องสมุดที่บอกรับหารูปแบบ วิธีการจัดเก็บเอง หรือบริษัทเป็นผู้จัดทำ</ol> <ol>4. การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส็ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งก็คือ ความล่าช้าของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์และผู้ใช้ขาดความเข้าใจในวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนปัญหาของข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกัน King (1991 : 5-6) กล่าวว่า ประมาณปี 2006 จะมีการเปลี่ยนแปลงอีกมากในการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการนำส่งข้อมูลเข้าห้องสมุด ในขณะที่สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงมีใช้อยู่ แต่จะมีบทบาทที่แตกต่างไป โดยความคิดนี้ตรงกับความเห็นของ McKnight (1993 : 9) และ Piternick (1989 b : 96) ที่กล่าวว่า วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์จะมีการใช้ต่อไป ในขณะที่การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเสมือนเส้นขนานมากกว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาแทนที่ นักวิชาการและนักวิจัยจะใช้เวลาเล็กน้อยในห้องสมุด เพราะสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากคอมพิวเตอร์ หรือจาก Workstation จากที่ห่างไกลได้</ol> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Serial Data Systemระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ, Example: <p>ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ (ISDS) เป็นระบบที่ดำเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วยคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็นสมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย <p>ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Serial Numberเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Irregular serialสิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสาร มีกำหนดออกไม่สม่ำเสมอ, Example: <p>สิ่งพิมพ์ในลักษณะวารสารที่มีกำหนดออกเผยแพร่ที่ไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก หรือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน <p>โดยปกติวารสารแต่ละชื่อ มีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน คือ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year ) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายไม่สม่ำเสมอ หรือรายสะดวก กล่าวคือ มีกำหนดออกไม่แน่นอน (Irregular) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Journalวารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Kardex cardบัตรทะเบียนวารสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Periodicalวารสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Periodical indexดรรชนีวารสาร, Example: <p>ดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นดรรชนีที่จำแนกตามลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศ จัดทำขึ้นเพื่อนำผู้ใช้ไปยังวารสารที่มีบทความนั้นๆ ปรากฏอยู่ ดรรชนีวารสารจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ <p>1. ใช้้ค้นบทความทั่วๆ ไป ที่ลงในวารสารต่างๆ ไม่เจาะจงชื่อวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Reader's Guide to Periodical Literature ซึ่งเป็นดรรชนีวารสาร นิตยสาร วารสารทางวิชาการ จัดทำขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901 โดย H.W. Wilson Company <p>ตัวอย่าง Reader's Guide to Periodical Literature <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Readers-Guide.jpg" alt="Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>วิธีการใช้ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Sample-Readers-Guide.jpg" width="640" higth="200" alt="How