ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ลิขสิทธิ์*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ลิขสิทธิ์, -ลิขสิทธิ์-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ลิขสิทธิ์ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้.
ลิขสิทธิ์ข้อสังเกต ไม่ควรมีเนื้อหาข้างล่าง ในส่วนต้นของคำ 'ลิขสิทธิ์' เพราะ ไม่ใช่ definition / คำแปล / คำจำกัดความ: ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้.

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ลิขสิทธิ์(n) copyright, Example: บริษัทอินเทลได้ขายลิขสิทธิ์การออกแบบโปรเซสเซอร์รุ่นเก่าๆ ให้บริษัทอื่น, Thai Definition: สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย, Notes: (กฎหมาย)
ค่าลิขสิทธิ์(n) copyright cost, See also: copyright charge, payment for copyright, Example: นักเขียนสละเงินค่าลิขสิทธิ์เพื่อตั้งเป็นมูลนิธิไว้คอยช่วยเหลือคนยากจน
สงวนลิขสิทธิ์(v) reserve the copyright, Example: ทางค่ายเทปขอสงวนลิขสิทธิ์เทปที่จัดจำหน่าย, Thai Definition: หวงแหนไว้ซึ่งลิขสิทธิ์

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ละเมิดลิขสิทธิ์ก. กระทำอย่างหนึ่งอย่างใดต่องานที่มีลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ได้แก่ ทำซํ้าหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์.
ลิขสิทธิ์(ลิกขะสิด) น. สิทธิทางวรรณกรรม ศิลปกรรม และประดิษฐกรรม ซึ่งผู้เป็นต้นคิดได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
ลิขสิทธิ์สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย.
ทรัพย์สินน. วัตถุที่มีรูปร่าง รวมทั้งวัตถุที่ไม่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นวัตถุมีรูปร่าง ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร กระแสไฟฟ้าที่ส่งตามสาย เป็นวัตถุไม่มีรูปร่าง.
ว่าด้วยบ. เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์.
ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศน. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาอื่น รวมทั้งกิจการเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศบางเรื่อง.
สงวน(สะหฺงวน) ก. ถนอมรักษาไว้ เช่น เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ (โลกนิติ) สงวนมรดกของชาติ, หวงแหนไว้ เช่น สงวนเนื้อสงวนตัว สงวนลิขสิทธิ์ สงวนสิทธิ์.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
piracy๑. การกระทำอันเป็นโจรสลัด (ก. อาญา)๒. การละเมิดลิขสิทธิ์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
copyrightลิขสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
copyrightลิขสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
fair useการใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
infringement of copyrightการละเมิดลิขสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Copyrightลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Copyright pageหน้าลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Copyright lawกฎหมายลิขสิทธิ์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Copyrightลิขสิทธิ์, Example: <p>ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 <p>ลิขสิทธิ์ หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทำการใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น <p>ผู้สร้างสรรค์ หมายความว่า ผู้ทำหรือผู้ก่อให้เกิดงานสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ <p>ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่กฎหมายให้ความคุ้มครอง โดยให้เจ้าของลิขสิทธิ์เป็นผู้มีสิทธิแต่ผู้เดียว (Exclusive rights) ที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ที่ได้ทำขึ้น <p>งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์ ประกอบด้วยงานประเภทต่าง ๆ คือ <p>1. วรรณกรรม หมายความว่า งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และให้หมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย <p>2. นาฏกรรม หมายความว่า งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดงที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องราว และให้หมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย <p>3. ศิลปกรรม หมายความว่า งานอันมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ เช่น งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานภาพพิมพ์ งานสถาปัตยกรรม งานภาพถ่าย งานภาพประกอบ แผนที่ โครงสร้าง ภาพร่าง งานศิลปประยุกต์ <p>4. ดนตรีกรรม หมายความว่า งานเกี่ยวกับเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับร้อง