ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ฐ, -ฐ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ คำต้องห้าม | คำด่าเหล่านี้ผู้ใช้อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 393 ฐานดูุหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า: อีดอก, อีเหี้ย, อีสัตว์, อีควาย, อีตอแหล, ไอ้ระยำ, ไอ้เบื๊อก, ไอ้ตัวแสบ, เฮงซวย, ผู้หญิงต่ำๆ, พระหน้าผี, พระหน้าเปรต, มารศาสนา, ไอ้หน้าโง่, อีร้อย...(ตามด้วยคำลามก), อีดอกทอง ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/scoop/287099 | ทิฟฟานี่ | [ทิฟฟานี่] (name) นักร้องจากประเทศเกาหลี ชื่อที่ใช้ในวงการ: ทิฟฟานี่ (เกาหลี: 티파니, Tiffany) ชื่ออังกฤษ: สเตฟานี่ ฮวัง (เกาหลี: 스테파니 황, Stephanie Hwang) ชื่อจริง: ฮวัง มิยอง (เกาหลี: 황미영, Hwang Miyoung) วันเกิด: 1 สิงหาคม ค.ศ. 1989 ส่วนสูง: 163 ซม. น้ำหนัก: 50 กก. กรุ๊ปเลือด: O ตำแหน่ง: นักร้องเสียงหลัก ระยะเวลาในการฝึก: 3 ปี 7 เดือน ฉายา: Spongebob Hwang, Fany Fany Tiffany, Human Jukebox, Mushroom, Tiffiana, JumFany, AjumNy, Ddilfany, Bam Fany เธอเกิดที่สหรัฐอเมริกา จุดเด่นอยู่ที่ตายิ้มแล้วรอยยิ้มที่แสนน่ารักของเธอเป็นสมาชิกวงGirls' Generation(SNSD)จากเกาหลีมีสมาชิกทั้งหมด9คน <a href="http://upic.me/show.php?id=2144b4a64be0d8b233ebd2aea98c7088" target="_blank"><img border="0" src="http://upic.me/i/7l/zl0.8460523_1_1.jpg"></a> | ผู้หญิงต่ำๆ, พระหน้าผี, พระหน้าเปรต, มารศาสนา, ไอ้หน้าโง่, อีร้อย..., อีดอกทอง | (colloq, vulgar) คำด่าเหล่านี้ผู้ใช้อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 393 ฐานดูุหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/scoop/287099 | อีดอก, อีเหี้ย, อีสัตว์, อีควาย, อีตอแหล, ไอ้ระยำ, ไอ้เบื๊อก, ไอ้ตัวแสบ, เฮงซวย | (colloq, vulgar) คำด่าเหล่านี้ผู้ใช้อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 393 ฐานดูุหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/scoop/287099 |
|
| ทิฏฐิวิบัติ | (n) misbelief; erroneous opinions; false theory |
| Bumiputera | (n) (การเมือง) ภูมิบุตร หมายถึง ชาวมาเลย์ที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน เช่น minimum 30% Bumiputera shareholding requirement หมายถึงจะต้องมีผู้ถือหุ้นเป็นชาวมาเลย์ดังกล่าวเกิน 30% ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด, See also: S. Bhumiputera | ตวน | [ตวน] (n) เจ้า เป็นฐานันดรศักดิ์เจ้านายมลายู เชื้อพระวงศ์มลายู หรือ เจ้าประเทศราชมลายู | ต่วน | [ต่วน] (n) เจ้า เป็นฐานันดรศักดิ์เจ้านายมลายู เชื้อพระวงศ์มลายู หรือ เจ้าประเทศราชมลายู | ต่วน | (n) ่ท่าน ใช้เพื่อให้เกียรติบุคคลธรรมดา ผู้ทรงเกียรติ หรือผู้รู้ศาสนา(เฉพาะบุคคล) ไม่ใช่ยศและไม่สืบทอดเหมือนฐานันดรเจ้านาย Example: อีหม่ามฮาซัน, ต่วนฮาซัน แปลว่า ท่านฮาซัน | ต่วนกู | [ต่วน-กู] ต่วนกู เป็นฐานันดรศักดิ์ของมลายูและเป็นชั้นยศสูงสุด หมายถึงพระเจ้าแผ่นดิน สุลต่าน ตลอดจนองค์ประมุขสูงสุดหรือองค์ประมุขแห่งรัฐ |
| Foreign Corrupt Practices Act | (n, uniq) รัฐบัญญัติว่าด้วยพฤติกรรมการคอร์รัปชั่นในต่างประเทศ, See also: R. FCPA | rechtsstaat | (n) ประเทศที่ใช้กฎหมายเป็นบรรทัดฐาน | trade terms | [เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า | กายัสถ์ | (n) น. สัตว์ประเสริฐ คือ พรหม | ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย | ฐยโฐฐม | [ถะ-ยะ-โถ-ถม] นักปราชญ์ผู้ริเริ่มสร้างยศฐาบรรดาศัดดิ์จนใหญ่โตสูงส่ง | ฐยโฐฐม | [ถะ-ยะ-โถ-ถม] (n) นักปราชญ์ผู้ริเริ่มสร้างยศฐาบรรดาศัดดิ์จนใหญ่โตสูงส่ง | นีร์ | [(นีระ-)] น. นํ้า. นีร- (นีระ-) น. นํ้า. นีรจร น. ปลาหรือสัตว์นํ้าอื่น ๆ. นีรช, นีรชะ (-รด, -ระชะ) น. บัว. นีรนาท ก. กึกก้อง เช่น ปฐพีนีรนาทหวาดไหว (คำพากย์), เนียรนาท ก็ใช้. | พืชเศรษฐกิจ | (n) エネルギー供給できる植物 | ภูวดิษฐ์ | [พู-วะ-ดิด] (name) คงไว้ซึ่งความยิ่งใหญ่ | ลิขสิทธิ์ | ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้. | ลิขสิทธิ์ | ข้อสังเกต ไม่ควรมีเนื้อหาข้างล่าง ในส่วนต้นของคำ 'ลิขสิทธิ์' เพราะ ไม่ใช่ definition / คำแปล / คำจำกัดความ: ไม่ควรวม 'ประดิษฐกรรม (invention)' ในความหมายของ ลิขสิทธิ์ เพราะ invention เป็นพื้นฐานความหมายของ 'patent (สิทธิบัตร)' นั่นหมายความว่า เมื่อคนไทยใช้คำว่า ลิขสิทธิ์ จะเกิดความสับสนว่า พูดถึง copyright หรือว่า patent. ปัญหาเกิดขึ้นได้. | อภิเชษฐ์ | [อะ-พิ-เชด] (n, vt) ความซาบซึ้ง, รู้สึกซาบซึ้ง, รู้สึกขอบคุณเป้นอย่างยิ่ง, See also: S. appreciate | อัครเศรษฐ์ | [อัก-คะ-ระ-เสด] (name) ชายผู้เป็นเศรษฐีผู้ยิ่งใหญ่ | เกียรติศักดิ์ เจริญสุข | [เกียรติศักดิ์ เจริญสุข] (n) เกียรติตามฐานะของแต่ละบุคคล.เจริญงอกงามในความสุข | แม่ง | [แม่ง] (slang) เป็นคำอุทานที่มักใช้พูดกันเวลาอารมณ์เสียหรือไม่พอใจในสิ่งที่เกิดขึ้น มีสันนิษฐานว่าเกิดมาจากการกล่อนคำของคำว่า แม่มึง แต่ไม่ได้ใ้ช้ในความหมายนี้ แต่เป็นเพียงแค่คำอุทาน ตัวอย่าง แม่งเอ้ย วันนี้ถูกหวยแดกอีกแล้วกู หรือในสมัยก่อนเวลาตกใจบางคนอาจจะอุทานว่า อุ๊ยแม่มึง!!! |
| rule of law | การบังคับใช้กฏหมายต้องมาตรฐานเดียวกัน | ประโยคพื้นฐาน | (phrase) kernel sentence | พืชเศรษฐกิจ | Cash Crop | พืชเศรษฐกิจ | (n) Industrial Crop | มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) | วันรัฐธรรมนุญ | Constitution day | วันรัฐธรรมนุญ | (n, uniq) Constitution day | วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ | (n, phrase) Principles of Economics | อิฐประสาน | interlocking brick |
| | วลัญช์ | [วะ-ลัน] (uniq) ประเสริฐ, เลิศ, ดีมาก |
| | หงส์ | (n) หํส (น. ปุ.) เสตจฺฉท (น. ปุ.) ธตรฏฺฐ (น. ปุ.) | หงส์ | (n) หํส (น.ปุ.), เสตจฺฉท (น.ปุ.), ธตรฏฺฐ (น.ปุ.) | หม่น | ค. อนาวิล, มลิน, มลีน, กิลินฺน, ลูข, อุปกิลิฏฺฐ, อีสํกณฺห, See also: S. หม่นหมอง, หม่นไหม้ |
| 三位一体改革 | (n) ปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ(เป็นนโยบายหลักนโยบายหนึ่งของอดีตนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ ซึ่งเป็นแนวนโยบายเพื่อการปฏิรูปเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสถานะทางการคลังขององค์กรปกครองท้องถิ่น ซึ่งแนวคิดของนโยบายนี้เสนอให้มีการปฏิรูปทั้งสามด้านพร้อมกันเป็นหนึ่งแพคเกจ ดังนั้นนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ จึงเรียกการปฏิรูปนี้ว่า"การปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ สามด้านที่ต้องปฏิรูปก็คือ การปฏิรูปเรื่องภาษีของท้องถิ่น การปฏิรูปเรื่องเงินอุดหนุนแบบให้เปล่าเพื่อประกันรายได้ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้ไม่เพียงพอ และการปฏิรูปด้านการให้เงินอุดหนุนแบบมีเงื่อนไข | 政権交代 | [せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้) |
| บิฐ | (n) stool, See also: bench, Syn. ตั่ง, Thai Definition: ที่นั่งชนิดหนึ่ง รูปสี่เหลี่ยม มีเท้า มีพนักอิงบ้าง ไม่มีบ้าง | ปฐม | (adj) first, See also: primary, initial, original, Syn. ประถม, ที่หนึ่ง, ทีแรก, เบื้องต้น, ฐาน, ขั้นแรก, เริ่มแรก, แรก, Ant. ท้าย, ปลาย, Example: พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ | รัฐ | (n) state, See also: country, nation, territory, realm, kingdom, land, Syn. แว่นแคว้น, บ้านเมือง, ประเทศ, Example: รัฐควรจัดหาทุนรอนมาส่งเสริมงานวิจัยทางด้านนี้มากๆ, Count Unit: รัฐ, Thai Definition: องค์กรซึ่งประกอบด้วยประชาชนในแว่นแคว้นเดียวกัน และอยู่ในปกครองของรัฐบาลเดียวกัน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อิฐ | (n) brick, Syn. ก้อนอิฐ, Example: ศาสนสถานของพุทธศาสนาฝ่ายมหายานจะสร้างเป็นแบบปราสาทก่อด้วยอิฐ หรือศิลาแลง ซึ่งได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบบายน, Count Unit: ก้อน, แผ่น, Thai Definition: ดินปั้นเป็นก้อนสี่เหลี่ยมแล้วเผาจนมีความแข็ง ใช้สำหรับก่อผนังหรือกำแพง | ฐาน | (n) base, See also: station, platform, Syn. ที่ตั้ง, ที่รองรับ, Example: ฐานยิงจรวดของสหรัฐอยู่ที่ฟลอริด้า, Count Unit: ฐาน, Notes: (บาลี) | ฐาน | (n) standard, See also: criterion, Syn. มาตรฐาน, บรรทัดฐาน, Example: ไม่มีใครบอกได้ว่าอะไรเป็นฐานในการวัดความยุติธรรม, Notes: (บาลี) | ฐาน | (conj) because of, Example: นายตำรวจถูกลงโทษ ฐานละเว้นหน้าที่, Notes: (บาลี) | ฐาน | (n) position, See also: status, Syn. ตำแหน่งหน้าที่, Example: ในฐานที่เป็นครู คุณต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้นักเรียน, Notes: (บาลี) | กฐิน | (n) Kathin, See also: religious ceremony of presenting robes to the Buddhist monks, Example: โรงเรียนพาคณะนักเรียนไปร่วมงานทอดกฐินที่วัดใกล้โรงเรียน, Thai Definition: ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ ไม้แบบสำหรับตัดจีวร | ฐานะ | (n) status, See also: condition, position, Syn. สถานะ, สถานภาพ, ชั้น, ระดับ, สภาพ, ขั้น, ตำแหน่ง, Example: ครอบครัวเขามีฐานะปานกลาง, Thai Definition: ลำดับความเป็นอยู่ในสังคม, Notes: (บาลี) | ฐิติ | (n) livelihood, See also: way of living, existence, Syn. การเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่ | ฐิติ | (n) regulation, See also: rule, law, Syn. ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ | ฐิติ | (n) stop, See also: being immovable, enduring forever, Syn. การหยุดอยู่ | ฐิติ | (n) location, See also: place, Syn. ตำแหน่ง, ที่อยู่ | ฐิติ | (n) certainty, See also: steadiness, permanent, Syn. ความแน่นอน | ฐิติ | (n) stability, See also: durability, endurance, Syn. ความมั่นคง, ความอดทน | ฐิติ | (n) certainty, See also: steadiness, permanent, Syn. ความแน่นอน | ฐิติ | (n) location, See also: place, Syn. ตำแหน่ง, ที่อยู่ | ฐิติ | (n) regulation, See also: rule, law, Syn. ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ, กฎบังคับ | ฐิติ | (n) stability, See also: durability, endurance, Syn. ความมั่นคง, ความอดทน | ฐิติ | (n) stop, See also: being immovable, enduring forever, Syn. การหยุดอยู่ | ทิฐิ | (n) conviction, See also: pride, stubbornness, obstinacy, Syn. ความถือดี, ความเย่อหยิ่ง, ความทระนง, ความอวดดื้อถือดี, Example: เขาเป็นคนแข็งกร้าว ไม่ยอมลดทิฐิของตน, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ปฐพี | (n) earth, See also: land, soil, Syn. พสุธา, แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้นดิน, ธรณี, ปถพี, Example: บนพื้นปฐพีไม่มีใครเสมอเขา | ปาฐก | (n) lecturer, See also: speaker, Example: ตอนเย็นก็มีรายการปาฐกถาเกี่ยวกับพระองค์ท่านที่หอสมุดแห่งชาติโดยที่ปาฐกพูดที่สยามสมาคมมาก่อนแล้วเป็นภาษาอังกฤษ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้พูด, ผู้บรรยาย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | มุฐิ | (n) fist, See also: clenched fist, punch, Syn. กำหมัด, กำปั้น, กำมือ | อัฏฐ | (n) eight, Syn. แปด, Notes: (บาลี) | ฐิติ | (n) livelihood, See also: way of living, existence, Syn. การเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่ | ขนิษฐ | (n) younger sister, See also: younger brother, Syn. น้อง, ขนิษฐา | พิสิฐ | (adj) excellent, See also: superfine, superior, Syn. ประเสริฐ, วิเศษ | พิเชฐ | (adj) most prosperous, See also: most excellent, Thai Definition: ที่เจริญที่สุด, ที่ประเสริฐที่สุด | มลรัฐ | (n) state, See also: province, Syn. รัฐ, Example: เขาทั้งสองได้ทำการทดลองบินที่ชายฝั่งทะเลของมลรัฐแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา, Count Unit: มลรัฐ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | วิสิฐ | (adj) excellent, See also: superb, best, chief, paramount, Syn. เลิศ, ยอดเยี่ยม, เด่น, ดียิ่ง, ประเสริฐ | โอษฐ์ | (n) mouth, Syn. ปาก, Notes: (ราชา) | โอษฐ์ | (n) lips, Syn. ริมฝีปาก, Notes: (ราชา) | ไพสิฐ | (adj) excellent, Syn. ประเสริฐ, วิเศษ, ดีเลิศ, ดียิ่ง | กนิษฐา | (n) younger sister, See also: younger brother, Syn. น้อง, Example: เจ้าชายมีพระกนิษฐา 1 องค์, Count Unit: องค์ | ก่ออิฐ | (v) brick, See also: lay bricks, Example: ก่อนก่ออิฐต้องนำอิฐไปจุ่มน้ำ หรือราดน้ำให้เปียกชุ่มเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อกันไม่ให้อิฐแย่งน้ำ | ขนิษฐา | (n) younger sister, See also: younger brother, Syn. น้อง, ขนิษฐ | ฐานทัพ | (n) military base, Example: อเมริกาตัดสินใจถอนฐานทัพออกจากฟิลิปปินส์, Count Unit: ฐาน, แห่ง, Thai Definition: ที่ตั้งกองทัพ | ฐานราก | (n) foundation, See also: base, groundwork, Syn. โครงสร้างรองรับ, Example: อาคารนี้มีฐานรากมั่นคงมาก, Thai Definition: โครงสร้างใต้ดิน ทำหน้าที่รับน้ำหนักโครงสร้างส่วนบนของอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ | ทาฐิกะ | (n) beard, See also: moustache, whisker, Syn. ทาฒิกะ, เครา, หนวด, Count Unit: เส้น, Notes: (บาลี/สันสกฤต), (ราชา) | ธนิษฐา | (n) name of the twenty-third fired star, Syn. ดาวกา, ดาวไซ, ดาวศรวิษฐา, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวฤกษ์ที่ 23 | นครปฐม | (n) Nakhon Pathom, Syn. จังหวัดนครปฐม, Count Unit: จังหวัด, Thai Definition: ชื่อจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยอยู่ทางภาคกลาง | นครรัฐ | (n) city-state, Thai Definition: เมืองที่ปกครองตนเองเป็นอิสระ | ปฐมฌาน | (n) first stage of Buddhist meditation, See also: primary instincts, first absorption, initial stage of instinct, Syn. ฌานเบื้องต้น, Example: องค์ของสมาธิอันดับแรกเรียกว่าปฐมฌาน, Thai Definition: ฌานเบื้องต้น ได้แก่ ฌานที่ 1 มีองค์ 5 คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคตา | ปฐมยาม | (n) primary period, See also: first watch, 6 p.m.-9 p.m., first three hours of the night, Syn. ยามต้น, ยามแรก, Thai Definition: ยามแรก กำหนดเวลา 4 ชั่วโมงตั้งแต่ย่ำค่ำ หรือ 18 นาฬิกา ถึง 4 ทุ่ม หรือ 22 นาฬิกา | ปฐมวัย | (n) childhood, See also: youth, Syn. วัยต้น, วัยเด็ก, วัยเยาว์, Ant. วัยผู้ใหญ่, วัยชรา, Example: เจ้าคุณที่วัดได้เลี้ยงดูอุ้มชูข้าพเจ้ามาแต่ปฐมวัย, Notes: (บาลี) | ปาฐกถา | (n) speech, See also: sermon, lecture, Syn. คำปาฐกถา, Example: เมื่อกลับมาแล้วท่านให้พวกเราเที่ยวพูดปาฐกถาอภิปรายในแง่ต่างๆ แสดงถึงความสำคัญของเมืองสุโขทัยโบราณ, Count Unit: ครั้ง, คราว, Thai Definition: ถ้อยคำหรือเรื่องราวทางวิชาการที่กล่าวหรือบรรยายในที่ชุมนุมหรือในห้องเรียนขั้นอุดมศึกษา | ปาฐกถา | (v) lecture, See also: make a speech, Syn. บรรยาย, Example: นักวิชาการกำลังปาฐกถาเรื่องบทบาทของนักวิชาการต่อการบริหารประเทศ, Thai Definition: การกล่าวถ้อยคำหรือเรื่องราวทางวิชาการที่กล่าวหรือบรรยายในที่ชุมนุมหรือในห้องเรียนขั้นอุดมศึกษา, Notes: (บาลี) | พับฐาน | (v) give up, See also: defeated, Example: นักมวยฝ่ายโน้นพับฐานกลับบ้านแทบไม่ทัน, Thai Definition: แพ้อย่างราบคาบ, Notes: (ปาก) |