to Use Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูล คือ Readers' Guide to Periodical Literature ซึ่งครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่ปี 1983 ถึงปัจจุบัน (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-to-periodical-literature) และ Readers' Guide Retrospective: 1890-1982 ครอบคลุมข้อมูลของปี 1890-1982 (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-retrospective) <p>2. ใช้ค้นเรื่องที่ลงในวารสารชื่อเรื่องใดชื่อเรื่องหนึ่ง อาจเป็นสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์วารสารนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น ดรรชนีราชกิจจาบุเบกษา <p>3. ใช้ค้นเรื่องในสาขาเฉพาะที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น Applied Science & Technology Index ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ โดย EBSCO <p>รายการอ้างอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. <p>City College of San Francisco. Finding Periodical Articles Using Print Indexes. Available: http://www.ccsf.edu/Librar/printindexes.pdf. Accessed: 20120416. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Periodical selectionการเลือกวารสาร, Example: <p>การเลือกวารสาร (Periodical selection) วารสาร จัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง มีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความ งานวิจัยต้นฉบับ และเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จัดเป็นแหล่งค้นคว้า ติดตาม ผลการศึกษาวิจัยใหม่ทางด้านวิชาการ และความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสารสนเทศประเภทอื่น <p>การเลือกรับวารสาร โดยทั่วไปมีหลักเกณฑ์ ดังนี้ <p>1. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และนโยบายขององค์กรและห้องสมุด <p>2. ตามความต้องการของผู้ใช้บริการ ให้ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ในสัดส่วนที่สมดุลกัน <p>3. งบประมาณ <p>สำหรับการเลือกวารสาร ในประเด็นวารสารแต่ละรายชื่อ โดยทั่วไปมีหลักเกณฑ์ที่สำคัญ ดังนี้ <p>1. กำหนดออกตรงตามเวลาที่กำหนด เช่น รายเดือน รายสองเดือน รายสามเดือน <p>2. บทความตีพิมพ์ต้องมีการควบคุมคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer review) <p>3. วารสารมีการตีพิมพ์บทความที่มีรูปแบบการตีพิมพ์ที่ได้มาตรฐาน เช่น ชื่อและที่อยู่ผู้แต่ง บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และเอกสารอ้างอิงเป็นรูปแบบเดียวกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Union list of serialsรวมรายชื่อวารสาร, Example: <p>รวมรายชื่อวารสาร หรือ สหรายการวารสารของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย (Union list of serials) รวบรวมรายชื่อวารสารของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เป็นประเภทหนังสืออ้างอิง (Reference) สำหรับใช้เป็นคู่มือสำหรับบรรณารักษ์แผนกวารสาร แบ่งออกเป็นสหรายการวารสารวารสารภาษาไทย และสหรายการวารสารวารสารภาษาอังกฤษ <p>สหรายการวารสารวารสารภาษาไทย ชื่อว่า รวมรายชื่อวารสารในประเทศไทย (Union List of Periodicals in Thailand) จัดทำโดย คณะทำงานเพื่อความร่วมมือระหว่างห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา ฝ่ายวารสารและเอกสาร จัดพิมพ์ครั้งที่ 2/2539 แบ่งออกเป็น 2 เล่ม เล่ม 1 (ก-ย) เล่ม 2 (ร-ฮ) เนื้อหาเป็นการรวบรวมรายชื่อวารสารภาษาไทย ที่มีให้บริการอยู่ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งหอสมุดแห่งชาติ ให้รายละเอียดข้อมูลของวารสารแต่ละรายการตั้งแต่ฉบับย้อนหลังที่มีมาจนถึงปี พ.