ไม่ว่าจะมีทำนองและคำร้องหรือมีทำนองอย่างเดียว และให้หมายความรวมถึงโน้ตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ได้แยก และเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว <p>5. โสตทัศนวัสดุ หมายความว่า งานอันประกอบด้วยลำดับของภาพโดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะอย่างใด อันสามารถที่จะนำมาเล่นซ้ำได้อีกโดยใช้เครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการใช้วัสดุนั้น และให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบงานนั้นด้วย ถ้ามี <p>6. ภาพยนตร์ หมายความว่า โสตทัศนวัสดุอันประกอบด้วยลำดับของภาพ ซึ่งสามารถนำออกฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์หรือสามารถบันทึกลงบนวัสดุอื่น เพื่อนำออกฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์ และให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์นั้นด้วย ถ้ามี <p>7. สิ่งบันทึกเสียง หมายความว่า งานอันประกอบด้วยลำดับของเสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่นใด โดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะใด ๆ อันสามารถที่จะนำมาเล่นซ้ำได้อีกโดยใช้เครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการใช้วัสดุนั้น แต่ทั้งนี้ มิให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์หรือเสียงประกอบโสตทัศนวัสดุอย่างอื่น <p>8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หมายความว่า งานที่นำออกสู่สาธารณชนโดยการแพร่เสียงทางวิทยุกระจายเสียง การแพร่เสียงและหรือภาพทางวิทยุ โทรทัศน์ หรือโดยวิธีอย่างอื่นอันคล้ายคลึงกัน <p>ทั้งนี้โดยทั่วไป ลิขสิทธิ์นี้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลา 50 ปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Copyright lawกฎหมายลิขสิทธิ์, Example: กฎหมายลิขสิทธิ์ คือ กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองสิทธิในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานจะได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายนี้ ผู้ใดจะนำข้อความไปตีพิมพ์หรือแปลเป็นภาษาอื่นๆ หรือผลิตออกเผยแพร่โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงาน หรือเจ้าของลิขสิทธิ์มิได้ <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์ของแต่ละประเทศจะระบุให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์ส่งหนังสือที่พิมพ์ให้หอสมุดแห่งชาติเก็บรักษา ตามจำนวนที่กำหนด ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวน 2 ฉบับ เพื่อเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในแต่ละประเทศ <p> <p>หนังสือภาษาต่างประเทศ จะมีการแจ้งลิขสิทธิ์ระบุไว้ที่หน้าลิขสิทธิ์หรือ copyright page ซึ่งก็คือ ด้านหลังของหน้าปกใน โดยจะปรากฏคำว่า Copyright หรือ © พร้อมทั้งชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี ค.ศ. ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>หนังสือภาษาไทย จะมีคำว่า สงวนลิขสิทธิ์ ปรากฏไว้ที่ด้านหลังหน้าปกใน เช่นเดียวกัน และมีการระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี พ.ศ ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์มีความเกี่ยวข้องกับห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดมีงานลิขสิทธิ์หลายประเภทอยู่ในครอบครอง เช่น งานวรรณกรรม ในรูปของหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีดิทัศน์ ฯลฯ สื่อบันทึกเสียงรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นเสียง เทปคาสเซทส์ งานศิลปกรรม เช่น ภาพวาด ภาพเขียน เป็นต้น <p> <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ ได้จำแนกสถานภาพของห้องสมุดที่เกี่ยวกับงานลิขสิทธิเป็น 4 ประำการ คือ <p>1. ในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน <p>2. ในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน <p>3. ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4. ในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ <p> <p>1. ห้องสมุดในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน ห้องสมุดเป็นผู้จัดซื้อ จัดหาสื่อต่างๆ เข้ามา แต่มิได้หมายความว่า ห้องสมุดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เพียงแต่ห้องสมุดมีกรรมสิทธิ์ในสื่อเหล่านั้น ห้องสมุด อาจนำมาไว้ให้บริการผู้อ่่านในห้องสมุดหรือยืมไปอ่าน หากไม่นำมาคืน ห้องสมุดสามารถใช้สิทธิทวงถามเพื่อให้นำมาคืนได้ แต่ห้องสมุดไม่มีสิทธิ์ที่จะทำซ้ำหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่งานนั้นต่อสาธารณชนได้ หากไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น ห้องสมุดไม่สามารถนำหนังสือที่ซื้อมาทำสำเนาเข้าปกเป็นจำนวนหลายเล่ม เพื่อให้มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องซื้อไม่ได้ เป็นต้น <p>2. ห้องสมุดในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน หมายถึง ห้องสมุดมิได้เป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่อยู่ในฐานะครอบครองทรัพย์สินเท่านั้น เจ้าของทรัพย์สินอาจให้ยืมหนังสือหรือสิ่งของบางรายการแก่ห้องสมุด และอาจระบุเงื่อนไขบางประการไว้ เช่น การนำสิ่งของมาแสดงในงานนิทรรศการ เมื่อครบกำหนดต้องคืน และห้องสมุดต้องรักษาทรัพย์สินนั้นๆ <p>3. ห้องสมุดในฐานะเข้าของลิขสิทธิ์ ห้ิองสมุดอาจจะเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานที่มีอยู่ในห้องสมุด การใช้งานลิขสิทธิ์ย่อมไม่มีปัญหาใดๆ เพียงแต่ดูแลลิขสิทธิ์ของตนเองเมื่อพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานเหล่านั้น <p>4. ห้องสมุดในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ แต่เป็นผู้ที่จะใช้งานลิขสิทธิ์นั้นในขอบเขตการให้บริการของตน แต่โดยหลักแล้ว ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ ย่อมกระทำการที่กฎหมายให้เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานลิขสิทธิ์อาจได้รับการปกป้องจากการกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ <p>4.1 การกระทำโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4.2 การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว <p>4.3 การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ <p>4.4 การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>การกระทำโดยไ้ด้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ห้องสมุดตรวจสอบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์และทำการขออนุญาต โดยมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร และควรแจ้งว่าเป็นการใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา และขอความอนุเคราะห์ในการยกเว้นค่าใช้ลิขสิทธิ์ (กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์อาจจะมีเงื่อนไข) <p>การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว งานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ย่อมตกเป็นสมบัติสาธารณะ ไม่ต้องขออนุญาตต่อผู้ใด ห้องสมุดอาจทำซ้ำ เพื่อการเก็บรักษาหรือเพื่อให้ผู้ใช้บริการยืมอ่านได้ <p>การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ สิ่งที่กฎหมายลิขสิทธิ์ระบุว่าไม่มีลิขสิทธิ์ คือ <p>1. ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ <p>2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย <p>3. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถ่น <p>4. คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ <p>5. คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทำขึ้น <p> สิ่งต่างๆ ข้างต้น ไม่ถือว่าเป็นงานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดอาจทำซ้ำ ดัดแปลงหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ <p>การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ระบุข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับงานดำเนินงานของห้องสมุดหลายมาตรา มีทั้ืงบทเฉพาะเกี่ยวกับการทำซ้ำโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุด (มาตรา 34) บทบัญญัติทั่วไปสำหรับการพิจารณาข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์งานประเภทต่างๆ (มาตรา 32 และมาตรา 33) และบทบัญญัติเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์เฉพาะประเภท (มาตร 35 ถึง 42) แต่ตัวบทกฎหมายนี้ก็ไม่ได้บัญญัติชัดเจนพอที่จะอ่านแล้วชี้ชัดได้ว่าการกระทำอย่างใดขนาดใดจะถือว่าต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ. "กฎหมายลิขสิทธิ์กับงานห้องสมุด" หน้า 5-25 ใน เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง ลิขสิทธิ์ในงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Copyright pageหน้าลิขสิทธิ์, Example: หน้าลิขสิทธิ์ อยู่ด้านหลังหน้าปกใน ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจดลิขสิทธิ์ หนังสือภาษาอังกฤษจะมีสัญลักษณ์ © เพื่อให้ทราบว่าเป็นปีลิขสิทธิ์ ซึ่งหมายถึง หนังสือเล่มนี้หรือผลงานนี้ได้จดลิขสิทธิ์และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ห้ามผู้อื่นคัดลอกหรือเลียนแบบโดยมิได้รับอนุญาต ระบุข้อความให้ทราบการสงวนลิขสิืทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์ รวมทั้งข้อความเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ และข้อมูลเกี่ยวกับการพิมพ์การจำหน่าย เช่น สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ เป็นต้น และมักจะปรากฏข้อมูล CIP (Cataloging in Publication) อยู่ด้วย <p> <p>ตัวอย่าง <p>Copyright © 2004 by the American Library Association. All rights