| กฎหมายรัฐธรรมนูญ | น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย. | กฐิน, กฐิน- | (กะถิน, กะถินนะ-) น. ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร | กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). | กฐินทาน | (กะถินนะทาน) น. การทอดกฐิน. | กฐินัตถารกรรม | (กะถินัดถาระกำ) น. การกรานกฐิน. | กฐินัตถารกรรม | ดู กฐิน, กฐิน-. | กนิษฐ-, กนิษฐ์ | (กะนิดถะ-, กะนิด) ว. “น้อยที่สุด”, (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. | กนิษฐภคินี | น. น้องสาว, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกนิษฐภคินี. | กนิษฐภาดา | น. น้องชาย, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกนิษฐภาดา. | กนิษฐา | น. น้องสาว | กนิษฐา | น้องสาว | กนิษฐา | นิ้วก้อย | กนิษฐา | ใช้ว่า พระกนิษฐา. | กรรฐ์, กรรฐา | (กัน, กันถา) น. คอ. (เทียบ ข. กรฺฐ ว่า คอ). | กรรมฐาน | (กำมะถาน) น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. | กรานกฐิน | (-กะถิน) ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา, ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน, สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า . (อุปสมบทวิธี). (ดู กฐิน). | ก่ออิฐถือปูน | ก. ก่ออิฐและฉาบปูนทับ. | ก่ออิฐเปลือย | ก. ก่ออิฐโดยไม่ฉาบปูน. | กัฐ | น. ไม้ฟืน | กัฐ | ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). | กัณฏกะ, กัณฐกะ ๑ | (กันตะกะ, กันถะกะ) น. หนาม. | กัณฐ-, กัณฐา | (กันถะ-) น. คอ. | กัณฐชะ | น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดที่เพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดที่เส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. | กัณฐกะ ๒ | (กันถะกะ) น. เครื่องประดับคอ เช่น คางเพลาคือกลวิมลกัณ- ฐกก่องคือแสงสรวล (สมุทรโฆษ). | กัณฐัศ, กัณฐัศว์ | (กันถัด) น. ชื่อม้าตระกูลหนึ่ง, ในบทกลอนใช้เรียกม้าทั่วไป. | กัณฐี | (กันถี) น. เครื่องประดับคอ เช่น แก้วกัณฐีถนิมมาศนั้น (ม. คำหลวง มหาราช). | กัมมัฏฐาน | ดู กรรมฐาน. | กาฐ | (กาด) น. ไม้ฟืน เช่น คือโกยกาฐอันกองแลนองธรณิภาค กลาดกล่นถกลหลาก อนันต์ (สรรพสิทธิ์) | กาฐ | ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด) | กาฐ | กาษฐะ ก็ใช้. | กาษฐะ | (กาดสะถะ) น. ไม้ฟืน | กาษฐะ | ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). | กุฏฐัง | น. โรคเรื้อน. (ดู เรื้อน). | โกฐ | (โกด) น. ชื่อเครื่องยาสมุนไพรจำพวกหนึ่ง ได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช มีหลายชนิด คือ โกฐทั้ง ๕ ได้แก่ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา, โกฐทั้ง ๗ เพิ่ม โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว, โกฐทั้ง ๙ เพิ่ม โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี, และมีโกฐพิเศษอีก ๓ ชนิด คือ โกฐกักกรา โกฐกะกลิ้ง และโกฐนํ้าเต้า, ตำรายาแผนโบราณเขียนเป็น โกฎ โกฏ โกฏฐ์ โกด หรือ โกษฐ์ ก็มี. | โกฐกระดูก | น. ชื่อเรียกเหง้าแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Saussurea lappa C. B. Clarke ในวงศ์ Compositae. | โกฐกะกลิ้ง | น. ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของต้นแสลงใจ ( Strychnos nux-vomica L.) ในวงศ์ Strychnaceae. | โกฐกักกรา | น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Anacyclus pyrethrum (L.) DC. ในวงศ์ Compositae. | โกฐก้านพร้าว | น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Picrorhiza kurroa Royle ex Benth. ในวงศ์ Scrophulariaceae, โกฐก้านมะพร้าว ก็เรียก. | โกฐเขมา | (-ขะเหฺมา) น. ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Atractylodes วงศ์ Compositae เช่น ชนิด A. lancea (Thunb.) Dc., โกฐหอม ก็เรียก. | โกฐจุฬาลัมพา, โกฐจุฬาลำพา | น. ชื่อเรียกเรือนยอด (แห้ง) ที่กำลังมีดอกของพืช ๓ ชนิด ในสกุล Artemisia วงศ์ Compositae เช่น ชนิด A. annua L., A. vulgaris L. | โกฐชฎามังษี, โกฐชฎามังสี | น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Nardostachys jatamansi DC. ในวงศ์ Valerianaceae. | โกฐเชียง | น. ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Angelica sinensis (Oliv.) Diels และชนิด Livisticum officinale W. D. J. Koch. ในวงศ์ Umbelliferae. | โกฐน้ำเต้า | น. ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของพืช ๖ ชนิด ในสกุล Rheum วงศ์ Polygonaceae เช่น ชนิด R. officinale Baill., R. palmatum L. | โกฐพุงปลา | น. ชื่อเรียกสิ่งที่นูนปูดขึ้นมาตามกิ่งและใบของไม้ต้นหลายชนิดในสกุล T erminalia วงศ์ Combretaceae เช่น สมอไทย ( T. chebula Retz.), อีสานเรียก ปูดกกส้มมอ. | โกฐสอ | น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Angelica วงศ์ Umbelliferae เช่น ชนิด A. sylvestris L., A. glabra Makino. | โกฐหอม | ดู โกฐเขมา. | โกฐหัวบัว | น. ชื่อเรียกเหง้า ราก ใบ และดอกแห้งของไม้ล้มลุก ๓ ชนิด ในวงศ์ Umbelliferae คือ ชนิด Cnidium officinale Makino, Conioselinum univittatum Turcz. ex H. Karsten et Kirilow และ Ligusticum striatum DC. | โกฐาส | (โกดถาด) น. ส่วน เช่น พรพอใจบ้นนน้นนอนนเป็นโกฐาสถ้อย (ม. คำหลวง ทศพร). | ขนิษฐ์, ขนิษฐา | (ขะนิด, ขะนิดถา) น. น้อง. | เขยิบฐานะ | ก. เลื่อนฐานะสูงขึ้น. |
| primary meristem | เนื้อเยื่อเจริญปฐมภูมิ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | primary nucleus | แกนปฐมภูมิ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | primary peritonitis | เยื่อบุช่องท้องอักเสบปฐมภูมิ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | primary phloem | โฟลเอ็มปฐมภูมิ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | primary pleurisy | เยื่อหุ้มปอดอักเสบปฐมภูมิ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | primary quality | คุณสมบัติปฐมภูมิ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | primary refrigerant | สารทำความเย็นปฐมภูมิ [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] | perquisite | ประโยชน์พิเศษ (ที่ให้แก่พนักงานของรัฐ นอกเหนือไปจากเงินเดือน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | prosthodontics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prosthodontics; denture prosthetics | วิชาทันตกรรมประดิษฐ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | prosthodontist | ทันตแพทย์ทันตกรรมประดิษฐ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | prosthodontist | ทันตแพทย์ทันตกรรมประดิษฐ์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | probable evidence | พยานหลักฐานที่น่ารับฟัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | puppet government | รัฐบาลหุ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parenticide | ความผิดฐานฆ่าบิดามารดา, ผู้ฆ่าบิดามารดา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | prorogation | การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | prorogation | การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | protected state; protectorate | รัฐในอารักขา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | protected state | รัฐในอารักขา [ ดู protectorate ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | position | ฐานะ, ตำแหน่ง, ตำแหน่งหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | positivism | ปฏิฐานนิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | positivism, logical | ปฏิฐานนิยมเชิงตรรก [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | positivist law | กฎหมายปฏิฐานนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | periodontal prosthesis | สิ่งประดิษฐ์ปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | personal union | รัฐร่วมประมุข [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary procedure; procedure, parliamentary | วิธีดำเนินการทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliamentary Secretary | รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary sovereignty | อำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary system | ระบบรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary system | ระบบรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary-cabinet system | ระบบรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | protectorate | รัฐในอารักขา [ ดู protected state ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | principle, first | ปฐมธาตุ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | public | ๑. สาธารณะ, มหาชน, เกี่ยวกับประชาชน, เกี่ยวกับรัฐ๒. สาธารณชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | probative evidence | พยานหลักฐานในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliament | รัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliament | รัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliament chamber | ที่ประชุมรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliament, legislative supremacy of | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentarian | ๑. ผู้นิยมระบอบรัฐสภา๒. สมาชิกรัฐสภา๓. ผู้เชี่ยวชาญการรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary absenteeism | การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Premier; Prime Minister; Prime Minister | นายกรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Premier; Prime Minister | นายกรัฐมนตรี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Premier, Deputy; Prime Minister, Deputy | รองนายกรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public school | ๑. โรงเรียนรัฐบาล๒. โรงเรียนราษฎร์ (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public security | ความมั่นคงของรัฐ, ความมั่นคงสาธารณะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public servant | ข้าราชการ, ข้ารัฐการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | public servant | ข้าราชการ, ข้ารัฐการ [ ดู public official ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Artificial Intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | International Standard Book Number | เลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database | ฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | Primary source | แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] | National Information Standards Organization - NISO | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] | American National Standards Institute | สถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ว่าด้วยการมาตรฐาน (ANSI) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Authority card | บัตรหลักฐาน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Authority control | การควบคุมรายการหลักฐาน, Example: <p>เป็นการจัดการรายการหลักฐานประเภทต่างๆ ให้มีความสม่ำเสมอในการใช้คำ รายการหลักฐาน (authority file) เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับบรรณารักษ์ผู้ทำรายการ เพื่อให้เกิดความเป็นแบบแผนเดียวกัน เพื่อให้ข้อมูลการใช้คำอย่างถูกต้อง รวมถึงรายการโยง (cross reference) ที่เกี่ยวข้องโดยสมบูรณ์หรือตามหลักฐานที่มีอยู่ในเวลานั้น รายการหลักฐานอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการหรือการเปลี่ยนกฎการลงรายการ รายการหลักฐานที่สำคัญสำหรับการวิเคราะห์สารสนเทศ ได้แก่ รายการหลักฐานสำหรับชื่อ รายการหลักฐานสำหรับหัวเรื่อง และรายการหลักฐานสำหรับชื่อชุด <p>รายการหลักฐานสำหรับชื่อ (Name authority file) หมายถึง รายการหลักฐานที่เป็นมาตรฐานสำหรับชื่อต่างๆ ทั้งชื่อบุคคลและชื่อนิติบุคคลที่กำหนดขึ้นจากการตรวจสอบรายการหลักและรายการเพิ่มในแหล่งข้อมูลรายการหลักฐานชื่อบุคคล ชื่อนิติบุคคล ที่อ้างอิงได้ เช่น หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โอซีแอลซี กลุ่มความร่วมมือของบรรณารักษ์ทำรายการ เป็นต้น <p>ตัวอย่าง รายการหลักฐานสำหรับชื่อจากฐานข้อมูลรายการหลักฐานของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110227-Authority.JPG" width="640" higth="200" alt="Name authority"> <p>รายการหลักฐานสำหรับหัวเรื่อง (Subject authority file) หมายถึง รายการหลักฐานที่เป็นมาตรฐานสำหรับหัวเรื่อง <p>ตัวอย่าง รายการหลักฐานสำหรับหัวเรื่องจากฐานข้อมูลรายการหลักฐานของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Sub-Authority.JPG" width="640" higth="200" alt="Subject authority"> <p>รายการหลักฐานสำหรับชื่อชุด (series authority file) ได้แก่ รายการหลักฐานที่เป็นมาตรฐานสำหรับชื่อชุด <p>ตัวอย่าง รายการหลักฐานสำหรับชื่อชุดจากฐานข้อมูลรายการหลักฐานของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Series-Authority.JPG" width="640" higth="200" alt="Series authority"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database | ฐานข้อมูล, Example: <p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Economics library | ห้องสมุดเศรษฐศาสตร์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Government publication | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Artificial Intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | American National Standards Institute | สถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐาน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Bibliographic Descriptions | มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Book Number | เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : [email protected] 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number"> <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | International Standard Serial Number | เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | National Information Standards Organizat | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Online database | ฐานข้อมูลแบบออนไลน์, Example: <p>ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญในการให้บริการของห้องสมุด ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้จัดการฐานข้อมูลหรือสำนักพิมพ์สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา <p>ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ <p>1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพื่อแนะนำผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับจริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) ฐานข้อมูล ISI : Web of Science ฐานข้อมูล Scopus โดยทั้งสองฐานข้อมูลเป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ให้ข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database) ครอบคลุมสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ในสาขาวิชาหลัก คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยวิชาการ (Research Performance Evaluation / Research Performance Measurement: RPM) ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้านการศึกษา เป็นต้น <p>2. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Primary source | แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ, Example: <p>แหล่งข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ <p>แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source หรือ Primary data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่เก็บจากต้นแหล่งแท้ครั้งแรก ซึ่งอาจจะได้มาจากหลากหลายวิธี เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การทดลองในห้องทดลอง หรือการจดบันทึก <p>ข้อมูลปฐมภูมิ ยังรวมถึง งานต้นฉบับ ผลงานศิลปะ สถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้าง การแกะสลัก การเขียนบันทึกตัวหนังสือ รูปภาพ เรื่องราวลงบนวัตถุต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณ <p>ข้อมูลปฐมภูมิที่สำคัญ คือ ผลงานวิจัยต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเอกสารประเภทสิทธิบัตร รายงานประชุม เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Union catalog database | ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database searching | การค้นหาฐานข้อมูล, Example: <p>การค้นหาฐานข้อมูล หรือ การสืบค้นฐานข้อมูล หมายถึงกระบวนการ วิธีการ ในการสืบค้นสารสนเทศประเภทฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปมีขั้นตอนในการสืบค้น ดังนี้ <p>1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>2. กำหนดคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>3. เลือกฐานข้อมูล <p>4. หากผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ตรงกับความต้องการ ให้ปรับปรุงกลวิธีการสืบค้น อาจใช้เทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง โดยการใช้ตรรกะ (Logical operator) and or not ช่วยในการสืบค้น เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น <p>ประโยชน์ของฐานข้อมูล มีดังนี้ <P>1. จัดเก็บสารสนเทศได้ปริมาณมาก ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ <p>2. จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทำให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากกว่าการค้นด้วยมือ ประหยัดเวลาในการค้นหา <p>3. ปรับปรุง และแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัย <p>4. เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง <p>5. มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบเครือข่ายที่ทันสมัย ทำให้ฐานข้อมูลแพร่หลาย และสามารถจัดหาเพื่อให้บริการได้ง่ายจากทั่วโลก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Repository | คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Database design | การออกแบบฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | พระเมรุ | เป็นเมรุที่ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ เมื่อตายใช้ราชาศัพท์ว่า ทิวงคต หรือสิ้นพระชนม์โดยที่ภายในพระเมรุไม่มีพระเมรุทอง [ศัพท์พระราชพิธี] | พระโกศ | ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ พระโกศสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ๒ ประเภท ๑. พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ ๒. พระโกศพระบรมอัฐิหรือพระอัฐิ, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-01.JPG" alt="พระโกศ"> <p>ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] | Soil science | ปฐพีวิทยา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Database management | การจัดการฐานข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | เกริน | บันไดเลื่อนโบราณ ใช้ยกพระบรมโกศจากพระยานมาศขึ้นไปประดิษฐานบนบุษบกของพระมหาพิชัยราชรถ [ศัพท์พระราชพิธี] | Artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | ราชรถ | ยานพาหนะชนิดล้อเลื่อน มีบุษบกเป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบันมีอยู่ ๒ คันคือ พระมหาพิชัยราชรถ กับ เวชยันตราชรถ ใช้ประดิษฐานพระบรมโกศและพระโกศ [ศัพท์พระราชพิธี] | พระอัฐิ | กระดูก [ศัพท์พระราชพิธี] | Flow cytometry | วิธีโฟลว์ ไซโตเมทรี คือ วิธีมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจนับจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี 4 [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] | พระบรมอัฐิ | กระดูกที่เผาแล้ว [ศัพท์พระราชพิธี] | บุษบก | ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรูป เป็นต้น มณฑปขนาดเล็กแต่ด้านข้างโปร่ง [ศัพท์พระราชพิธี] | ประดิษฐาน | [ ปฺระดิดสะถาน ] ก. ตั้งไว้ (ใช้แก่สิ่งที่เคารพนับถือ) เช่น นําพระพุทธรูปไปประดิษฐานไว้ในโบสถ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา, แต่งตั้งไว้ในตําแหน่งสูง เช่น ประดิษฐานไว้ในตําแหน่งอัครมเหสี [ศัพท์พระราชพิธี] | ประทับ | ก. (ราชา) อยู่ที่, อยู่กับที่, เช่น ประทับที่พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน, (ราชา) นั่ง เช่น ประทับบนพระราชอาสน์; แนบอยู่, แนบชิด, แนบลง, เช่น กอดประทับอก เอาปืนประทับบ่า [ศัพท์พระราชพิธี] | รถพระโกศจันทน์ | รถสำหรับเปลี่ยนขณะประดิษฐานที่พระเมรุมาศกับเป็นรถพระที่นั่งสำรอง [ศัพท์พระราชพิธี] | Distributed database | ฐานข้อมูลแบบกระจาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Coastal geomorphology | ธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Isomorphisma (Mathematics) | สมสัณฐาน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | หอเปลื้อง | ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกตรงมุขหลังของพระเมรุเป็นอาคารขนาดเล็ก ภายในเขตราชวัติ ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย มีฝากั้นโดยรอบ เป็นสถานที่สำหรับเก็บพระโกศหลังจากได้เชิญพระศพขึ้นประดิษฐานบนพระจิตกาธานแล้ว [ศัพท์พระราชพิธี] | พระเสลี่ยงแว่นฟ้า | มีลักษณะเป็นฐานแท่นไม้สี่เหลี่ยม ปิดทองประดับกระจกทั้งองค์ มีคาน ๒ คาน ใช้สำหรับเชิญพระโกศพระบรมศพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
| Jesus! | พระเจ้า Pilot (2011) | Good. | จ้ะ Spellbound (2011) | Felix Finch! | – Rеаlly? Cloud Atlas (2012) | Where the caravan camels roam | ที่ซึ่งมีอูฐเป็นพาหนะในการเดินทาง Aladdin (1992) | Right here direct from the lamp, right here for your enjoyment wish fulfillment.Thank youuuuu! | ที่นี่ของแท้ส่งตรงจากในตะเกียง อยู่ที่นี่เพื่อความสนุกสนานของท่าน บรรลุคำอธิษฐาน ขอบคุณณณ Aladdin (1992) | Wish fulfillment? -Three wishes to be exact. And ix-nay on the wishing for more wishes. | สมหวังในคำอธิษฐาน 3 ข้อที่ต้องการ และไม่มีมากกว่านี้ Aladdin (1992) | Mister Aladdin, sir, have a wish or two or three | ท่านอะลาดิน มีคำอธิษฐาน 2 หรือ 3 Aladdin (1992) | You're gonna grant me any three wishes I want, right? -Ah, almost. There are a few provisos, a couple of quid pro quos | เจ้า ให้คำอธิษฐานข้า 3 ข้อที่ข้าต้องการ ใช่มั้ย อา เกือบหมด มีเงื่อนไขนิดหน่อย เป็นการเเลกเปลี่ยน Aladdin (1992) | Here he comes, And what better way to make your grand entrance on the streets of Agrabah, than... riding your very own brand new... camel! | ขี่ ยี่ห้อใหม่ของท่าน อูฐ ระวังนะ มันถมน้ำลายด้วย Aladdin (1992) | He's got seventy-five golden camels! -Don't they look lovely, June? | เขามีอูฐทอง 75 ตัว มันดูน่านรักนะ ว่ามั้ย Aladdin (1992) | With sixty elephants, llamas galore With his bears and lions, A brass band and more | ด้วย ช้าง 60 ตัว อูฐมากมาย ด้วยหมีและสิงโตของเขา วงดนตรี และอีกมากมาย Aladdin (1992) | A patient in your care suddenly runs amok beats his girlfriend to death with a brick. | คนไข้ในความดูแลของคุณ อยู่ๆก็อาละวาด... ...ตบตีแฟนของเขาจนตาย ด้วยก้อนอิฐ Basic Instinct (1992) | I didn't know. I sensed. And I told you that as my wife in confidence. | ผมไม่เคยรู้ ผมรู้สึกได้ และผมได้บอกคุณ ในฐานะที่คุณเป็นภรรยาที่ควรจะปกปิดความลับ Basic Instinct (1992) | Someplace else. Unless you have evidence to charge me. | ที่ไหนก็ได้ เว้นแต่ คุณจะมีหลักฐานมามัดตัวผม Basic Instinct (1992) | It would be highly improper of me to accept any evidence in this fashion. | มันอาจจะดูไม่เหมาะสมอย่างมากสำหรับผม ที่จะเก็บหลักฐานในรูปการนี้ Basic Instinct (1992) | Adam may have been a sloppy writer, but he had excellent sources. | อดัมอาจจะชอบเขียนอะไรเลอะเทอะ แต่เขามีฐานข้อมูลแน่นเลยล่ะ Basic Instinct (1992) | What about perjury, intimidation, falsifying evidence. Is that true? | แล้วเรื่อง ให้ความเท็จ ขู่ หลักฐานปลอม เรื่องจริงรึเปล่า? Basic Instinct (1992) | A policeman fabricating evidence. | ตำรวจปลอมหลักฐานขึ้นมา Basic Instinct (1992) | I heard that the New York economy is so bad that the Mafia has laid off five judges. | ผมได้ยินมาว่าที่นิวยอร์ค เศรษฐกิจกำลังตกสะเก็ด จนมาเฟียต้องเลิกจ้าง ผู้พิพากษา 5 คน The Bodyguard (1992) | Our speaker this evening has been a lone courageous voice. | ปาฐกเราวันนี้ได้ต่อสู้มาอย่างกล้าหาญ The Bodyguard (1992) | But let us kiss good-bye as Cathy and Heathcliff from long ago. | แต่ให้เราได้จูบลา ในฐานะแคทธีและฮีธคลิฟฟ์ จากช่วงเวลาในอดีต Wuthering Heights (1992) | I pray one prayer. | ฉันขออธิษฐานเพียงอย่างเดียว Wuthering Heights (1992) | he may be found acceptable in Thy sight, and receive that blessing, as Thy well-beloved son... | เพื่อเขาจะได้รับการต้อนรับ สู่แสงสว่างแห่งท่าน และได้รับพร ในฐานะบุตรอันเป็นที่รัก Wuthering Heights (1992) | They're experts. | มาตรฐานบ้านของเค้าเนี่ย Hero (1992) | Fucking screw the political assholes. | พวกรัฐบาลสารเลวเอ๊ย The Lawnmower Man (1992) | American bomber planes over the area... so they're in the air. | เครื่องบินทิ้งระเบิดของสหรัฐ บินวนเหนือภาคพื้นดิน ลอยเป็นปุยนุ่นไปเถอะ The Lawnmower Man (1992) | As the project supervisor and the government liaison... it was my responsibility... to use the strongest measures available. | ในฐานะหัวหน้าโครงการ และผู้ประสานงานของรัฐบาล มันเป็นความรับผิดชอบของฉัน ที่จะใช้มาตรการเด็ดขาด The Lawnmower Man (1992) | That chimp was the key to moving on to a human subject. | ลิงนั่นเป็นกุญแจ สู่บรรทัดฐานของมนุษย์ The Lawnmower Man (1992) | The work here at VSI is government classified. | งานที่เราทำใน วีเอสไอ นี้รับมาจากรัฐบาล The Lawnmower Man (1992) | I'll have access to over 5, 000 other databases. | ผมจะเจาะฐานข้อมูลห้าพันแห่ง The Lawnmower Man (1992) | I can reach out again and again and again... eventually inhabiting the entire planetary network. | ผมจะเจาะฐานข้อมูลแห่งอื่นต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกระบบในโลกจะเป็นของผม The Lawnmower Man (1992) | Simple combination. | จัดระเบียบฐานข้อมูล The Lawnmower Man (1992) | They ain't go no family and they don't belong no place. | พวกเขาไม่มีครอบครัว ไม่มีถิ่นฐานแน่นอน Of Mice and Men (1992) | Don't forget to make a wish! | อธิฐานด้วยนะ The Cement Garden (1993) | Why not throw it over your shoulder and then you can make a wish. | ทำไมไม่โยนข้ามไหล่แล้วอธิษฐานซะเลยล่ะ The Cement Garden (1993) | Aren't you gonna make a wish? | จะอธิษฐานอะไรไหม? The Cement Garden (1993) | We've all made one. | พวกเราอธิษฐานกันแล้วล่ะ The Cement Garden (1993) | And I'm tellin' you as a friend... if we look Jamaican, walk Jamaican, talk Jamaican and is Jamaican, then we sure as hell better bobsled Jamaican. | และฉันจะบอกนายในฐานะเพื่อน... ถ้าเราแต่งตัวเป็นจาไมก้า เดินเป็นจาไมก้า พูดเป็นจาไมก้า และภูมิใจในการเป็นจาไมก้าแล้วล่ะก็... Cool Runnings (1993) | It just so happens that Halloween is based... on the ancient feast called All Hallows Eve. | มันก็แค่เป็นเหตุการณ์ โดยพื้นฐานฮาโลวีนแล้ว... .. จะเป็นงานเลี้ยงฉลองที่เก่าแก่ ที่เรียกว่า ฮาโลว์อีฟ Hocus Pocus (1993) | Tell me, friend, what is this contraption? | บอกฉันซิ, เพื่อน, สิ่งประดิษฐ์สิ่งนี้เรียกว่าอะไร? Hocus Pocus (1993) | I put my life on the line to protect this community, and you punks pull this? | ฉันวางรากฐานชีวิตไว้เพื่อปกป้องประชาชนนะ, และจะให้เชื่อเรื่องแบบนี้เหรอ? Hocus Pocus (1993) | I'm sure I'll be back when I'm a millionaire, Gran. | ฉันแน่ใจว่าฉันจะกลับมา เมื่อฉันเศรษฐี, Gran In the Name of the Father (1993) | Parliament has passed the Prevention of Terrorism Act... which allows terrorist suspects to be held by police for up to seven days. | รัฐสภาได้ผ่าน ตามพระราชบัญญัติการป้องกันการก่อการร? ซึ่งช่วยให้ผู้ต้องสงสัยก่อการร้ายที่จะ จัดขึ้นโดยเ? In the Name of the Father (1993) | Look, they've no statement nor evidence against me. | มองหาพวกเขาได้งบไม่มี หรือหลักฐานต่อฉัน In the Name of the Father (1993) | I swear by Almighty God that the evidence I give shall be the truth... the whole truth and nothing but the truth. | ข้าขอสาบานต่อพระเจ้าผู้ทรงอำนาจที่ หลักฐานที่ฉันให? ความจริงทั้งหมด และไม่มีอะไร แต่ความจริง In the Name of the Father (1993) | They must've been desperate for evidence. | พวกเขาต้องได้รับการ หมดหวังสำหรับหลักฐาน In the Name of the Father (1993) | Inspector, in the case of the four main defendants... you have no corroborating evidence of any kind. | ตรวจสอบในกรณีที่ จำเลยทั้งสี่หลัก ofthe ... คุณไม่มีหลักฐาน corroborating ประเภทใดก็ได้ In the Name of the Father (1993) | The proof of our innocence must be there in the evidence. | หลักฐานของความไร้เดียงสาของเรา จะต้องมีหลักฐานใน In the Name of the Father (1993) | Are you praying for the Seventh Cavalry? | คุณอธิษฐาน สำหรับทหารม้าที่เจ็ด? In the Name of the Father (1993) | Holy Mary, mother of God... pray for us sinners, now and at the hour of our death. | Holy Mary, แม่ของพระเจ้า ... คนบาปอธิษฐานสำหรับเราตอนนี้และ ในชั่วโมงแห่งความตา? In the Name of the Father (1993) |
| อดีตนายกรัฐมนตรี | [adīt nāyok ratthamontrī] (n, exp) EN: former prime minister FR: ancien Premier ministre [ m ] | อดีตรัฐมนตรี | [adīt ratthamontrī] (n, exp) EN: former Minister FR: ancien ministre [ m ] | อำนาจรัฐ | [amnāt rat] (n, exp) EN: jurisdiction FR: pouvoirs publics [ mpl ] | อธิษฐาน | [athitthān] (v) EN: vow ; pray ; hope ; make a formal offering FR: faire un voeu ; prier | อัฐิ | [atthi] (n) EN: ashes ; bones FR: cendres funéraires [ fpl ] | ใบแสดงหลักฐาน | [bai sadaēng lakthān] (n, exp) EN: certificate | บ้านอิฐ | [bān it] (n, exp) EN: brick house FR: maison en briques [ f ] | บรรทัดฐาน | [banthatthān] (n) EN: standard : norm ; criterion ; yardstick | บรรทัดฐานทางสังคม | [banthatthān thāng sangkhom] (n, exp) EN: social norm FR: norme sociale [ f ] | เบญจางคประดิษฐ์ | [benjāngkhapradit] (n) EN: Thai mode of salutation using five parts of the body ; prostration in which the head, hands and feet touch the ground ; kowtow FR: prosternement à la chinoise [ m ] | บริษัทของรัฐบาล | [børisat khøng ratthabān] (n, exp) EN: state-owned company | บูรณาการย้อนกลับ(ทางเศรษฐกิจ) | [būranā kān yønklap (thāng sētthakit)] (n, exp) EN: backward integration | ช่างก่ออิฐ | [chang kø it] (n) EN: bricklayer ; mason FR: maçon [ m ] | ชูวิทย์ กมลวิศิษฐ์ | [Chuwit Kamonwisit] (n, prop) EN: Chuwit Kamolvisit FR: Chuwit Kamolvisit | ได้มาตรฐาน | [dāi māttrathān] (v, exp) EN: be standardized ; be up to standard | ดำรงฐานะ | [damrong thāna] (v, exp) EN: maintain one's status ; sustain ; hold ; bear ; lead | ด้านเศรษฐกิจ | [dān sētthakit] (adj) EN: economic FR: économique | เดินขบวนประท้วงรัฐบาล | [doēnkhabūan prathūang ratthabān] (v, exp) EN: march in protest against the government | ดอลลาร์สหรัฐ | [dønlā Saharat] (n, exp) EN: American dollar FR: dollar américain [ m ] | ฟ้าประดิษฐ์ | [fā pradit] (n, exp) EN: Ground-morning glory | ฟอร์มรัฐบาล | [føm ratthabān] (v, exp) EN: form a cabinet FR: former un gouvernement | ฟ้องฐานหมิ่นประมาท | [føng thān minpramāt] (v, exp) EN: bring an action for defamation | ห้องปาฐกถา | [hǿng pāthakathā] (n, exp) EN: lecture hall | หัวหน้ารัฐบาล | [hūanā ratthabān] (n, exp) FR: chef de gouvernement [ m ] | อิฐ | [it] (n) EN: brick FR: brique [ f ] ; briquette [ f ] | อิฐแดง | [it daēng] (n, exp) FR: brique rouge [ f ] | อิฐกลวง | [it klūang] (n, exp) EN: hollow brick FR: brique creuse [ f ] | จังหวัดนครปฐม | [Jangwat Nakhøn Pathom] (n, prop) EN: Nakhon Pathom province FR: province de Nakhon Pathom [ f ] | เจ้าหน้าที่รัฐ | [jaonāthī rat] (n) EN: government officer | เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ | [jēttanārom ratthathammanūn] (n, exp) EN: spirit of the constitution FR: esprit de la constitution [ m ] | จุลกฐิน | [junlakathin] (n) EN: action of weaving, dyeing, sewing and presenting a set of yellow robes to a monk ; something done in a rush | แก้รัฐธรรมนูญ | [kaē ratthathammanūn = ratthammanūn] (v, exp) EN: amend a constitution FR: modifier la constitution ; amender la constitution | กรรมฐาน | [kammathān] (n) EN: meditation in the Buddhist manner ; meditation ; contemplation FR: méditation bouddhiste [ f ] | กำแพงอิฐ | [kamphaēng it] (n, exp) EN: brick wall FR: mur de brique [ m ] | การอ้างพยานหลักฐาน | [kān āng phayān lakthān] (n) EN: adduction | การบริหารจัดการภาครัฐ | [kān børihān jatkān phāk rat] (n, exp) EN: Public Sector Management Quality Award (PMQA) | การเอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ | [kān eūa prayōt nai kān phatthanā sētthakit] (n, exp) EN: promotion of trade | การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ | [kān feūntūa khøng sētthakit] (n, exp) EN: economic recovery FR: reprise économique [ f ] | การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก | [kān feūntūa khøng sētthakit lōk] (n, exp) FR: reprise économique mondiale [ f ] | การหาพยานหลักฐานสนับสนุน | [kān hā phayān lakthān sanapsanun] (n, exp) EN: corroboration | กนิษฐ์ | [kanit] (n, exp) EN: younger brother ; younger sister ; darling FR: frère cadet [ m ] ; soeur cadette [ f ] ; chéri [ m ] ; chérie [ m ] | การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ | [kān jaroēn-toēptō thāng sētthakit] (n, exp) EN: economic growth FR: croissance économique [ f ] | การกำหนดมาตรฐาน | [kān kamnot māttrathān] (n, exp) EN: standardization | การแข่งอูฐ | [kān khaeng ūt] (n, exp) EN: camel racing FR: course de chameaux [ f ] | การคัดค้านระดับรัฐ | [kān khatkhān radap rat] (n, exp) EN: state-level ban | การขยายตัวของเศรษฐกิจ | [kān khayāitūa khøng sētthakit] (n, exp) EN: economic expansion ; expansion of the economy | การขยายตัวทางเศรษฐกิจ | [kān khayāitūa thāng sētthakit] (n, exp) EN: economic expansion ; expansion of the economy ; economic growth FR: expansion économique [ f ] | การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ | [kān khwambāt thāng sētthakit] (n, exp) EN: economic sanctions FR: sanction économique [ f ] | การกระจายกิจการของรัฐไปสู่ภาคเอกชน | [kān krajāi kitjakān khøng rat pai sū phāk ēkkachon] (xp) EN: privatization |
| FAA | (abbrev) สำนักงานบริหารการบินแห่งชาติของสหรัฐ ย่อมาจาก Federal Aviation Administration | MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL | Chancellor | (n) นายกรัฐมนตรี (ของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และของสาธารณรัฐออสเตรีย) | Chancellor of the Exchequer | (n) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของอังกฤษ | government in exile | (n) รัฐบาลพลัดถิ่น | privatization | (n) การแปรรูปองค์กรของรัฐ ให้ดำเนินการเองเยี่ยงเอกชน | policy maker | [โพ-ละสิ เมคเคอร์] (phrase) ผู้วางนโยบายของรัฐหรือองค์กร | off the shelf | (adj) มีจำหน่ายทั่วไป ไม่ต้องพัฒนาประดิษฐ์ใหม่ด้วยตนเอง | imperial unit | (n) หน่วยวัดของอังกฤษแบบเก่า และยังใช้อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้หน่วยวัดเป็น นิ้ว ฟุด ปอนด์ แกลลอน หลา ไมล์ เป็นต้น, See also: Related: metric unit | constitutional court | (org) ศาลรัฐธรรมนูญ ของประเทศไทยมีชื่อเต็มว่า The Constitutional Court of The Kingdom of Thailand มีโฮมเพจอยู่ที่ http://www.concourt.or.th/ | primary | (adj) ปฐมภูมิ | The Holy See | (n) นครรัฐวาติกัน (Vatican City State) | exclusive economic zone | (n) เขตเศรษฐกิจจำเพาะ | public sector | (n) ภาครัฐบาล | on the breadline | ในสถานการณ์ที่ยากจนมาก (สำนวนนี้มีที่มาจากการเข้าแถวรอรับขนมปังจากรัฐบาลในสมัยก่อน) เช่น She has been forced to live on the breadline for failing to sign Child Support Agency forms. | siphon | (n) การยักย้ายหรือตักตวงผลประโยชน์จากรัฐหรือจากบริษัทมาเป็นของตัวเอง(ในทางธุรกิจ-การเงิน) มักใช้ทับศัพท์ว่า ไซฟ่อน | public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) | advent calendar | (n) ปฏิทินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของการมาจุติของพระเยซู เริ่มเฉลิมกันในเดือนธันวาคม ซึ่งผู้ใหญ่มักให้เป็นของขวัญแก่เด็กๆ ปฏิทินนี้ประกอบด้วยแผ่นกระดาษสองแผ่นซ้อนทับกัน มีช่องที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้เป็นประตูเปิดได้จากกระดาษชั้นบน ประตูเหล่านี้มีตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 24 ธันวาคม ก่อนถึงวันคริสต์มาส ซึ่งแต่ละช่องจะบอกเล่าถึงเรื่องราวของการประสูติของพระเยซู และอาจมีขนม ของขวัญชิ้นเล็กๆซ่อนอยู่ด้วยก็ได้ | blog | (n) เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้, See also: weblog, web diary, Syn. online diary | evidence | (n) หลักฐาน | Office of the Council of State | (n, org) สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สถาบันที่ปรึกษากฎหมายของรัฐ)ดูข้อมูลเพิ่มเติม <a href=http://www.krisdika.go.th/>http://www.krisdika.go.th/</a> | genesis | (n) หนังสือปฐมกาล หนังสือเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), Syn. The First Book of Moses
| traceability | (n) การสืบมาตรฐาน, ความสามารถในการสืบสาว | deputy interior minister | (n) รมช.มหาดไทย, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย | burning time | ช่วงเวลาสำหรับเหล่าแม่มดที่โชคร้ายที่ถูกกดขี่ข่มเหงในยุคกลาง ซึ่งเหล่าแม่มดถูกใส่ร้าย ป้ายคำโป้ปดต่างๆ, เหล่าแม่มดถูกจับเผาทั้งเป็นในสก็อตแลนด์และภาคพื้นทวีปยุโรป ส่วนในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา พวกเธอถูกจับแขวนคอ(ทั้งเป็น) | johore | (name) รัฐยะโฮร์ ในประเทศมาเลเซีย | bolster | (n) หมอนข้างหรือหมอนอิงที่มีลักษณะยาวๆ, ฐานรองใบมีดเพื่อลดแรงเสียดทาน | sufficiency economy | เศรษฐกิจพอเพียง | Hessian | (adj) แห่งรัฐ Hesse ในประเทศเยอรมนี หรือ แห่งประชาชนจากรัฐ Hesse เช่น The Hessian capital city is Wiesbaden., See also: Hesse | Hesse | (n, uniq) รัฐหนึ่งในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันตกตอนกลาง เมืองสำคัญทางเศรษฐกิจของรัฐนี้คือ Frankfurt am Main | primary producer | (n) ผู้ผลิตขั้นปฐมภูมิของห่วงโซ่อาหารในธรรมชาติ | swift code | (n) รหัสของแต่ละธนาคารซึ่งได้รับมาตรฐานจากสถาบัน the International Organization for Standardization มีชื่อเรียกอีกว่า Bank Identifier Code คำว่า swift ย่อมาจาก Society for Worldwide Interbank Financial Telecommunication, See also: BIC code, Syn. ISO9362 | state of the union | (n) การแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภาของประธานาธิบดีสหรัฐ | essential | (adj) จำเป็นที่สุด, ซึ่งขาดเสียมิได้, เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ, เป็นเนื้อแท้, เป็นปัจจัยพื้นฐาน, เกี่ยวกับตัวยาสำคัญ, เกี่ยวกับหัวน้ำหอม, เป็นธรรมชาติ, ซึ่งเกิดขึ้นเอง | Attorney General | (n) รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม (ของสหรัฐฯ) | UAE | (abbrev) ย่อจาก United Arab Emirates: สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | haccp | (abbrev) การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point | privatization | (n) การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ | CIS | (n) กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States) คือ กลุ่มประเทศที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต | united arab emirates | (n) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | calrose rice | (n) พันธุ์ข้าวชนิดหนึ่งที่ปลูกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อหุงสุกแล้วจะให้กลิ่นรสที่ดี นุ่ม และเหนียว เหมาะในการทำซูชิ เช่น Calrose rice is sticky by American standards, while glutinous rice is much stickier. | live stock | (n) สัตว์เศรษฐกิจ, สัตว์ที่เลี้ยงไว้เพื่อการบริโภค เช่น Removal of live stock from slaughter buying stations., Syn. livestock | BJ | (slang) โอฐกาม, See also: oral sex, Syn. blow job | blow job | (slang) โอฐกาม, Syn. oral sex | Ubuntu | (n) ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งที่พัฒนาบนพื้นฐานของระบบ Linux | notory republic | (n) ผู้รับรองเอกสารของรัฐ เช่น A notory republic in the US puts this big imprinted raised seal on a document, to "notarize" it. | precedent | (n) คำพิพากษาในคดีก่อน ซึ่งนำมาเป็นมาตรฐานในการตัดสินคดีต่อๆไป | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | DEM | (n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น | offshoring | (n) การย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศ, การตั้งศูนย์บริการในต่างประเทศ เช่น Semiconductor design is a frequently-cited example of the new wave of offshoring and foreign-outsourcing of service sector jobs. |