ศ.2537 และรายละเอียดเกี่ยวกับอักษรย่อรายชื่อของสถาบัน หน่วยงาน ห้องสมุด และรายการวารสาร (Holding) ฉบับที่มีให้บริการในห้องสมุดนั้น <p>สหรายการวารสารภาษาอังกฤษ โครงการรวมรายชื่อวารสารในประเทศไทยด้วยคอมพิวเตอร์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4/1993 (Union list of serials in Thailand) จัดทำโดยทบวงมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์รวม 1 เล่ม จัดเรียงตามตัวอักษรวารสาร A-Z ข้อมูลประกอบด้วย ISIS No. ISSN ชื่อวารสาร อักษรย่อรายชื่อของสถาบัน หน่วยงานห้องสมุด และรายการวารสาร (Holding) ฉบับที่มีให้บริการในห้องสมุดนั้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Acquisition of serial publicationการจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Shelving for periodicalการจัดชั้นวารสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Youths' periodicalsวารสารสำหรับเยาวชน [TU Subject Heading]
Women's Periodicalsวารสารสำหรับสตรี [TU Subject Heading]
Women's periodicals, Thaiวารสารไทยสำหรับสตรี [TU Subject Heading]
Women periodical editorsบรรณาธิการวารสารที่เป็นสตรี [TU Subject Heading]
Advertising, Magazineโฆษณาทางวารสาร [TU Subject Heading]
Children's periodicalsวารสารสำหรับเด็ก [TU Subject Heading]
Children's periodicals, Thaiวารสารไทยสำหรับเด็ก [TU Subject Heading]
College student newspapers and periodicalsหนังสือพิมพ์และวารสารของนักศึกษาอุดมศึกษา [TU Subject Heading]
Discarding of books, periodicals, etc.การจำหน่ายหนังสือและวารสาร [TU Subject Heading]
Electronic journalsวารสารอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Employees' magazines, newletters, etc.วารสารของลูกจ้าง [TU Subject Heading]
English periodicalsวารสารอังกฤษ [TU Subject Heading]
Free circulation newspapers and periodicalsหนังสือพิมพ์และวารสารให้เปล่า [TU Subject Heading]
House organsวารสารภายในหน่วยงาน [TU Subject Heading]
Interviewing in journalismการสัมภาษณ์ในงานวารสารศาสตร์ [TU Subject Heading]
Journalismวารสารศาสตร์ [TU Subject Heading]
Journalism teachersครูวารสารศาสตร์ [TU Subject Heading]
Journalism, Aeronauticalวารสารศาสตร์การบิน [TU Subject Heading]
Journalistic ethicsจรรยาบรรณทางวารสารศาสตร์ [TU Subject Heading]
Magazine illustrationภาพประกอบวารสาร [TU Subject Heading]
Men's magazinesวารสารสำหรับบุรุษ [TU Subject Heading]
Motion picture journalismวารสารศาสตร์การภาพยนตร์ [TU Subject Heading]
Newspaper and periodical librariesห้องสมุดหนังสือพิมพ์และวารสาร [TU Subject Heading]
Periodical editorsบรรณาธิการวารสาร [TU Subject Heading]
Periodical selectionการเลือกวารสาร [TU Subject Heading]
Periodicalsวารสาร [TU Subject Heading]
Photojournalismการถ่ายภาพวารสารศาสตร์ [TU Subject Heading]
Photojournalistsนักถ่ายภาพวารสารศาสตร์ [TU Subject Heading]
Serials control systemsระบบควบคุมวารสาร [TU Subject Heading]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Without a paper, a journal of some kind you cannot unite a community.ถ้าปราศจากนสพ. วารสารอะไรสักอย่าง เราก็รวมชุมชนไม่ได้ Gandhi (1982)
This is Emmett Richmond, another associate... top three in his class... and former editor of "Harvard Law Review."นี่ เอมเม็ท ริชมอนด์ ผู้ร่วมงานเราอีกคน 1ใน 3 ของนักศึกษาเรียนดีในรุ่น อดีต บก.วารสารนิติศาสตร์ ฮาร์วาร์ด Legally Blonde (2001)
This journal...วารสารนี้... . Hope Springs (2003)