reserved except those which may be granted Section 107 and 108 of the Copyright Revision Act of 1976. <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120907-Copyright-Page_0.jpg" width="500" higth="100" alt="CopyrightPage1"> <p>จากหนังสือ Protecting your library's digital sources : the essential guide to planning and preservation <p> <p> ส่วนหนังสือภาษาไทยมักจะใช้คำว่า "สงวนลิขสิทธิ์" ข้อมูลการสงวนลิขสิืทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์ รวมทั้งข้อความเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ และข้อมูลเกี่ยวกับการพิมพ์การจำหน่าย เช่น สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ เป็นต้น และมักจะปรากฏข้อมูล CIP (Cataloging in Publication) อยู่ด้วย <p> <p>ตัวอย่าง <p>สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ © พ.ศ. 2554 โดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) ห้ามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ทำซ้ำ จัดพิมพ์ หรือกระทำอื่นใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ เพื่อเผยแพร่ในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาต <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120907-Copyright-Page2.jpg" width="500" higth="100" alt="CopyrightPage2"> <p>จากหนังสือ พูดดีไม่ต้องเพาเวอร์พอยต์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Copyright infringementการละเมิดลิขสิทธิ์, Example: <p>การละเมิดลิขสิทธิ์ หมายถึงการนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ เผยแพร่ ดัดแปลง ทำซ้ำ โดยผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่อนุญาตหรือไม่ได้รับทราบ ซึ่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ เป็นกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ การนำผลงานมาใช้อาจมีเงื่อนไขบางประการเรียกว่าสัญญาอนุญาต ซึ่งกำหนดโดยเจ้าของผลงานหรือกำหนดตามกฎหมาย เมื่อไม่ทำตามเงื่อนไขจึงถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>สนธิสัญญาระหว่างประเทศที่มีจุดประสงค์มุ่งให้ความคุ้มครองในเรื่องลิขสิทธิ์ และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น สนธิสัญญากรุงเบิร์น สนธิสัญญาลิขสิทธิ์ และสนธิสัญญาการแสดงและสิ่งบันทึกเสียง นอกจากสนธิสัญญาแล้ว ยังมีองค์กรที่ให้การคุ้มครองเพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น องค์การการค้าโลก และกรมทรัพย์สินทางปัญญา <p>สำหรับประเทศไทย ได้มีการออกพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 บังคับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ มาตรา 27 ระบุว่าการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 15 (5) ให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน <p>มาตรา 15 ภายใต้บังคับมาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 14 เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่ผู้เดียว ดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน (3) ให้เช่าต้นฉบับ หรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง (4) ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น (5) อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะกำหนดในลักษณะที่เป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมไม่ได้ การพิจารณาว่าเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง (5) จะเป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมหรือไม่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง <p>อย่างไรก็ตาม การละเมิดลิขสิทธิ์ มีข้อยกเว้นในประเด็นเรื่อง การใช้โดยเป็นธรรม หรือ การใช้โดยชอบธรรม (Fair use) ที่เป็นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลทั่วไปมีสิทธิพิเศษที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิ์ หากการใช้นั้นเป็นการใช้ที่เป็นธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างดุลยภาพระหว่างการปกป้องผลประโยชน์อันชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธิ์ และการรักษาประโยชน์ของสาธารณชนในอันที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ ซึ่งหลักการว่าด้วยดุลยภาพนี้เป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมายลิขสิทิ์ของทุกประเทศ โดยมีความมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้เกิดการสร้างงานที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคม และให้สังคมสามารถใช้งานนั้นได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของผู้สร้างสรรค์งาน การจะเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ และเข้าข่ายการใช้โดยเป็นธรรม (Fair use) จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือ เป็นการกระทำเพื่อการวิจัยหรือศึกษางานนั้น การกระทำนั้นมิได้เป็นการกระทำเพื่อหากำไร และการกระทำนั้นไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Copyrightลิขสิทธิ์ [เศรษฐศาสตร์]