| abiogenesis | (n) สมมติฐานที่ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้จากสิ่งไม่มีชีวิต | accepted | (adj) ได้มาตรฐาน | adduce | (vt) อ้างอิง, See also: อ้างหลักฐาน | administration | (n) การบริหารรัฐกิจ | administration | (n) เจ้าหน้าที่บริหารของรัฐ | admiralty | (n) หน่วยงานด้านกองทัพเรือของรัฐบาลอังกฤษ | affricate | (n) เสียงกักเสียดแทรก (สัทศาสตร์), See also: เสียงที่เกิดจากการออกเสียงในลักษณะที่เริ่มด้วยฐานกรณ์ปิดสนิทแล้วค่อยๆเปิดออก ทำให้ลม | African American | (n) คนผิวดำที่อาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา | Afro-American | (adj) เกี่ยวกับคนผิวดำที่อาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา | Afro-American | (n) คนผิวดำที่อาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา | agent | (n) พนักงานของรัฐ | agronomics | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomy | agronomy | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomics | Air Force One | (n) เครื่องบินสำหรับประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา | air base | (n) ฐานทัพอากาศ | airbase | (n) ฐานทัพอากาศ | airworthy | (adj) ได้มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับการบิน | all-American | (adj) ซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศสหรัฐอเมริกา | Aloha State | (n) ชื่อเล่นของรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา | altitude | (n) ระยะทางจากฐานถึงจุดสูงสุด (เรขาคณิต) | America | (n) สหรัฐอเมริกา, See also: ประเทศสหรัฐอเมริกา, Syn. The United States of America, United States, U.S., the States | America Online | (n) ศูนย์บริการออนไลน์ผ่านทางโมเด็มที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในอเมริกา มีขอบเขตการให้บริการที่กกว้างขวางมีการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ปริการเชื่อมต่ออินเตอร์เนตขั้นพื้นฐาน มีข่าวสารการพยากรณ์อากาศจากสำนักข่าวรอยเตอร์และยูพีไอ | anarchism | (n) ลัทธิที่เห็นว่าบ้านเมืองไม่ควรมีกฎหมายหรือรัฐบาล | anarchy | (n) อนาธิปไตย, See also: ภาวะที่ไม่มีรัฐบาล, Syn. absence of government, political nihilism | aristocracy | (n) ประเทศหรือรัฐที่ปกครองโดยชนชั้นสูง | artificial | (adj) ซึ่งประดิษฐ์ขึ้น, See also: ซึ่งมนุษย์ทำขึ้น, Syn. man-made, manufactured | artificial intelligence | (n) ปัญญาประดิษฐ์ | as | (prep) ในฐานะ, See also: ในตำแหน่ง, ในบทบาท | ash | (n) เถ้าถ่าน, See also: ขี้เถ้า, อัฐิ | Assam | (n) รัฐอัสสัม (ในอินเดีย) | Assamese | (adj) เกี่ยวกับรัฐอัสสัม, See also: ของรัฐอัสสัม | assumption | (n) การสมมติ, See also: การสันนิษฐาน, การนึกคะเน, Syn. presupposition, supposition | assumption | (n) สมมติฐาน, See also: ข้อสมมติฐาน, Syn. hypothesis, premise | ABC of something | (idm) หลักเบื้องต้นของบางสิ่ง, See also: ข้อมูลพื้นฐานของบางสิ่ง | above one's station | (idm) มีฐานะหรือตำแหน่งทางสังคมสูงกว่า (บางคน) | all walks of life | (idm) ทุกชนชั้นทางสังคม เศรษฐกิจ และเชื้อชาติ, See also: ทุกประเภท | backbench | (n) ที่นั่งของสมาชิกรัฐสภา (ที่ไม่ใช่รัฐมนตรีหรือตำแหน่งสำคัญ), Ant. front bench | bad | (adj) ต่ำกว่ามาตรฐาน, See also: ีไม่เป็นที่ยอมรับบ, Syn. inferior, poor, Ant. superior, good | bag | (n) ฐาน | banker | (n) แท่นทำงาน, See also: แท่นแบบของงานแกะสลักหิน หรือก่ออิฐ | bare bones | (n) ข้อมูลพื้นฐาน | basal | (adj) พื้นฐาน, See also: เป็นรากฐาน, เป็นมูลฐาน, แรกเริ่ม, Syn. basic | base | (n) พื้นฐาน, See also: รากฐาน, ส่วนที่ต่ำที่สุด, Syn. basis | base | (n) ฐานทัพ, See also: ฐานที่มั่น | base | (vt) วางรากฐาน | base | (vt) มาจากรากฐาน | based | (adj) ซึ่งเป็นรากฐาน | basic | (adj) พื้นฐาน, See also: รากฐาน, มูลฐาน, อันดับแรก, สำคัญ | basic training | (n) การฝึกทางทหารขั้นพื้นฐาน (เมื่อแรกเข้าประจำการในกองทัพบก), Syn. basic | basically | (adv) โดยพื้นฐาน, See also: โดยแท้จริง, โดยทั่วๆ ไป, Syn. generally |
| a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ | aam | abbr. air-to-air missile (ขีปนาวุธจากฐานบนอากาศไปสู่เป้าหมายบนอากาศ) | aba | (อะบา' อาบา) n. สิ่งทอขนอูฐหรือขนแกะเสื้อคลุมที่ไม่มีแขนที่ทำด้วยสิ่งทอดังกล่าว ใช้โดยชาวอาหรับ | abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | abecedarian | (เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน | accredit | (อะเครด' ดิท) vt. เพิ่มบัญชี, เชื่อถือ, อนุญาต, แต่งตั้ง, ถือว่า, รับรอง, รับรองวิทยฐานะ accre-ditation, accreditment n. | ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 | adhere | (แอดเฮียร์') vi. ติด, เกาะติด, ยึดมั่น, ถือทิฐิ, ร่วมเป็นภาค ี, Syn. cling, stick, join, unite, Ant. separate, split | adherence | (แอดเฮีย' เรินซฺ') n. การยึดมั่น, ความเลื่อมใส, การถือทิฐิ, Syn. devotion | adobe | (อะโด' บี) n. อิฐที่ตากแห้ง, สิ่งปลูกสร้างที่ก่อด้วยอิฐ, ผนังดิน., Syn. sun-dried brick | aerostat | (แอ' โรสแทท) n. ฐานที่เบากว่าอากาศ, บอลลูน, เรือบิน (lighter-than-air craft) | afrikaans | (แอฟริคานซ' คาน) n. ภาษาหนึ่งของอาฟริกาใต้ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวฮอลลันดา., Syn. Taal | agnomen | (แอกโน' เมน) n., (pl. -nomina) ฐานันดรศักดิ์ของชาวโรมัน, ชื่อเล่น -agnominal adj. (nickname) | agrology | (อะกรอล' โลจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับดินเพาะปลูกเกษตรกรรม, ปฐพีเกษตรกรรม. -agroligic, agrological adj. | agronomics | (แอกโรนอม' มิคซฺ) ปฐพีศาสตร์, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินเพาะปลูกสำหรับเกษตรกรรม (science of managing crops) | agronomy | (อะกรอน' โนมี) n. ปฐพีศาสตร์, = agronomics. -agronomic, agronomical adj. -agronomist n. | ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ | air medal | เหรียญเกียรติคุณสำหรับนักบินของสหรัฐ | airworthy | (แอร์' เวอธธี) adj. ได้มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับการบิน -airworthiness n. | alaska | (อะแลส' คะ) n. มลรัฐหนึ่งของอเมริกา -Alaskan adj., n. (in NW North America) | albama | (แอล' แลมมะ) ชื่อมลรัฐหนึ่งในอเมริกา (a state in the SE United States) -Alabamian, Alabaman adj., n. | aloha state | มลรัฐฮาวาย | alphabet | (แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. | ambsace | (แอม' เซส) n. โชคร้าย, ระยะทางที่สั้น ที่สุด . ปริมาณที่น้อยที่สุด, ระยะทางที่สิ้นที่สุด, ของที่มีมาตรฐานต่ำสุด, ของที่ไร้ค่าที่สุด | america | (อะเม' ริกา) n. สหรัฐอเมริกา, ทวีปอเมริกา (อาจเรียกว่า the Americas) | american | (อะเม' ริกัน) adj. เกี่ยวกับสหรัฐ-อเมริกาหรือทวีปอเมริกา. -n. ชาวอเมริกา, ชาวทวีปอเมริกา, อินเดียแดง -Americanism n. | american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) | american legion | สมาคมทหารผ่านศึกของสหรัฐอเมริกา (a society) | american national standar | สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ANSI (อ่านว่า แอนซี) เป็นชื่อของสถาบันเอกชนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้น | american standard code fo | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี " | americanism | (อะเม' ริคันนิสซึม) n. ความเลื่อมในในอเมริกา, ภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา , ประเพณีอเมริกัน, แบบอเมริกัน | amorphism | (อะมอร์' ฟิสซึม) n. ภาวะหรือลักษณ์ที่ไม่มีรูปร่างที่แน่นอน, ความไม่มีจุดหมายหรือจุดประสงค์ที่แน่นอน, ลักษณะอสัณฐาน | amorphous | (อะมอร์' ฟัส) adj. ซึ่งไม่มีรูปร่างที่แน่นอน, อสัณฐาน, ไร้จุดหมายหรือจุดประสงค์ที่แน่นอน. -amorphousness n. | amphibology | (แอมฟิบอล' โลจี) n. การที่มีความหมายสองนัย, ความหมายที่คลุมเคลือ, ประโยคที่มีความหมายสองนัยฐ การพูดจาเหลวไหล. -amphibolical, amphibolous adj. | amphictyony | (แอมฟิค' ทิโอนี) n. สันติบาทรัฐ (ในสมัยกรีกโบราณ) . -amphictyonic adj. | anarchism | (แอน' นะคิสซีม) n. ลัทธิที่เห็นว่าบ้านเมืองไม่ควรมีกฎหมายหรือรัฐบาล, ลัทธิไม่มีรัฐบาล, อนาธิปไตย | anarchy | (แอน' นะคี) n. ภาวะอนาธิปไตย, ภาวะไม่มีรัฐบาล, ความสับสน, ภาวะไม่มีขื่อไม่มีแป. -anarchist n., -anarchic (al) adj. | angary | (แอง' กะรี) n สิทธิของรัฐที่ทำสงครามในการยึดครองหรือทำลายทรัพย์สินของประเทศที่เป็นกลางแล้ว, รอไว้ชดใช้ค่าเสียหาย หรือสินไหมทดแทนในภายหลัง | anglo-american | (แอง' โกล อะเม' ริกัน) adj., n. เกี่ยวกับอังกฤษและอเมริกา (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) คนอังกฤษที่ไปตั้งรกรากที่อเมริกา. -Anglo-Americanism n. | annapolis | (อะแนพ' โพลิส) n. ชื่อเมืองท่าและเมืองหลวงของรัฐแมรีแลนด์ | ansi | (แอนซี) ย่อมาจาก American National Standards Institute ซึ่งราชบัณฑิตสถานบัญญัติว่า "สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา" เป็นสถาบันเอกชน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้นดู ANSI C, ANSI character set, ANSI graphics | ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ | antigovernment | (แอนทีกัฟ' เวอเมินท) adj. ซึ่งต่อต้านรัฐบาล | api | (เอพีไอ) ย่อมาจาก application program interface หมายถึงวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่น เอพีไอจะกำหนดขั้นตอนมาตรฐานให้โปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ทำงาน โดยวิธีให้ผู้ใช้เลือกจากรายการคำสั่ง (menu) หรือตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) แทนที่จะต้องจำคำสั่งอย่างแต่ก่อน การใช้ระบบวินโดว์บนเครื่องพีซีก็ดี OS/2 ก็ดี หรือระบบของแมคอินทอช ก็ดี ล้วนเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการนำเอพีไอมาใช้ | apophyge | (อะพอฟ'ไฟจี) n. ส่วนโค้งเล็ก ๆ ที่เชื่อมลำเสากับฐาน, Syn. apophysis. | appalachia | (แอพพะเล'เซีย) n. ชื่อเทือกเขาในสหรัฐอเมริกา. -Appalachia adj. | apparatus | (แอพพะแรท'เทิส) n., (pl. -us, -uses) เครื่องมือ, เครื่องไม้, อุปกรณ์, สิ่งช่วย, เครื่องจักร, เครื่องยนต์กลไก, กลไกของรัฐหรือหน่วยงาน, องค์การ, หมายเหตุ, เครื่องสำเร็จ | apparent | (อะพา'เรินทฺ) adj. เด่นชัด, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, ภายนอก, เกี่ยวกับหลักฐานแรก เริ่ม, เหมาะที่จะครองมาก. -apparentness n., Syn. clear, evident, Ant. doubtful, hazy | apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ | arbitrary | (อาร์'บิทระรี) adj. ตามอำเภอใจ, ไร้เหตุผล, เอาแต่อารมณ์, โดยพลการ, ตัดสินโดยผู้ตัดสิน (แทนที่จะโดยกฎหมายของรัฐ) . -arbitrariness n., Syn. capricious, frivolous |
| agronomist | (n) นักปฐพีวิทยา | agronomy | (n) ปฐพีศาสตร์, ปฐพีวิทยา | American | (adj) เกี่ยวกับสหรัฐอเมริกา, เกี่ยวกับทวีปอเมริกา | American | (n) ชาวอเมริกา, ชาวสหรัฐ | anarchy | (n) อนาธิปไตย, ลัทธิไม่มีรัฐบาล | artifact | (n) สิ่งประดิษฐ์ | artificial | (adj) เทียม, ปลอม, ไม่แท้, ประดิษฐ์ขึ้นเอง | ascribe | (vt) อ้าง, ให้เหตุผล, สันนิษฐาน, ลงความเห็น | ascription | (n) การอ้าง, การให้เหตุผล, การสันนิษฐาน, การลงความเห็น | assume | (vt) สมมุติ, สันนิษฐาน, ทึกทัก | assumption | (n) การสมมุติ, การสันนิษฐาน, การทึกทัก | attestation | (n) การเป็นพยาน, การให้การ, การรับรอง, พยานหลักฐาน, การปฏิญาณตน | basal | (adj) เกี่ยวกับฐาน, เป็นมูลฐาน, แรกเริ่ม | base | (n) ฐาน, ราก, หลัก, ที่ตั้ง, ที่มั่น, พื้น | baseless | (adj) ไม่มีรากฐาน, ไร้เหตุผล, ไม่มีมูลความจริง | basic | (adj) เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับมูลฐาน | basis | (n) มูลฐาน, หลักฐาน, รากฐาน, ส่วนสำคัญ, กฎเกณฑ์ | bed | (n) ที่นอน, เตียง, แท่น, พื้นล่าง, ฐาน | bedrock | (n) หินดาน, รากฐาน, มูลเดิม | betterment | (n) การเขยิบฐานะ, สิ่งที่ดีกว่า | bigot | (n) คนคลั่งศาสนา, คนหัวดื้อ, คนมีทิฐิมานะ, คนดันทุรัง | bigoted | (adj) คลั่งศาสนา, หัวดื้อ, หัวรั้น, มีทิฐิมานะ, ดันทุรัง | billionaire | (n) มหาเศรษฐี | BONE bone ash | (n) อัฐิ, เถ้ากระดูก, อังคาร | bone | (n) กระดูก, อัฐิ, โครงกระดูก, ก้าง | brick | (n) อิฐ | brick | (vt) ก่ออิฐ | brickbat | (n) ก้อนอิฐ, เศษอิฐ | brickkiln | (n) เตาเผาอิฐ | bricklayer | (n) คนก่อตึก, ช่างก่ออิฐ, คนปูอิฐ | brickwork | (n) การก่อตึก, คนก่ออิฐ | BUFFER buffer state | (n) รัฐกันชน, ประเทศกันชน | cabinet | (n) ตู้ใส่ของ, ห้องลับ, ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัว, คณะรัฐมนตรี | camel | (n) อูฐ | cantonment | (n) ค่ายพักทหาร, ฐานทัพ | capacity | (n) ปริมาตร, ฐานะ, ความจุ, ความสามารถ, สมรรถภาพ, อัตรา, หน้าที่ | capitol | (n) ศาลากลาง, สถานที่ประชุมของรัฐสภาอเมริกัน | caste | (n) ตระกูล, ชั้น, วรรณะ, ฐานะทางสังคม | chancellor | (n) อธิการบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, เลขานุการสถานทูตน | civil | (adj) เกี่ยวกับพลเมือง, ในฐานะพลเมือง, ของพลเมือง, สุภาพ | coalition | (n) การประสานกัน, การรวมกัน, การร่วมมือกัน, รัฐบาลผสม, สัมพันธมิตร | coin | (vt) ทำเหรียญ, พิมพ์เหรียญ, สร้างขึ้น, ประดิษฐ์ | commonwealth | (n) รัฐสวัสดิการ, การรวมกัน, เครือจักรภพ, สาธารณประโยชน์ | configuration | (n) รูปร่าง, สัณฐาน, องค์ประกอบ | confirmation | (n) การยืนยัน, การรับรอง, พยานหลักฐาน | confutation | (n) การหักล้าง, การพิสูจน์ว่าผิด, การทำให้จำนนต่อหลักฐาน | confute | (vt) ทำให้จำนนต่อหลักฐาน, พิสูจน์ว่าผิด | congress | (n) ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, สภาคองเกรส | congressional | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับรัฐสภา, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ | constituent | (adj) สำคัญ, เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ |
| *ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 | abysmal | (adj) แย่สุดๆ, เลวร้ายมาก, ที่มีมาตรฐานต่ำมาก | accrediting amount | (n) เงินวิทยฐานะ | act | (n) หนังสือสัญญา (รัฐศาสตร์) | AEC (ASEAN Economic Community) | [ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน] (n, abbrev, org) Association of Southeast Asian Nations Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน | air force base | ฐานทัพอากา | air force base | ฐานทัพอากาศ | Airbus | ยี่ห้อเครื่องบินโดยสารยี่ห้อหนึ่ง มีมากมายหลายรุ่น โดยชื่อรุ่น เช่น A320, A380 คำว่า Airbus เป็นเครื่องหมายการค้าและบริการของ Airbus Operations GmbH แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี | arguably | [can be supported by goond reasons or evidence and is probably true or correct. EG De] (adv) น่าจะเป็นจริงว่า (โดยมีเหตุผล และหลักฐานสนับสนุน), Syn. seemingly | army ranger | (n) หน่วยจู่โจม (กองทัพบกสหรัฐ) หรือทับศัพท์ว่า เรนเจอร์ | artificial language | ภาษาประดิษฐ์ | atlanticist | (n) ผู้นิยมแนวคิดที่สนับสนุนการให้ความร่วมมือกันในทางการเมือง, เศรษฐกิจ, และการทหาร ระหว่างประเทศในยุโรปตะวันตกและอเมริกาเหนือ, See also: Atlanticism | bailout | (n) สถานการณ์ที่ธุรกิจ บุคคลส่วนตัว หรือ รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือแก่ธุรกิจที่ล้มเหลว เพื่อที่จะป้องกันผลลัพธ์ที่จะตามมาจากความหายนะของธุรกิจ การช่วยเหลือมีหลายรูปแบบ เช่น สินเชื่อ พันธบัตร หุ้น หรือ เงินสด ในเงื่อนไขที่จะคืนหรือไม่ก็ตาม | baseline | (n) บรรทัดฐาน | binary file | (n) แฟ้มข้อมูลฐานสอง | brevet | สิ่งประดิษฐ์ | Brick Dust Urine | ปัสสาวะเข้มข้นมากในช่วงสองสามวันแรกของทารกสามารถมีผลึกยูริก (ผลึกกรดยูริก) ผลึกเหล่านี้อาจทําให้เกิดสีชมพู, สีแดง, หรือสีส้ม, ผงคราบในผ้าอ้อมเด็กทารกของคุณเรียกว่าฝุ่นอิฐ.อาจจะน่ากลัว แต่ฝุ่นอิฐเป็นเรื่องปกติสําหรับทารกแรกเกิดจํานวนมาก | calyx | ฐานรองดอก | calzera | [คัล-ซี-ร่า] (name, uniq) ชื่อนามแฝงของ เด็กไทย ที่ในยุคปัจจุบัน การใช้นามแฝงในลักษณะ คำที่สั้นๆไม่จำเป็นต้องมีความหมาย แต่พิมพ์ง่ายจำง่ายและดูดี เพราะในการสมัครไม่ต้องพิมพ์ _(underscore)หรือใช้ตัวเลขแปลกๆมาต่อท้ายเพื่อให้ unique ถิ่นฐาน:codename นี้มีถิ่นฐานอยู่ใน cp32 บริเวณที่พบบ่อย: เว็ปบอร์ดการ์ตูน และในเกมออนไลน์ รวมถึงบอร์ดรุ่น cp32 | cathedral | (n) วัดของคริสต์ศาสนาที่มีสังฆราช (bishop) เป็นประมุขและที่เป็นทีตั้งของ “อาสนะสังฆราช” (bishop's cathedra) เป็นสถานที่ทางศาสนาที่ใช้ในการสักการะบูชา (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่นนิกาย นิกายโรมันคาทอลิก นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ นิกายอังกลิคัน และ นิกายลูเทอรัน มหาวิหารจะเป็นวัดที่เป็นที่นั่งของสังฆราช (วัดประจำตำแหน่ง) ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของสังฆมณฑล (Diocese หรือ See) ที่อยู่ใต้การปกครองของสังฆราชที่กำหนดไว้ | Climatic aspects in urban design—a case study | (n, vi, vt, modal, ver) Climatic aspects in urban design—a case study Isaac G. Capeluto, , A. Yezioro and E. Shaviv Faculty of Architecture and Town Planning, Technion—Israel Institute of Technology, 32000, Haifa, Israel Received 11 December 2001; revised 13 February 2002; accepted 21 February 2002.; Available online 4 April 2002. Abstract We present a case study of a design of a new business district in Tel Aviv city. In this work climatic aspects were taken into consideration in the very early design stages. For that purpose, two models SustArc (Proceedings of the ISES 1997 Solar World Congress, Taejon, Korea, 1997, p. 148) and FLUENT 5.0.2 (Fluent's User's Guide, Fluent Inc., NH, USA, 1999) were applied in order to achieve solar and wind rights. The new business district was designed as a high-density urban area and is located near an old low-rise residential quarter. SustArc was used as a design tool to create the solar envelope that shows the maximum available volume in which it is possible to build without violating the solar rights of existing residential neighborhood, the main avenues and the pedestrian sidewalks. FLUENT, on the other hand, was implemented as an evaluative tool, in a trial and error method, until a design solution could be achieved, in which the wind rights of the residential neighborhood were preserved, while ensuring tolerable winds inside the business district. The paper presents the process of sun and wind controlled planning, as well as the recommendations. Author Keywords: Solar rights; Wind rights; Urban design; Design tools Article Outline 1. Introduction 2. Sun, winds and urban design 3. Planning control for sun and winds in a new business district 4. Planning control for sun access 5. Planning control for wind access and protection 6. Summary and conclusions Acknowledgements References 1. Introduction During the conceptual design phase of urban districts, the designer deals with different geometrical characteristics related to the building's height and width, in relation to the open spaces and the pedestrian sidewalks. New buildings may create a different microclimate, like changing the wind regime and shading of existing neighborhoods, as well as in the new district. To protect solar rights, as well as wind rights, is a complex task. Moreover, tolerable winds should be achieved along the pedestrian sidewalks. The determination of a preferable design solution becomes specially complicated due to mutual influences. On the other hand, ignoring the solar rights at the stage of the preparation of the master plan may cause discomfort conditions around the buildings beyond repair. Different design tools for solar insolation conscious design were developed. We can classify these tools into generation tools and evaluation tools. The generative design tools aid to define the proper geometry. Some examples are [ 1, 2, 3, 4, 5 and 6 ] for determining solar rights. These tools generate nomograms that present all possible solutions to a given problem. These nomograms are called “Solar Envelopes”. The evaluation tools, on the other hand, analyze the performance of a given design. Some examples are Kroner and Abrey [ 7 ], Yezioro and Shaviv [ 8 and 9 ] and Capeluto and Shaviv [ 5 ] for evaluating solar rights for buildings and in open spaces among them. Heliodons are also used to evaluate the proposed design, namely a scaled down 3D physical model examined in the laboratory. For microclimate and wind rights conscious design, there are today only evaluative design tools. These are either wind tunnel studies, or computational fluid dynamics (CFD) simulation tools. The CFD models are very powerful, require heavy calculations, but provide detailed results that can show clearly the defects in suggested designs. As a result, new design alternatives may be thought of and re-evaluated, until a good and satisfactory design is achieved. In the design of the new business district in Tel Aviv (Fig. 1), we have used SustArc, as the design tool to evaluate the proposed design (Fig. 2). We have also used SustArc to create the solar envelope that shows the maximum available volume in which it is possible to build while keeping the solar rights of the existing neighborhood (Fig. 5). We used FLUENT to evaluate the existing situation, the proposed solution and the mitigation design, in which the wind rights to the residential neighborhood were preserved, while ensuring tolerable winds along the pedestrian sidewalks ( Fig. 8 and Fig. 9). The paper presents the design process along with the different design tools implemented to create the solutions and to simulate and evaluate the proposed design. Using these tools we could develop rules and design guidelines that ensure proper insolation and ventilation in the existing residential neighborhood as well as creating good microclimatic conditions inside the new business district. Display Full Size version of this image (63K) Fig. 1. An aerial view of the business district. Display Full Size version of this image (24K) Fig. 2. Sun-view presenting the shading of the main green avenue (the area adjacent to the tall buildings from the right) and the residential neighborhood (the long square on the right). 2. Sun, winds and urban design There are many places in which urban design take into consideration solar rights and winds protection. Let us mention a few: New York, Boston, Chicago, Philadelphia, Pittsburgh and San Francisco, in the USA, Calgary, Edmonton, Halifax, London, Montreal, Ottawa and Toronto, in Canada [ 10 ]. Many tall buildings were built during the past in all of the above cities. These tall buildings caused different problems, like shading, loss of daylight, and creation of strong winds around the tall buildings on one hand, and at the same time avoid good ventilation by creating wind stagnation at some parts around them. From the accumulating experience, the city leaders and designers recognized the need to control the changes in the microclimatic conditions created by a proposed design. In many cities, large projects, including tall buildings, require wind studies, as well as shading evaluation. Nevertheless, in most places, the planning control for wind protection and solar insolation are not mandatory and are not imposed by standards, but rather open to negotiations with the developers. Defining urban standards can be carried on along three different approaches [ 10 ]: Prescriptive and descriptive standards, in which the exact physical solution is given. For example, the specific maximum height of buildings in the inner city neighborhood of San Francisco is dictated along with the angle of the slope of a plan that cut the upper floors further from the street. Performance standards, in which the expected performance of the design is given. For example, Boston zoning ordinance dictates for some downtown areas, that “No net increase in shadow is permitted between 8 a.m. and 2.30 p.m.”. In San Francisco for example a performance standard is set for the maximum allowed wind velocity so that “a building form which causes wind speeds to exceed 11 miles/h in areas where people walk and 7 miles/h in areas where people sit, should not be used”. Discretionary review, in which a comprehensive study is required as part of the environmental impact study (EIS) process. For example, in New York, sponsors of large development projects are required to conduct wind studies. The expected wind velocities in new or existing open spaces shall not exceed the mean wind velocity in existing comparable open spaces. There are not yet urban standards and legislation in Israel about how much a building can shade neighboring buildings, open spaces, or what is the maximum allowed wind speed. As for solar rights, we were contracted to develop legislation [ 11 ] and we hope that our future recommendations will be imposed. However, in many cities, the Israeli ministry of the environment demands from every developer, who intends to build high-rise buildings, a discretionary review for winds and shading, as part of the EIS. As there are not yet urban standards, the results of the study are not always imposed on the project. The shading study is usually an evaluation process, carried by different computer codes, while the wind assessment is in most cases a wind tunnel study. In the following chapter we shall demonstrate the approach to deal with planning control for sun access and wind access and protection [ 12 ] that was carried out in the design of a new business district in Tel Aviv. 3. Planning control for sun and winds in a new business district A new business district is being planned in the heart of Tel Aviv on an area of 250, 000 m2. The urban density was changed from 200% to 450%. As a result, the developers wish to build in the area many high-rise buildings 40 stories and above. Existing low-rise residential buildings that surround this new business district will be affected by the high-rise buildings (see Fig. 1). The new master plan of this district was not approved yet, and the residents of neighboring communities can submit objections to the new plan, which they did. The designers of the Tel Aviv City planning department produced a 3D model of the site, in which they assumed that all developers would build the maximum allowed (a likely outcome). The model allows the visualization of the spatial drawbacks in the preliminary design. In particular, it was found that the new buildings create a high wall that would deprive the sun and winds (coming mainly from west) from the existing buildings (Fig. 2). Therefore, the designers of Tel Aviv City planning department decided to adopt certain rules for the design of this new business district so as to ensure sun and winds in the existing residential neighborhood. The Tel Aviv climate is hot and humid, and the sea breeze helps in summer to bring about thermal comfort in open spaces, as well as indoors. Therefore, the proposed high-rise buildings should not block the sea breeze. Moreover, tall buildings can create strong winds at the foot of the buildings. This fact complicates the situation, as near tall buildings the wind velocity may change very fast from extremely strong wind to no breeze at all. The sun in Tel Aviv is undesirable in summer but it can cause any open space and parks to be a very pleasant and enjoyable place to stay in winter. Therefore, permanent shading, even if needed in summer, compromises winter sun. A dynamic solution, like shading open spaces and sidewalks in summer by deciduous trees that supply winter insolation, is preferred. In general, at least one pedestrian sidewalk should be exposed to winter sun to provide thermal comfort in winter. The other sidewalk, which is shaded by the building in winter, can be protected from the summer sun by permanent shading devices, or by evergreen trees. On top of it, in Israel there is a requirement by law, for every residential unit, to have solar panels for hot water. It is mandatory, therefore, that these panels will be exposed to the sun the year around. 