At Multinational Monitor we've put together a list of the top corporate criminals of the 1990s.ในวารสาร จับตาบรรษัทข้ามชาติ เรารวบรวมรายชื่อ (โรเบิร์ต ไวส์แมน บรรณาธิการ จับตาบรรษัทข้ามชาติ) ของสุดยอดบรรษัทอาชญากรในช่วงทศวรรษ 1990 The Corporation (2003)
Stanford. I majored in journalism.แสตนฟอร์ดค่ะ ฉันจบบรรณาธิการวารสารศาสตร์ Mr. Monk and the Blackout (2004)
- Trudy majored in journalism.- ทรูดี้ก็จบบรรณาธิการวารสารศาสตร์ Mr. Monk and the Blackout (2004)
You know, just last week, I was reading in a very important medical journal that some children are allergic to chocolate.เธอรู้มั้ย เมื่ออาทิตย์ที่แล้วนี้เอง ชั้นอ่านหนังสือ ในวารสารทางการแพทย์ที่สำคัญมากๆ เด็กบางคนแพ้ช็อกโกแลต Charlie and the Chocolate Factory (2005)
You should be in a fucking medical journal.คุณนี่น่าจะได้ลง วารสารการแพทย์ Crank (2006)
There was a massive study of every scientific article in a peer-reviewed journal written on global warming for the Iast 10 years.มีการศึกษาบทความทางวิทยาศาสตร์ทุกชิ้นอย่างขนานใหญ่ ในวารสารวิเคราะห์งานวิจัย ที่เขียนเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา An Inconvenient Truth (2006)
A tenured professor at UCLA, a Master's in psychology from Stanford, another from Cambridge, published books on anxiety, articles in prestigious medical journals.เป็นอาจารย์ประจำที่ยูซีแอลเอ จบปริญญาโทด้านจิตวิทยาจากสแตนฟอร์ด และอีกใบจากเคมบริดจ์ ตีพิมพ์หนังสือเรื่องความวิตกจริต ลงบทความในวารสารการแพทย์ชื่อดัง Numb (2007)
- I already know that. But, I mean, you got to think about all the write-ups in the medical journals.แต่อย่าลืม เรื่องนี้ต้องเป็นข่าวดัง ในวารสารทางการแพทย์ จริงมั้ย Henry Poole Is Here (2008)
"Sledding journal.""วารสารนักแข่งล้อเลื่อน" Snow Buddies (2008)
- Forensic Quarterly. - Right. Yeah.วารสารนิติเวช ช่าย ถูกต้อง Our Father (2008)
Shepherd on the front page of a national journal, เชพเพิร์ดลงหน้าปกของวารสารระดับชาติ There's No 'I' in Team (2008)
With journalists.เพราะวารสารนั่น There's No 'I' in Team (2008)
Won't ever be in a medical journal, ซึ่งไม่เคยปรากฎในวารสารทางการแพทย์ There's No 'I' in Team (2008)
No.ฉันอ่านวารสารของเธอ Rise Up (2008)
- You think you're better... than the six journalism school graduates that came here looking for work this morning?-คุณว่าคุณเจ๋งกว่า พวกเด็กที่จบวารสาร 6 คนที่มาสมัครงานเมื่อเช้าอีกงั้นเหรอ? Marley & Me (2008)
And that is how you ended up? Well ...คือว่า ฉันอ่านพบในวารสารวอลสตรีทน่ะ Drag Me to Hell (2009)
They're not being told that the free lunchmeat that their children are getting are contaminated with high levels of mercury.ทำให้ระบบนิเวศน์ทางทะเลเสียหาย แย่มากเสียจนทุกอย่าง อาจจะพังทลายหมด รายงานปี 2006 ในวารสาร Science ทำนายว่าปริมาณปลาในอีก 40 ปีข้างหน้า จะหมดไปถ้ายังคงจับกันหนักในอัตราปัจจุบัน The Cove (2009)
Most definitely. Our picture on the front of the journal.และอย่างแน่นอน ภาพของเรา จะปรากฎอยู่บนวารสารด้วย A Night at the Bones Museum (2009)
In all published material.ในวารสารทุกฉบับที่มีการตีพิมพ์ The Pirate Solution (2009)
If he told anyone else about what we were doing, he would have made a note of it.แต่เขา Silvano ละเอียดวารสาร. ถ้ามีคนกล่าวเกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้ จะเขียนนี้ที่. Angels & Demons (2009)
And do you have these journals?มีวารสารเหล่านี้? Angels & Demons (2009)
Yeah, I understand.แต่เขา Silvano ละเอียดวารสาร. Angels & Demons (2009)