World Intillectual Property Organization Copyright treaty (1996)สนธิสัญญาลิขสิทธิ์ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (ค.ศ. 1996) , สนธิสัญญาลิขสิทธิ์ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (ค.ศ. 1996) [TU Subject Heading]
Copyrightลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading]
Copyright and electronic data processingลิขสิทธิ์กับการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Copyright infringementการละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading]
Copyright, Internationalลิขสิทธิ์ระหว่างประเทศ [TU Subject Heading]
Fair use (Copyright)การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ [TU Subject Heading]
Intellectual property infringementการละเมิดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา [TU Subject Heading]
Pirated editionsฉบับละเมิดลิขสิทธิ์ [TU Subject Heading]
Public domain (Copyright law)สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (กฎหมายลิขสิทธิ์) [TU Subject Heading]
Intellectual Propertyทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต]
Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rightsหมายถึง สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า เช่น เครื่องหมายการค้า (trademark) ลิขสิทธิ์ (copyrights) และสิทธิบัตร (patent) เป็นต้น [การทูต]
World Intellectual Property Organizationองค์การเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกี่ยวกับการค้า ถือกำเนิดจากอนุสัญญากรุงปารีส ปี ค.ศ. 1883 และอนุสัญญากรุงเบอร์นส์ ปี ค.ศ. 1886 ว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมอนุสัญญาจัดตั้งองค์การเกี่ยวกับ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับการค้านี้ ได้มีการลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1967 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งของสหประชาชาติ และมีประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การแล้วรวม 155 ประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการให้ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ทั่วโลกได้รับการธำรงรักษาและเพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อจะกระตุ้นให้มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและวัฒนธรรม และเอื้ออำนวยต่อการถ่ายทอดวิทยาการเทคโนโลยี รวมทั้งให้เผยแพร่งานวรรณกรรม และศิลปกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และทรัพย์สินทางลิขสิทธิ์กับสิทธิที่ใกล้เคียงองค์การมีสำนักเลขาธิการตั้ง อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตำแหน่งหัวหน้าขององค์การนี้ เรียกว่า ผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งขณะนี้ได้แก่ Dr.Arpad Bogsch [การทูต]
Copyrightลิขสิทธิ์ [การบัญชี]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
A month ago he bought the movie rights to this book, a best-seller.เดือนที่ผ่านมาเขาซื้อลิขสิทธิ์ภาพยนตร์ไปกับหนังสือเล่มนี้ผู้ขายที่ดีที่สุด The Godfather (1972)
Alik Zapadny of VAAP, the all-suffocating Soviet Copyright Agency.Alik ตะวันตกของ VAAP, ทุกหอบโซเวียตลิขสิทธิ์สำนักงาน The Russia House (1990)
- We reserved a car.- เราลิขสิทธิ์รถ Pulp Fiction (1994)
We've already sold the film rights to his new book... as well as publication rights in eighteen languages...เรากำลังขายลิขสิทธิ์หนังสือเล่มใหม่ของเขา ให้กับบริษัทภาพยนตร์ อีกทั้งลิขสิทธิ์ในการแปลอีกสิบแปดภาษา In the Mouth of Madness (1994)
And we don´t take kindly to any unauthorized criminal activities.และเราไม่ขายช่วงลิขสิทธิ์โหดให้ใคร คุณเข้าใจผิดมั้ง Nothing to Lose (1997)
A patent number.เบอร์ลิขสิทธิ์ Inspector Gadget 2 (2003)
In fact an AOL/Time Warner subsidiary holds the copyright.เป็นลิขสิทธิ์ของบรรษัท ความจริงก็คือ บริษัทสาขาของ AOL/ไทม์วอร์เนอร์เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพลง ๆนี้ The Corporation (2003)
We didn't pay.เราไม่ได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ The Corporation (2003)
