แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
9 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*มาตรฐานสากล*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: มาตรฐานสากล, -มาตรฐานสากล-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)universal standardSee Also:international standardExample:ตุ๊กตาผ้าของคุณหญิงทองก้อน เป็นตุ๊กตาที่ทำขึ้นอย่างประณีต ได้มาตรฐานสากลThai Definition:สิ่งที่ถือเป็นหลักของทั้งหมดNotes:(บาลี/สันสกฤต)
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือExample:<p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : [email protected] 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number">&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขมาตรฐานสากลประจำวารสารExample:<p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ห้องปฏิบัติการมาตรฐานการวัดรังสี, ห้องปฏิบัติการด้านการวัดรังสี ซึ่งมีต้นกำเนิดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ และบุคลากร ในการวัดรังสี ที่สามารถอ้างอิงได้กับมาตรฐานสากลExample: [นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี เภสัชภัณฑ์รังสี, หมายถึง ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบ หรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากล สารเภสัชรังสี ใช้ในการตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีกับผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าว จะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดง "พยาธิสภาพ" ตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ[พลังงาน]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ทั้งหมดหุ่นยาม ทั้งหมดหุ่นยาม ประสาน และเวลา มาตรฐานสากลจักรวาลStar Wars: The Force Awakens (2015)
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