4. Planning control for sun access “Solar Rights Envelope” defines the space of all possible solutions for the determination of a design that does not violate the solar rights of existing buildings and open spaces during a given period of the year (See Fig. 3). The model SustArc creates such an envelope [ 5 and 6 ]. Display Full Size version of this image (18K) Fig. 3. The solar rights envelope. In the design of the new business district, the use of solar envelopes was recommended to protect the solar rights. The requirement was to achieve solar access during the entire winter, between 8 a.m. and 3.00 p.m., in the residential neighborhood, as well as in the main avenue that is the only existing green open area. The solar envelope that fulfills the above requirement, as well as the obtained shape of the buildings under this envelope, are presented in Fig. 4. Display Full Size version of this image (11K) Fig. 4. The solar envelope that ensure solar rights in the existing residential neighborhood as well as in the main green open space. Although the requirements were only to ensure solar access to the residential neighborhood, we added the demand that the main two avenues from west to east will be exposed to the sun during the same period. This is in order to ensure that the morning and afternoon walk from the railway station to work, is in the sun (see Fig. 6). On top of it, we required that the main inner street parallel to the main green avenue would have solar access during lunchtime from 12.00 to 13.00. These requirements will allow the people to enjoy walking in the sun to the two avenues (A and B in Fig. 6) that lead them to the main green avenue, to have lunch in the garden, or in the planned restaurants along the green avenue. Fig. 5 presents the solar envelope that was accepted as design guidelines for the relocation or reshaping of the tall buildings in the business district. All buildings higher than this envelope (these are the buildings that can be seen above the net of the envelope) must be displaced to another location, or should be reshaped (see Fig. 6). This is a descriptive approach, in which all possible consistent solutions are given in advance. However, we mixed the descriptive approach with the performance one, by allowing some exceptions, as long as the shading caused by these buildings is not above a given standard. But, till such standard will exist, a discretionary review approach might be necessary. Display Full Size version of this image (36K) Fig. 5. The solar envelope that ensure solar rights in the existing residential neighborhoods as well as in the main avenues and streets. Display Full Size version of this image (22K) Fig. 6. The maximum allowed floors for each building, keeping solar rights in the existing residential neighborhoods as well as in the main avenues and streets. Based on these design guidelines a new scheme was suggested by the city planners, that follows the solar envelope (see Fig. 7). Until now, few tall buildings have already been relocated and reshaped, so that they will not stick out from the given solar envelope. Display Full Size version of this image (33K) Fig. 7. Design guidelines on building mass as proposed by the city planners. View from south–east. 5. Planning control for wind access and protection Contrary to other cities, where the requirements were only to protect from high wind velocity around tall buildings, the demand in our case was to ensure good ventilation to the residential neighborhood located east to the business center. The situation today is, that in the business district, most of the buildings are seven floors high and are in a very bad physical condition. Therefore, the majority of the buildings should be demolished and replaced by new ones. The only exception is the first row of buildings near the freeway that are seven floors and new. Today, one can feel in the neighboring residential quarter the good breeze coming from the west. The proposed new tall buildings, thirty floors and above, may block the breeze. As a result, the residents of this quarter objected to the new design on the ground of wind rights. The question that was raised, therefore, was what should be the ventilation corridors inside the business district tissue, so that good natural ventilation will remain in the residential neighborhood, as well as in the new business district. This fact complicated the situation, as in many design alternatives the very solution for ensuring the breeze in the residential quarter, may cause excessive winds in the business district (see Fig. 9 and Fig. 10). There are not yet design tools that can create the envelope of all possible solutions that satisfy wind requirements, or wind protection. Therefore, performance approach and evaluation technique were applied by using a CFD simulation model FLUENT 5.0.2 [ 13 ]. We required the following: wind velocity in the main avenues and streets should be in summer at least 2 m/s in walking areas, and 1 m/s in sitting areas. In winter, wind velocity in the main green avenue should not be higher than 5 m/s in walking areas and 3.5 m/s in sitting areas. In other streets, where people move fast, it can reach up to 9 m/s . In the residential neighborhood, the breeze should be similar to what exists today. FLUENT is a very powerful tool. It requires heavy calculations, but gives detailed results that can show the wind pattern in any plan or cross-section (see Fig. 9 and Fig. 10). We used FLUENT with the k– turbulence model, to evaluate the existing situation. We compared it with the proposed design (Fig. 9) and with the design based on the solar envelope ( Fig. 10). Many different design alternatives were proposed and evaluated, until a design solution was found, in which the wind rights of the residential neighborhood are preserved while ensuring tolerable winds inside the business district. As the buildings are not yet designed, and for the master plan only general information about the mass of the buildings is required, we assumed simple shapes, and conducted parametric evaluation, in order to find the influence of each design option on the wind pattern. Also, as the simulations are CPU time intensive, we shorten the evaluation procedure by presenting in the same plan different widths for the ventilation corridors, as well as different widths for the north–south streets. In this way we could learn from the same run, what is the preferred width of the ventilation corridors. Fig. 8 presents the standard meteorological wind measurements on site, 10 m above the ground. From this figure one learns that the desired winds in the hot seasons come mainly from the west and northwest and in general the wind velocity is about 3.5 m/s. To ensure wind rights, we carried simulations for these two directions. In all simulations we assumed a wind profile appropriate for the urban roughness and wind velocity of 3.5 m/s at the entrance. Display Full Size version of this image (21K) Fig. 8. The wind rose as measured in site. Fig. 9 and Fig. 10 show few of the simulations results and only for winds coming from the west. In general, the wind coming from northwest gave better results than what is shown here. Fig. 9 and Fig. 10 top left present the existing situation; i.e. all buildings are seven floors high. The widths of the north–south streets are 16 and 36 m according to the existing situation and widths of the east–west streets are 36, 24 and 12 m. The latter are the ventilation corridors that should allow the sea breeze to reach the residential neighborhood. According to the wind pattern obtained, we required that the north–south streets should be at least 36 m in order not to have wind stagnation in the street. The ventilation corridors should be at least 24 m, preferable 36 m. For the 12 m wide ventilation corridor, the wind velocity in the residential neighborhood is too low, even in the existing situation of seven floors high buildings. Therefore, we defined the wind pattern examined area as the area east to the 24 and 36 m ventilation corridors only. Based on these recommendations ventilation corridors were designed and required by the city planners (see Fig. 11). Display Full Size version of this image (80K) Fig. 9. Simulating winds in the business district by using FLUENT: Top left—existing situation. Top right—proposed design. Bottom—parametric analysis. Display Full Size version of this image (79K) Fig. 10. Simulating winds in the business district by using FLUENT: Top left—existing situation. Top right—proposed design according to the Solar envelope section. Bottom left—parametric analysis: Seven floors buildings along the pathway. Bottom right—parametric analysis: Adding trees at the entrance of the ventilation corridor. Display Full Size version of this image (16K) Fig. 11. Ventilation corridors as requested by the city planners. Fig. 9 presents the simulation results for the proposed design (top right) and parametric analysis for mitigation (bottom left and right). We can see that cutting the building in 45ฐ at the exit of the business district, improves the ventilation in both the main green avenue and the residential neighborhood (bottom left). On the other hand, changing the plan of the middle tower from square to round deteriorates the microclimate conditions. Fig. 10 presents the simulation results for the proposed design according to the solar envelope section (top right) and parametric analysis for mitigation (bottom left and right). We can see that the design according the solar envelope preserves also the wind rights. However, the wind velocity along the east–west pathway is too high, and should be reduced. Adding seven floors high buildings along the 36 m wide pathway, reduces the high velocity wind speed in this pathway, but also reduces a little bit the wind velocity in the residential neighborhood. Adding trees at the entrance to the ventilation corridors reduces the wind velocity inside the ventilation corridors, and also in the residential neighborhood. However, the wind pattern obtained is quite satisfactory (bottom right). 6. Summary and conclusions This work presents a case study in which, for the first time, the solar rights envelope was used in Israel for the design of a new business district in Tel Aviv, keeping solar rights in a high-density urban area. Using this solar envelope we could determine the maximum allowed heights of the buildings that ensure proper insolation in the existing residential neighborhood as well as in the new business district and the main green avenue. The requirement to build under the solar envelope is a prescriptive/descriptive approach. To protect both, the solar and wind rights, the solar envelope was created first, this envelope was then evaluated using a CFD technique to ensure the wind rights and tolerable winds inside the business district. From the many simulations performed (only few of them shown here) we found that it is not easy to use the prescriptive/descriptive approach, as was done in the solar rights requirement. Only for the determination of the geometry of the ventilation corridors to ensure wind rights, such an approach can be applied. However, for the wind control, a standard performance approach should be applied. This is because the winds pattern depends on the exact geometry of all buildings around. Changing the geometry of one building can influence the wind pattern around other buildings. Therefore, performance standards should be established, and the wind pattern around the building should be evaluated against these standards, by certified tools and users. Acknowledgements This research was supported by the fund for promotion of research at the Technion. Research Number 022.732, and 022.751. References 1. F. Arumi, Computer-aided energy design for buildings. In: D. Watson, Editor, Energy conservation through building design, McGraw-Hill, New York (1979). 