We stopped the third world being viewed as the pirate and we showed the corporations were the pirate.เราหยุดยั้งการทำให้โลกที่สามถูกมองว่าเป็นผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ และเปิดโปงให้เห็นว่า บรรษัทต่างหากที่เป็นโจร The Corporation (2003)
Yeah, you can. Right here.ใช่, คุณสามารถ\ลิขสิทธิ์ที่นี่. Black Snake Moan (2006)
Old Miss Ella Mae done you right, didn't she?อายุ นางสาว อีลล์ เมษ์ เสร็จคุณลิขสิทธิ์, \ใช่ไหมละ? Black Snake Moan (2006)
Mode would let anyone else publish your amazing piece.จริงๆแล้ว ผมตั้งใจจะเสนอค่าลิขสิทธิ์ให้คุณสองเท่าด้วยซ้ำ Grin and Bear It (2007)
That's plagiarism.แต่ว่านั่นมันละเมิดลิขสิทธิ์นะ Music and Lyrics (2007)
TM.สงวนลิขสิทธิ์ The Love Guru (2008)
TM.สงวนลิขสิทธิ์ The Love Guru (2008)
TM.สงวนลิขสิทธิ์ The Love Guru (2008)
TM.สงวนลิขสิทธิ์ The Love Guru (2008)
Yes! "Gee, you are you." TM.ใช่ \"โอ คุณคือคุณ\" สงวนลิขสิทธิ์ The Love Guru (2008)
I can say "cock. " You don't own the word. Cock.ฉันสามารถพูดได้ จดลิขสิทธิ์หรือไง The Ugly Truth (2009)
Are you out of your...เธอไม่ได้ทำลิขสิทธิ์ ถือว่าได้รับคำขอโทษจากเธอ Episode #1.12 (2009)
You're being accused of intentionally breaching security, violating copyrights, คุณถูกกล่าวหาว่า ตั้งใจละเมิดระบบรักษาความปลอดภัย ละเมิดลิขสิทธิ์ The Social Network (2010)
We tried to sell the company to pay the 35 million they said we owed in royalties, but I guess to them that was a little like selling a stolen car to pay for the stolen gas.เราพยายามขายบริษัท35ล้าน เอามาจ่ายค่าลิขสิทธิ์ แต่ฉันว่าสำหรับพวกเขา มันก็เหมือนอัฐยายซื้อขนมยาย The Social Network (2010)
No copyright notice on it.มันไม่มีลิขสิทธิ์เขียนไว้เลย The Precious Fragmentation (2010)
And elsewhere, in what we now call a multiverse, inflation would go on, and only later, more pocket universes would form.สิ่งที่มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น คือจะหยุดในบางสถานที่ และผู้นั้นกลายเป็นจักรวาล และที่อื่น ๆ ในสิ่งที่เราเรียกลิขสิทธิ์, Is There a Creator? (2010)
The point is that if there really is a multiverse, we would be living in just one of these many pocket universes.ที่เกิดขึ้นทั้งหมด โดยกระบวนการนี้ ที่เราเรียกว่านิรันดร์เงินเฟ้อ ประเด็นก็คือว่าถ้ามี จริงๆเป็นลิขสิทธิ์, Is There a Creator? (2010)
Maybe electromagnetism is weaker, and perhaps gravity is way more powerful.แต่แต่ละจักรวาลกระเป๋า ในลิขสิทธิ์ของอลัน อาจจะมีความสมดุลที่แตกต่าง กันอย่างสมบูรณ์ของกองกำลัง Is There a Creator? (2010)
That's proprietary software.ซอฟท์แวร์ลิขสิทธิ์นั่น Kill Jill (2010)
Digital single?ดิจิตอลซิงเกิลเหรอ ( ดิจิตอลซิงเกิล คือเพลงที่มีไว้ให้โหลดทางอินเตอร์เนตอย่างถูกลิขสิทธิ์) Episode #1.9 (2010)
Copyright...ลิขสิทธิ์หรือค่ะ... Episode #1.13 (2010)
I got FBI, Bangkok P.D., Interpol, MSNBC.หนีทั้งเอฟบีไอ ตำรวจกรุงเทพ ตำรวจสากล ตำรวจตรวจลิขสิทธิ์ The Hangover Part II (2011)
- You did 10 years for video piracy? - Yeah.แกติดคุกสิบปีคดีละเมิดลิขสิทธิ์ Horrible Bosses (2011)
So you just call yourself a video pirate, right? Pirating the high seas of videocy?แกบอกว่าเป็นโจรแอบถ่าย แค่โจรละเมิดลิขสิทธิ์ Horrible Bosses (2011)
Well, I hold in my hand a cease and desist letter from the band.คือ.. ที่ครูถืออยู่นี่คือจดหมาย เตือนทางกฏหมายในเรื่องของลิขสิทธิ์จากวง Original Song (2011)
Basically, I recall the whole multiverse being out in front of me.โดยทั่วไปฉันจำทั้งลิขสิทธิ์ การออกในด้านหน้าของฉัน Is There Life After Death? (2011)
It was very clear that love was a huge part of the constituent of that whole multiverse.มันเป็นที่ชัดเจนมากว่าความรักเป็น ส่วนใหญ่ ของส่วนประกอบของว่าทั้งลิขสิทธิ์ Is There Life After Death? (2011)
The legacy your father intended for you.ลิขสิทธิ์ที่พ่อตั้งใจจะให้เธอ Pandora (2011)
You violated our copyright.คุณละเมิดลิขสิทธิ์เรา The Hot Potato Job (2011)
Sean looked for an explanation of this imbalance of time, and he found it in the multiverse.ฌอนมองหาคำอธิบาย จากความไม่สมดุลของเวลานี้ และเขาพบมันในลิขสิทธิ์ Does Time Really Exist? (2011)
Sean's multiverse theory has attracted a lot of attention since it was introduced.ทฤษฎีลิขสิทธิ์ของฌอน ได้ดึงดูดความสนใจมากเพราะมัน ได้รับการแนะนำ Does Time Really Exist? (2011)
Quantum mechanics and the multiverse theory give us interesting ways to grapple with the riddle of time.กลศาสตร์ควอนตัมและทฤษฎี ลิขสิทธิ์ ให้เราวิธีที่น่าสนใจที่จะต่อสู้กับ ปริศนาของเวลา Does Time Really Exist? (2011)
