ก. พูดขยายความให้เข้าใจชัดเจน.
(การัน) น. กรณีย์, กิจ, เช่น ชี้แจงแถลงเรื่องการัณย์ ส่งคชสำคัญ ทั้งหมอแลควาญมาถวาย (ดุษฎีสังเวย).
(ขะหฺยาย) ก. อธิบาย, ชี้แจง, เช่น ขยายความ, แผ่กว้างออกไป เช่น ขยายตัว, เปิดเผย เช่น ขยายความลับ, คลายให้หายแน่น เช่น ขยายเข็มขัดให้หลวม, คลี่, แย้ม, เช่น ดอกไม้ขยายกลีบ, ทำให้กว้างใหญ่ออกไป เช่น ขยายห้อง ขยายรูป, ทำให้มากขึ้น เช่น ขยายพันธุ์.
(-ถะแหฺลง) น. คำชี้แจงต่อศาลด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
น. คำอธิบายหรือชี้แจงเหตุที่เขียนหรือพิมพ์หนังสือเรื่องนั้นขึ้น.
ก. พูดชี้แจงอย่างละเอียดลออหรือถี่ถ้วน.
ก. กระจายออกเป็นส่วน ๆ เช่น แจงเบี้ย แจงถั่ว, พูดหรือเขียนขยายความออกไป ในคำว่า ชี้แจง.
(ฉะเหฺลย) ก. อธิบายหรือชี้แจงข้อปัญหาต่าง ๆ ให้เข้าใจ เช่น เฉลยปัญหา เฉลยความ.
(-ถะแหฺลง) น. คำชี้แจง, คำประกาศ, คำอธิบายเป็นทางการ.
(เท-สก) น. ผู้ชี้แจง, ผู้แสดง, ผู้แสดงธรรม.
ก. นัดและชี้แจงให้กันทราบ.
น. ผู้ชี้แจง เช่น ศึกษานิเทศก์ ธรรมนิเทศก์.
น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการชี้แจงหรืออธิบาย.
น. ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญในเรื่องนั้น ๆ เช่น เรื่องนี้ต้องให้ผู้รู้เป็นคนชี้แจง.
ก. บ่ง, ชี้แจงให้รู้เหตุผล, เช่น เอาพยานหลักฐานไปพิสูจน์ความจริงในศาล, ทดลองให้เห็นจริง, ทดลองหาความจริง, เช่น มีวิธีพิสูจน์ว่าเป็นผงชูรสแท้หรือไม่.
(มักคะนายก) น. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือ ผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด.
น. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด.
น. ส่วนย่อยต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นส่วนใหญ่ เช่น ชี้แจงรายละเอียดของโครงการ.
ที่ต้องชี้แจงหรือแจกแจงโดยไม่ให้มีอะไรขาดตกบกพร่อง เช่น เรื่องนี้ต้องอธิบายโดยละเอียด
(วันนะ–) น. คำชี้แจง, คำอธิบาย.
น. ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง
(วินยัดติ) น. การขอร้อง, การบอกกล่าว, การชี้แจง, รายงาน.
(วิสัดชะนา) ก. ตอบ, ชี้แจง, เช่น ขอวิสัชนาดังนี้.
(สา-สก) น. ครู, ผู้สอน, ผู้ชี้แจง, ผู้ปกครอง.
น. ผู้ชี้แจงแนะนำทางการศึกษาแก่ครูอาจารย์ในโรงเรียนหรือวิทยาลัย.
ก. ชี้แจง, สั่ง, บอกกล่าว, ประกาศ.
ว. มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจงของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล.
ก. ชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทำ, สั่งสอน ก็ว่า.
ก. ชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทำ เช่น แม่สั่งสอนลูกให้เป็นคนดี, สอนสั่ง ก็ว่า.
(สันทัดสะนะ) น. การแสดง, การชี้แจง.
(สาทะยาย, สาดทะยาย) น. การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, (ปาก) การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที.
(สาระนิเทด) น. การชี้แจงแนะนำเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ.
การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ.
(สะแดง) ก. ชี้แจง, อธิบาย, บอกข้อความให้รู้, เช่น แสดงธรรม แสดงปาฐกถา, ทำให้ปรากฏออกมา เช่น แสดงตัว แสดงหลักฐาน
ก. ไม่ยอมอ่อนตาม เช่น เขาหัวแข็งจริง ๆ ชี้แจงเท่าไรก็ไม่ยอมเปลี่ยนความคิด.
ก. ยอมอ่อนตามง่าย เช่น เด็กคนนี้หัวอ่อนมาก พอชี้แจงให้เข้าใจก็เปลี่ยนความคิดทันที, ตรงข้ามกับ หัวแข็ง.
(อะทิบาย) ก. ไขความ, ขยายความ, ชี้แจง.
ก. แนะนำพรํ่าสอนให้ซึมซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัย, แนะนำชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ, ขัดเกลานิสัย, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับ บ่มนิสัย เป็น อบรมบ่มนิสัย.
(อะพิปฺราย) ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น.
(-เทด) น. การแนะนำ, คำชี้แจง, คำบอกเล่า, คำสั่ง, กฎ.
น. การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้นชี้แจง.
ว. ที่ยกขึ้นแสดง, ที่ยกขึ้นชี้แจง
(อุปะเทด, อุบปะเทด) น. การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนำ