บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ)[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์]
การทำปลอดจุลินทรีย์ด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารประเภทเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทด้วยปริมาณรังสีสูงกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าจุลินทรีย์ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค หรือ จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย เพื่อให้อาหารนั้นเก็บรักษาได้นานหลายเดือนหรือเป็นปีที่อุณหภูมิห้อง อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อทำให้ปลอดจุลินทรีย์ เช่น เนื้อวัว เนื้อไก่งวงรมควัน อาหารสำหรับผู้ป่วย และอาหารสำหรับมนุษย์อวกาศ (ดู food irradiation ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์]
ผู้ป่วยสตรี[TU Subject Heading]
การรับและการจำหน่ายผู้ป่วย[TU Subject Heading]
การพยาบาลผู้ป่วยนอกสถานที่[TU Subject Heading]
ศัลยกรรมผู้ป่วยนอก[TU Subject Heading]
การดูแลผู้ป่วย[TU Subject Heading]
บุตรของผู้ป่วยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง[TU Subject Heading]
การปรุงอาหารสำหรับผู้ป่วย[TU Subject Heading]
การดูแลผู้ป่วยหนัก[TU Subject Heading]
การกำหนดอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยเบาหวาน[TU Subject Heading]
การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย[TU Subject Heading]
กลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วย[TU Subject Heading]
กลุ่มดูแลผู้ป่วย[TU Subject Heading]
บริการดูแลผู้ป่วยในเคหสถาน[TU Subject Heading]
การดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้าย[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยในโรงพยาบาล[TU Subject Heading]
หอผู้ป่วย[TU Subject Heading]
หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนัก[TU Subject Heading]
การซักประวัติผู้ป่วย[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยโรคจิต[TU Subject Heading]
การโมนิเตอร์ผู้ป่วย[TU Subject Heading]
พยาบาลกับผู้ป่วย[TU Subject Heading]
คลินิกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล[TU Subject Heading]
บริการผู้ป่วยนอก[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยนอก[TU Subject Heading]
บิดามารดาของผู้ป่วยภูมิคุ้มกันเสื่อม[TU Subject Heading]
การยอมรับการดูแลทางการแพทย์ของผู้ป่วย[TU Subject Heading]
การรับผู้ป่วย[TU Subject Heading]
สิทธิผู้ป่วย[TU Subject Heading]
การวางแผนดูแลผู้ป่วย[TU Subject Heading]
การให้การศึกษาผู้ป่วย[TU Subject Heading]
ความพอใจของผู้ป่วย[TU Subject Heading]
แพทย์กับผู้ป่วย[TU Subject Heading]
บริการของตำรวจสำหรับผู้ป่วยโรคจิต[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวช[TU Subject Heading]
นักจิตบำบัดกับผู้ป่วย[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยจิตเวช[TU Subject Heading]
การบรรเทาทุกข์ผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บ[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยจิตเภท[TU Subject Heading]
ผู้ป่วย[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยเด็ก[TU Subject Heading]
สังคมสงเคราะห์สำหรับผู้ป่วยใกล้ตาย[TU Subject Heading]
ผู้ป่วยใกล้ตาย[TU Subject Heading]
การลำเลียงผู้ป่วย[TU Subject Heading]