Diana, copyright infringement.ไดอาน่า เอาคดีละเมิดลิขสิทธิ์ไป Dentist of Detroit (2011)
The only way we can ask the question about the origins of the Universe is if we have a multiverse structure from which our Universe is born, a landscape of many possible places in this multiverse where the Universe can start from.วิธีเดียวที่เราสามารถถามคำถาม เกี่ยวกับต้นกำเนิดของจักรวาล คือถ้าเรามีโครงสร้างลิขสิทธิ์ Is There an Edge to the Universe? (2011)
You can think of this multiverse landscape as the biggest hotel you can imagine, a hotel with 10 to the power of 500 rooms, each one waiting for a guest to check in.คุณสามารถคิดของภูมิทัศน์ลิขสิทธิ์นี้ เป็นโรงแรมที่ใหญ่ที่สุดที่คุณ สามารถจินตนาการ โรงแรมที่พักรีสอร์ทกับ 10 ถึงพลัง ของ 500 ห้อง, Is There an Edge to the Universe? (2011)
Until about three, four years ago, we knew nothing of the multiverse.จนกระทั่งประมาณสามสี่ปีที่ผ่านมา เราไม่รู้อะไรเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ Is There an Edge to the Universe? (2011)
Technology is helping us find signatures of the existence of the multiverse.เทคโนโลยีจะช่วยให้เราหาลายเซ็น การดำรงอยู่ของลิขสิทธิ์ Is There an Edge to the Universe? (2011)
Our Universe itself, once assumed to be infinite, might have to shrink down and take its rightful place as a humble member of a truly giant multiverse, a multiverse filled with Universes beyond our wildest imaginations.จักรวาลของเราเองเมื่อถือว่าเป็นที่ สิ้นสุด อาจจะมีการหดตัวลงและใช้สถานที่ ที่ถูกต้อง ในฐานะสมาชิกคนอ่อนน้อมถ่อมตน ของลิขสิทธิ์อย่างแท้จริงยักษ์ Is There an Edge to the Universe? (2011)
And, uh, what's happening with the film rights to the book?แล้ว เกิดอะไรขึ้นกับ ลิขสิทธิ์หนังของหนังสือคุณ The Fasting and the Furious (2011)
Listen, I just had breakfast with my friend Serena, who asked about the movie rights, and I'd love to give them to her.ฟังนะ ฉันเพิ่งกินอาหารเช้ามา กับเพื่อนของฉัน เซรีน่า เธอถามถึงลิขสิทธิ์ทำหนัง และผมอยากจะให้เธอได้มันไป The Fasting and the Furious (2011)
Unh-unh. You are not locking down film rights with somebody just because they're your friend.นี่ คุณไม่ควรให้ลิขสิทธิ์หนังกับใครก็ได้ The Fasting and the Furious (2011)
We should have Dan's book later today.เราจะไ้ด้ลิขสิทธิ์จากแดน หลังจากวันนี้แน่นอน The Fasting and the Furious (2011)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การคุ้มครองลิขสิทธิ์[kān khumkhrøng likkhasit] (n, exp) EN: copyright protection
การละเมิดลิขสิทธิ์[kān lamoēt likkhasit] (n, exp) EN: infringement of copyright
ค่าลิขสิทธิ์[khā likkhasit] (n, exp) EN: copyright fee  FR: droits d'auteur [ mpl ]
ขโมยลิขสิทธิ์[khamōi likkhasit] (v, exp) FR: plagier
กฎหมายลิขสิทธิ์[kotmāi likkhasit] (n, exp) EN: copyright law ; copyright act  FR: loi sur le droit d'auteur [ m ]
ลิขสิทธิ์[likkhasit] (n) EN: copyright  FR: droit d'auteur [ m ] ; copyright [ m ]
งานอันมีลิขสิทธิ์[ngān an mī likkhasit] (n, exp) EN: copyright work
เงินค่าลิขสิทธิ์[ngoen khā likkhasit] (n, exp) EN: royalties  FR: royalties [ fpl ] (anglic.)
สงวนลิขสิทธิ์[sa-ngūan likkhasit] (v, exp) EN: reserve the copyright
สงวนลิขสิทธิ์[sa-ngūan likkhasit] (v, exp) EN: all rights reserved  FR: tous droits réservés
สงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด[sa-ngūan likkhasit thangmot] (v, exp) EN: all rights reserved

English-Thai: Longdo Dictionary
memory stick(n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
copyright(adj) ซึ่งมีการคุ้มครองลิขสิทธิ์, Syn. copyrighted
copyright(vt) ปกป้องลิขสิทธิ์
copyright(n) ีลิขสิทธิ์, Syn. right of first publication
piracy(n) การละเมิดลิขสิทธิ์, Syn. cheating, copying
pirate(vt) ละเมิดลิขสิทธิ์
pirate(n) ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์, See also: ผู้ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น
royalty(n) ค่าลิขสิทธิ์
shareware(n) ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