Signore, would you organize a security team to escort Ms. Vetra and myself down to the crypt?มีวารสารเหล่านี้? ฉันสามารถขอให้มีการส่งฉันที่นี่ ในการในอีกหนึ่งชั่วโมง. Angels & Demons (2009)
Maybe it records.เขาเอาเขาวารสาร Silvano. Angels & Demons (2009)
My editor will kill me if I don't grab a quote for our Powerful Women issue.ยินดีด้วยคะ บก.ต้องฆ่าฉันแน่ ถ้าฉันไม่ได้สัมพาสน์ผู้หญิงเก่งๆลงวารสาร โอ Iron Man 2 (2010)
Well, they could monitor scientific publications and see if anyone posts such a cogent restatement in the next couple of months.ดี คุณคอยจับตามองวารสารวิทยาศาสตร์ และหาดูว่าใครตีพิมพ์การทดลองของผมใน สองถึงสามเดือนข้างหน้า The Bozeman Reaction (2010)
I can apply for journalism scholarships.ฉันก็สามารถไปสมัครชิงทุนวารสารศาสตร์ Investigative Journalism (2010)
Did you guys see the paper in The American Physics Journal on supersolids?พวกนายเห็น paper อันนี้รึยัง ในวารสาร The American Physics เกี่ยวกับ supersolid มันน่าสนใจมากเลย The Zazzy Substitution (2010)
And share the experience with as many reputable journals as possible.และแชร์ประสบการณ์ กับวารสารชื่อดังให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ Abed's Uncontrollable Christmas (2010)
Your mother's already taken out a full-page ad In the club newsletter.แม่เพิ่งลงโฆษณาเต็มหน้า ในวารสารของสโมสร Reality Bites Me (2010)
So I rewrote the paper by adding on some extra paragraphs, and instead of sending it back to Geneva, where I thought the people at CERN didn't understand what I was talking about, สิ่งที่ผมพูดถึง ฉันส่งมันข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก ไปที่ตัวอักษรความคิดเห็นทางกายภาพ วารสารอเมริกันที่สอดคล้องกัน What Are We Really Made Of? (2010)
What about the Weekly?แล้ววารสารล่ะ From Up on Poppy Hill (2011)
Medical journals tell of the strange case of the man who went for a drive and noticed that the trees and buildings by the road were speeding by as if he were driving at 200 miles per hour.วารสารการแพทย์บอกถึงกรณีที่ แปลกประหลาด ของผู้ชายคนหนึ่งที่ไปสำหรับไดรฟ์ และสังเกตเห็นว่าต้นไม้และอาคาร ตามถนน Does Time Really Exist? (2011)
- or a journal.- หรือวารสาร Little Red Book (2011)
I studied journalism. I have a minor in criminology.ฉันจบวารสารศาสตร์ โทอาชญวิทยา The Green Hornet (2011)
[ MARJORIE MOANING ] MARJORIE: Right here.เมเจอร์รี่ ตรงนี้ ในวารสารที่ถูกเลิกพิมพ์ไปแล้วของฉัน Repo Man (2012)
We liked animal dissection and Roman history and crime journalism--เราชอบชำแหละสัตว์ ประวัติศาสตร์โรมัน และวารสารด้านอาชญากรรม-- True Genius (2012)
A journal?วารสารเหรอ? Crystal (2012)
I'm the sole author on a paper being published in a distinguished journal that may change the course of my field.ชั้นเขียนบทความที่กำลังตีพิมพ์คนเดียว ในวารสารที่ได้รับการยอมรับ ที่อาจจะเปลี่ยนแนวคิดในสาขาของชั้นได้เลยนะ The Shiny Trinket Maneuver (2012)
But I've since written a well-respected article about it in the Journal of Pediatrics.แต่จากนั้น ฉันเขียน บทความที่ยอมรับกันดี ในวารสารแพทย์เด็ก The Bump in the Road (2012)
It's the galleys from the Journal of Forensic Anthropology.มันเป็นใบสั่งพิมพ์ จากวารสารนิติมานุษยวิทยา The Don't in the Do (2012)
I thought you meant my article in the Journal of Forensic Anthropology.ในวารสารนิติมานุษยวิทยา The Don't in the Do (2012)
I got word that journal isn't going to publish my paper.ผมได้ข่าวว่า วารสารจะไม่ตีพิมพ์บทความของผม The Don't in the Do (2012)
She's a Columbia journalism student.เจอเป็นนักเรียนวารสารที่โคลัมเบีย High Infidelity (2012)
Latrine's down past the periodicals.ห้องส้วมอยู่เลยชั้นวารสาร Critical (2012)
Plus Professor Peiser taught my favorite journalism class at Columbia.รวมทั้งที่ ศ.พีเซอร์ ที่สอน ชั้นเรียนวารสารสุดโปรดของผมที่ม.โคลัมเบีย Gone Maybe Gone (2012)
It's a runner's magazine.มันเป็น... . วารสารของนักวิ่ง De Marathon (2012)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ดรรชนีวารสาร[datchanī wārasān] (n, exp) EN: periodical index
วารสาร[wārasān] (n) EN: magazine ; journal ; periodical  FR: magazine [ m ] ; périodique [ m ] ; journal [ m ]
วารสารศาสตร์[wārasānsāt] (n) EN: journalism  FR: journalisme [ m ]
วิชาวารสารศาสตร์[wichā wārasānsāt] (n, exp) EN: journalism  FR: journalisme [ m ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
journal(n) นิตยสาร, See also: วารสาร, Syn. magazine, periodical
journalism(n) วารสารศาสตร์, See also: การสื่อสารมวลชน, วิชาว่าด้วยการทำหนังสือพิมพ์และวารสาร
magazine(n) นิตยสาร, See also: วารสาร, หนังสือรายเดือน, หนังสือรายสัปดาห์, แม็กกาซีน, Syn. mag, journal, periodical
mass communications(n) วารสารศาสตร์
monthly(n) นิตยสารรายเดือน, See also: วารสารรายเดือน
newsmagazine(n) วารสารข่าว
periodical(n) วารสารที่ออกตามกำหนด, See also: นิตยสารที่ออกตามกำหนดเวลา, Syn. magazine, journal
semimonthly(n) วารสารรายปักษ์, See also: สิ่งที่ตีพิมพ์รายปักษ์

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
journal(เจอร์'เนิล) n. วารสาร, นิตยสาร
journalism(เจอร์'นัลลิสซึม) n. วารสารศาสตร์, การหนังสือพิมพ์, การเขียนข่าว, หนังสือพิมพ์, Syn. news medium
mass mediaสื่อมวลชน (เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสารและอื่น ๆ)
periodical(เพียริออด'ดิเคิล) n. นิตยสารหรือวารสารที่ออกตามกำหนดเวลา. adj. ซึ่งตีพิมพ์ตามกำหนดเวลา, เกี่ยวกับนิตยสารหรือวารสาร, =periodic (ดู)
semimonthly(เซมมิมันธฺ'ลี) adj., adv.เดือนละ 2 ครั้ง, ทุกครึ่งเดือน n. วารสารรายปักษ์, สิ่งตีพิมพ์ที่ออกเดือนละ 2 ครั้ง, สิ่งที่ปรากฎขึ้นเดือนละ 2 ครั้ง
sheet(ชีท) n. ผ้าปูที่นอน, ผ้าสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่, ผ้าคลุมศพ, แผ่นกระดาษ, หน้าหนังสือ, ยกหนังสือ, แผ่น, แผ่นบันทึก, แผ่นใหญ่, ผืน, ผืนใหญ่, หนังสือพิมพ์, สิ่งตีพิมพ์, วารสาร, ระวาง, ขนาด, ความกว้างขวาง, แผ่นหินผา. vt. คลุม, ปกคลุม, ปูผ้า, กางออก, ขยายออก, ห่อด้วยแผ่นหรือผืนใหญ่

English-Thai: Nontri Dictionary
journal(n) บันทึก, หนังสือพิมพ์, วารสาร, รายงานการประชุม, สมุดรายวัน, นิตยสาร
journalism(n) การหนังสือพิมพ์, วารสารศาสตร์, การเขียนข่าว
magazine(n) นิตยสาร, วารสาร, หนังสือพิมพ์รายเดือน, คลังกระสุน, ซองปืน
periodical(n) หนังสือพิมพ์รายคาบ, วารสาร, นิตยสาร

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วารสาร(n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, org, un) วารสาร
วารสาร(n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, org, un) วารสาร

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
雑誌[ざっし, zasshi] (n) วารสาร นิตยสาร
雑誌[ざっし, zasshi, zasshi , zasshi] (n) นิตยสาร, วารสาร

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
投稿[とうこう, toukou] TH: การส่งเรื่องไปตีพิมพ์ในวารสาร  EN: contribution (vs)
投稿[とうこう, toukou] TH: การส่งเรื่องไปลงหนังสือพิมพ์หรือวารสาร  EN: submission

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top