copy protectionการป้องกันการคัดลอกหมายถึง วิธีการป้องกันไม่ให้ผู้ใดสามารถคัดลอกได้ ผู้เขียนโปรแกรมมักพยายามทำทุกวิถีทางที่จะกันไม่ให้ผู้หนึ่งผู้ใด มาคัดลอกโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่เขาสร้างขึ้นไว้ เช่นใช้อุปกรณ์ปิดกั้น หรือซ่อนแฟ้มข้อมูลบางแฟ้มไม่ให้มองเห็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีกฎหมายในเรื่องของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ออกมาแล้ว ผู้ที่จะคัดลอกก็จะต้องระมัดระวังในเรื่องการคัดลอกนี้มากขึ้น
copyright(คอพ'พีไรทฺ) n. ลิขสิทธิ์. adj. ซึ่งได้รับการคุ้มครองโดยลิขสิทธิ์, See also: copyrightable adj. ดูcopyright copyrighter n. ดูcopyright
freewareฟรีแวร์ของฟรีหมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่แม้จะจดทะเบียนลิขสิทธิ์เอาไว้ แต่ก็ยินยอมให้มีการคัดลอกเอาไปใช้ได้อย่างเสรี โดยไม่คิด เงิน (ต่างกับ public domain ซึ่งไม่มีการจด ทะเบียนใด ๆ เลย ใครจะคัดลอกหรือนำไปใช้ ก็สามารถทำได้ทั้งสิ้น)
linux(ลีนุกซ์) ระบบปฏิบัติการคล้ายระบบยูนิกซ์ (UNIX like operating system) ของคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง แก่นของระบบถูกเขียนขึ้นโดย ลีนุส ทรอวัลด์ และเขาได้ทำการเผยแพร่ไปทางอินเตอร์เน็ต จนเป็นที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน สามารถแจกจ่ายทำซ้ำได้โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ์ ใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้งานร่วมกันหลายราย (multiusers) มี่โปรแกรมสำเร็จรูปจำนวนมากที่เขียนภายใต้ระบบนี้ ดู DOS, UNIX, GUI, Linus, Linus Torvald ประกอบ
packaged programโปรแกรมสำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ใช้หมายถึง application package ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯ
pds(พีดีเอส) ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรี หมายถึงผู้สร้างซอฟต์แวร์นั้น ๆ ยินยอมให้คนทั่วไปคัดลอกไปใช้ได้ ไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ดู public domain ประกอบ
pentium(เพนเทียม) หมายถึง ชิป (chip) แบบใหม่ล่าสุดที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี ผลิตโดยบริษัท Intel ชิปรุ่นนี้ทำงานได้เร็วกว่า และมีสมรรถนะสูงกว่ารุ่น 80486 มากมาย เดิมทีเดียว เขาจะใช้ชื่อ Intel 586 แต่เกี่ยวเนื่องด้วยเรื่องลิขสิทธิ์ ทำให้มิอาจใช้ชื่อนั้นได้จึงต้องตั้งชื่อใหม่ว่า pentium
piracy(ไพ'ระซี) n. การกระทำที่เป็นโจรสลัด, การปล้นความคิด, การละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของคนอื่น
pirate(ไพ'เรท) n. โจรสลัด, เรือโจรสลัด, ผู้ปล้นสะดม, ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของผู้อื่น. -vt., vi. ปล้นสะดม, กระทำพฤติกรรมที่เป็นโจรสลัด, ยักยอก, ละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรของผู้อื่น, พิมพ์บทประพันธ์ของคนอื่น, See also: piratical, piratic adj. pirati
public domainn. ที่ดินของรัฐ, สิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวรรณกรรมที่สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์หมดอายุ, สาธารณสมบัติ, ของสาธารณะหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นแล้วผู้สร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ มาคัดลอกนำไปใช้ได้ โดยไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เช่น โปรแกรม Cuwriter ในระบบเครือข่าย จะมีกลุ่มโปรแกรมกลุ่มหนึ่งเรียกว่า PDS ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรีต่าง ๆ ที่ใคร ๆ ก็สามารถคัดลอกไปใช้ได้
software packageส่วนชุดคำสั่งสำเร็จซอฟต์แวร์สำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ บางทีใช้สั้น ๆ ว่าpackage ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯมีความหมายเหมือน packaged program

English-Thai: Nontri Dictionary
copyright(n) ลิขสิทธิ์
copyright(vt) สงวนลิขสิทธิ์
piracy(n) การปล้นสะดมทางทะเล, การโจรกรรม, การละเมิดลิขสิทธิ์
pirate(n) โจรสลัด, ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
authorship(n) ผู้มีลิขสิทธิ์ตัวจริง (ศัพท์กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา)
deferred royalty(n) ค่าลิขสิทธิ์รอตัดบัญชี
Shrink Wrap Licenseสัญญาอนุญาตให้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีลักษณะเป็นสัญญาตัวอย่าง (Model Contract) เพื่อให้ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตใช้ลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวใช้เป็นแบบในการทำสัญญา

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
著作権費用[ちょさくけんひよう, chosakukenhiyou] (n) ค่าลิขสิทธิ์

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
著作権[ちょさくけん, chosakuken] (n) ลิขสิทธิ์
著作権[ちょさくけん, chosakuken] (n) ลิขสิทธิ์

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top