2. Shaviv E. Design tools for solar rights and sun-shades determination. Proceedings of the Ninth National Passive Solar Conference ASES, Boulder, CO, 1984. p. 14–9. 3. Wright R, Hoinkes R. Computational issues in urban design: developing a strategy for solar impact assessment. In: Flemming, Wyk, editors. CAAD futures. Amsterdam: Elsevier Science Publishers B.V., 1993. 4. Schiler M, Ueng-Fang P. Solvelope: an interactive computer program for defining and drawing solar envelopes. 18th National Passive Solar Conference-ASES, Washington, DC, 1993. 5. Capeluto IG, Shaviv E. Modeling the design of urban grids and fabric with solar rights considerations. Proceedings of the ISES 1997 Solar World Congress, Taejon, Korea, 1997. p. 148–60. 6. Capeluto IG, Shaviv E. Modeling the design of urban fabric with solar rights consideration. IBPSA 99, Kyoto, Japan, 1999. p. 1341–7. 7. Kroner WM, Abrey D. From the sun's point of view. Proceedings of the 10th National Passive Solar Conference, Ralleigh, North Carolina, USA, 1985. 8. Yezioro A, Shaviv E. A Design tool for analyzing mutual shading between buildings, Solar energy, Vol. 52, No. 1. USA: Pergamon Press, 1994. p. 27–37. 9. Yezioro A, Shaviv E. Shading: analyzing mutual shading among buildings. IBPSA 99, Kyoto, Japan, 1999. 10. Bosselmann P, Arens E, Dunker K, Wright R. Sun, wind, and pedestrian comfort. A study of Toronto's central area. Center for Environmental Design Research, University of California at Berkeley and Center for Landscape Architecture Research, University of Toronto. The Department of Planning and Development, City of Toronto, 1991. 11. Shaviv E, Capeluto IG, Yezioro A. Solar rights in high density urban design. Research Proposal No. 022.732, Ministry of Housing, Israel, 2001. 12. HELIOS Climate Energy CAD and Architecture Ltd. Urban climatic design of a new business district in Tel Aviv. Internal Report, 2000 [ in Hebrew ]. 13. FLUENT Inc. Fluent user's guide. NH, USA: Fluent Inc., 1999. Corresponding author. Tel.: +972-4-829-4013; fax: +972-4-829-4617 Building and Environment Volume 38, Issue 6, June 2003, Pages 827-835 | Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง | congressman | [คอง'กริสเมิน] (n) สมาชิก(ขาย)รัฐสภาอเมริกา(โดยเฉพาะของสภาผู้แทน) | consignee | [คันไซ้นี่] (n) ผู้รับมอบกรรมสิทธิ์ในสินค้า หากระบุในใบตราส่งจะอยู่ในช่องที่ 2 อ้านซ้ายริมบน ซึ่งมีเรียงกัน 3 ช่องเป็นมาตรฐานเดียวกันหมด คือ ช่อง 1 Shipper คือ ผู้ส่งสินค้าซึ่งจะเป็นใครก็ได้ ช่อง 2 Consignee คือ ผู้รับมอบกรรมสิทธิ์ในสินค้า จะระบุต้นทาง หรือปลายทางก็ได้ตามบริบทแวดล้อม ช่อง 3 คือ Notify Party คือ ผู้รับแจ้งเมื่อมีการส่งสินค้าออกไปจากต้นทางแล้ว | Constitution Day | [คอนส-ติ-ติว-ฌัน เดย์] (n) วันรัฐธรรมนูญของไทย ซึ่งตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี, See also: ประชาธิปไตย Image: | Council of Ministers | "คณะมนตรีบริหาร" เป็นชื่อเรียกรัฐบาลระดับแคว้น รัฐ หรือภูมิภาค คำนี้ปรากฎในบางประเทศที่ใช้ระบอบการปกครองแบบสหพันธรัฐ หัวหน้าคณะมนตรีบริหารมักมีชื่อตำแหน่งว่า "มุขมนตรี" | counterstate | (n) รัฐบาลเงา A counterstate [ or shadow government ] is a competing structure that a movement sets up to replace the government. It includes the administrative and bureaucratic trappings of political power and performs the normal functions of a government., Syn. shadow government | crazy quilt | การประดิษฐ์ลายผ้าจากชิ้นส่วนที่ไม่เท่ากัน | criteria | [คไรเทีย-เรียน] (prep) เกณฑ์, บรรทัดฐาน | data warehouse | (n) ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน) | DBA | ผู้จัดการฐานข้อมูล | Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) | Dominion | (รัฐศาสตร์) รัฐอธิราช เป็นประเทศเอกราชซึ่งยอมรับกษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ | duffel bag | [ดัฟเฟิล] (n) กระเป๋าทรงยาวแนวตั้งที่มีฐานทรงกลม หรือกระเป๋าทรงยาวแนวนอนซึ่งจะมีสายรัดหรือเชือกรัดอยู่ด้านบนสำหรับใช้รัดปิดกระเป๋าหรือใช้สะพาย ใช้สำหรับเดินทาง | duffel bag | [ดัฟเฟิล แบ๊ก] (n) กระเป๋าทรงยาวแนวตั้งที่มีฐานทรงกลม หรือกระเป๋าทรงยาวแนวนอนซึ่งจะมีสายรัดหรือเชือกรัดอยู่ด้านบนสำหรับใช้รัดปิดกระเป๋าหรือใช้สะพาย ใช้สำหรับเดินทาง | economic corridor | (n) พื้นที่หลักเศรษฐกิจ (ไม่ใช่ 'ระเบียงเศรษฐกิจ') | EEA | (abbrev) เขตเศรษฐกิจยุโรป ย่อมาจาก European Economic Area | Electronic Government Agency (Public Organization) | (abbrev) สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) | Embassy of the United States | (n) สถานฑูตสหรัฐอเมริกา | emigrate | ย้ายถิ่นฐาน | endorsement | (n) officially approved ได้รับการอนุญาต ในที่นี้หมายถึง ได้รับการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี | epitay | (n) เป็นชื่อกระบวนการปลูกฟิล์มเป็นผลึกเชิงเดี่ยวบนผิวหน้าฐานรองที่เป็นผลึกเชิงเดี่ยว | European Economic Area | (n) เขตเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Area หรือ EEA) | fabricate | [แฟบ'บริเคท] (vt) ประดิษฐ์แก้ไขเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง Example: It remains unknown to what extent the surviving record may represent the fabrications of corrupt court officials or her own possible fabrications to protect state secrets. (Source: Wikipedia.org) | federal tax | (n) ภาษีสหพันธรัฐ | FIN 48 | (n) อาพันธภาพในการตีความของคณะกรรมการมาตรฐานทางบัญชีการเงิน | firewire | FireWire คือชื่อเรียกของ apple หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า i-link คือชื่อเรียกของ Sony หรือที่เรียกว่า มาตรฐาน IEEE 1394 เป็นเทคโนโลยีสำหรับการส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล ด้วยความเร็ว 400 และ 800 เมกะบิตต่อวินาที ส่งผลให้การติดต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดดิส ปริ้นเตอร์ สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอลหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่มีช่อง FireWire ทำงานได้อย่างรวดเร็ว FireWire มีลักษณะการทำงานเหมือนหรือคล้ายกับ USB เพียงแต่ออกแบบมาให้เหมาะกับการใช้งานกับอุปกรณ์ทางด้านมัลติมีเดียมากกว่า เนื่องจาก USB เหมาะกับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่เกี่ยวกับอินพุต เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฯลฯ (USB มีความเร็วน้อยกว่า FireWire) นอกจากนี้ FireWire ยังสามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ไแบบ Daisy Chain ได้ถึง 67 ชิ้น และสนับสนุนการทำงานแบบ Hot plug คือสามารถต่อแล้วใช้งานได้เลยทันที นอกจาก นี้ ยังสามารถส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปกำหนดการทำงานของกล้องวิดีโอได้ด้วย ซึ่งทำให้เราสามารถทำงานในขั้นตอนเดียวกันได้ เช่น การอัดภาพจากกล้องลงมาคอมพิวเตอร์ ก็เพียงแค่สั่งจากคอมพิวเตอร์ กล้องก็จะเริ่มต้นทำงาน พร้อมกับดึงภาพมาให้เองโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องไปกังวลว่าจะต้องไปสั่งเล่นจากกล้องแล้วมาสั่งอัดที่คอมพิวเตอร์ | fiscal cliff | หน้าผาทางการคลัง (ใช้เรียกสถานการณ์หัวเลี้ยวหัวต่อของเศรษฐกิจสหรัฐฯในช่วงปลายปี 2012 เนื่องจากเป็นช่วงที่จะมีเหตุการณ์สำคัญๆที่เกี่ยวข้องกับฐานะทางการคลังของสหรัฐฯ ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯอย่างมีนัยสำคัญ โดยเหตุการณ์ที่สำคัญ 2 เหตุการณ์ได้แก่ การสิ้นสุดของมาตรการลดหย่อนภาษีหลายๆมาตรการ และการเริ่มต้นของมาตรการการปรับลดงบประมาณของภาครัฐฯ) | folklore program | งานแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นฐาน | Foreign Corrupt Practices Act | (n, uniq) รัฐบัญญัติว่าด้วยพฤติกรรมการคอร์รัปชั่นในต่างประเทศ, See also: FCPA |
| 中国 | [ちゅうごく, chuugoku] (n) สาธารณรัฐประชาชนจีน | 五書 | [ごしょ, gosho] (n) หนังสือเบญจบรรณ เป็นหนังสือห้าเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(ภาคพันธสัญญาเก่า) ซึ่งประกอบไปด้วย หนังสือปฐมกาล หนังสืออพยพ หนังสือเลวีนิติ หนังสือกันดารวิถี และหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ, See also: R. Old Testament, Genesis, Exodus, Leviticus, Numbers, Deuteronomy | 人工知能 | [じんこうちのう, jinkouchinou] (n) ปัญญาประดิษฐ์ | 元 | [もと、げん, moto , gen] (n) แหล่งกำเนิด รากฐาน ที่มา | 内閣 | [ないかく, naikaku] (n) คณะรัฐมนตรี | 内閣不信任案 | [ないかくふしんにんあん, naikakufushinnin'an] (n) ญัตติเพื่อเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรี | 内閣総理大臣 | [ないかくそうりだいじん, naikakusouridaijin] (n) นายกรัฐมนตรี, See also: 総理大臣, 首相 | 創世記 | [そうせいき, souseiki] (n) หนังสือปฐมกาล หนังสือเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า) | 労働大臣 | [ろうどうだいじん, roudoudaijin] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน | 反米 | [はんべい, hanbei] (n) การต่อต้านสหรัฐอเมริกา | 国会 | [こっかい, kokkai] (n) รัฐสภา | 基づく | [もとづく, motoduku] (vt) มีพื้นฐานจาก, อ้างอิงจาก | 基盤 | [きばん, kiban] (n) พี้นฐาน | 基礎 | [きそ, kiso] (n) พื้นฐาน | 外相 | [がいしょう, gaishou] (n) รัฐมนตรีต่างประเทศ | 大臣 | [だいじん, daijin] (n) รัฐมนตรี | 威厳 | [いげん, igen] (n) ความสง่างาม, ความสูงศักดิ์, ฐานันดรศักดิ์, ความมีเกียรติ | 州 | [しゅう, shuu] (n) มลรัฐ | 憲法 | [けんぽう, kenpou] (n) รัฐธรรมนูญ | 政府 | [せいふ, seifu] (n) รัฐบาล | 政治 | [せいじ, seiji] (n) รัฐบาล, การเมือง | 政治学 | [せいじがく, seijigaku] (n) รัฐศาสตร์ | 教官 | [きょうかん, kyoukan] (n) ข้าราชการที่ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ในโรงเรียนหรือสถาบันของรัฐ | 日本工業規格 | [にほんこうぎょうきかく, nihonkougyoukikaku] (n) มาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น, JIS | 日米 | [にちべい, nichibei] (n) ญี่ปุ่นและสหรัฐฯ เช่น 日米会談(にちべいかいだん) การประชุมหารือระหว่างญี่ปุ่นกับสหรัฐฯ | 暫定政府 | [ざんていせいふ, zanteiseifu] (n) รัฐบาลชั่วคราว | 朝鮮人民共和国 | [ちょうせんじんみんきょうわこく, chousenjinminkyouwakoku] (n, name) สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี (หมายถึง เกาหลีเหนือ) | 本格的 | [ほんかくてき, honkakuteki] (adj, adv) อย่างจริงจัง, อย่างเป็นทางการ, อย่างเป็นมาตรฐาน | 水準 | [すいじゅん, suijun] (n) ระดับน้ำ, ระดับมาตรฐาน | 渡米 | [とべい, tobei] (n) การไปสหรัฐ | 煉瓦 | [れんが, renga] (n) อิฐ | 知識ベース | [ちしきベース, chishiki be-su] (n) ฐานความรู้ (Knowledge base) | 立憲君主政 | [りっけんくんしゅせい, rikkenkunshusei] (n) การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | 米国 | [べいこく, beikoku] (n) ประเทศสหรัฐอเมริกา, Syn. アメリカ合衆国, アメリカ | 経済学 | [けいざいがく, keizaigaku] (n) เศรษฐศาสตร์ | 総理大臣 | [そうりだいじん, souridaijin] (n) นายกรัฐมนตรี, See also: 首相 | 行政学 | [ぎょうせいがく, gyouseigaku] (n) รัฐประศาสนศาสตร์, บริหารรัฐกิจ | 証拠 | [しょうこ, shouko] (n) หลักฐาน(ในคดี) | 財務相 | [ざいむしょう, zaimushou] (n) รัฐมนตรีคลัง | 首相 | [しゅしょう, shushou] (n) นายกรัฐมนตรี | 駱駝 | [らくだ, rakuda] (n) อูฐ |
| 立憲君主政体 | [りっけんくんしゅせいたい, rikkenkunshuseitai] การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | ものづくり | [ものづくり, monozukuri] (n) ประดิษฐกรรม | 議会 | [ぎかい, gikai] (n) รัฐสภา | 半券 | [ぎかい, hanken] (n) ครึ่งหนึ่งของตั๋ว, ใบฝากของ, ใบเสร็จรับเงิน หรืออื่นๆ ที่ได้รับเพื่อเป็นหลักฐาน, See also: R. stub | 不況 | [ふきょう, fukyou] (n) เศรษฐกิจไม่ดี | 粘土 | [ねんど, nendo] (n) ดินเหนียว; (レンガ粘土=อิฐดินเหนียว), See also: R. 煉瓦 | 補数 | [ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655 | 進数 | [しんすう, shinsuu] เลขฐาน เช่น เลขฐานสิบ 10進数 じゅうしんすう<br> เลขฐานสอง 2進数 にしんすう | 安置する | [あんちする, anchisuru] (vt) ประดิษฐาน | アートフラワー | [あーとふらわー, atofurawa] (n) ดอกไม้ประดิษฐ์ | Kung | [あーとふらわー, Kung] (n) บุรุษหนุ่มรูปงาม, หล่อเหลาเอาการณ์ , หล่อ นิสัยดี จิตใจประเสริฐสุดๆ, See also: S. Jamie | 基準偏差 | [きじゅんへんさ, kijunhensa] (n) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน | 目安 | [めやす, meyasu] (n) เกณฑ์ บรรทัดฐาน จุดประสงค์ ความมุ่งหมาย คร่าว ๆ | 財政 | [ざいせい, zaisei] ความมัธยัสถ์, ความประหยัด, รายได้, เศรษฐกิจ | orientation | [オリエンテーション, oriente^shon] ปฐมนิเทศ | 公式 | [こうしき, koushiki, koushiki , koushiki] (n, adj) สูตร, กฎ, เกณฑ์, หลัก, มาตรฐาน, รูปแบบ, แผ่น, ตำรับ, ตำรา , ข้าราชการ, เจ้าพนักงาน adj. เป็นทางการ, ระเบียบ, ระเบียบแบบแผน, พิธีรีตอง, ความเคร่งครัดในระเบียบ, ความเข้มงวด, ธรรมเนียมปฏิบัติ | 封切り | [ふうきり, fuukiri] (n) [ N ] การแสดงรอบปฐมทัศน์, Syn. opening night, beginning, opening | 封切り | [ふうきり, fuukiri] (n) [ N ] การแสดงรอบปฐมทัศน์, Syn. opening night, beginning, opening | 定番 | [ていばん, teiban] (n, adj) n., adj. (เป็น) มาตรฐาน, เกณฑ์, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, กรอบ, ข้อกำหนด, อัตราเปรียบเทียบ | 憂鬱 | [ゆううつ, yuuutsu] (n) (ดีเพรส'เชิน) n. การทำให้ตกต่ำ, ภาวะที่เศรษฐกิจตกต่ำ, บริเวณที่มีความกดดันของอากาศต่ำ, ความกดดันของอากาศต่ำ, ที่เป็นแอ่งหลุมหรือเว้า | 格好 | [かっこう, kakkou] (n, vi, vt) (เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ | 内閣総辞職 | [ないかくそうじしょく, naikakusoujishoku] (n) การลาออกของคณะรัฐมตรีทั้งคณะ | 予備知識 | [よびちしき, yobichishiki] (n) ความรู้พื้นฐาน | 予備知識 | [よびちしき, yobichishiki] (n) ความรู้พื้นฐาน | 郷 | [ごう, gou] (n) ถิ่นฐาน | 基本給 | [きほんきゅう, kihonkyuu] (n) เงินเดือนพื้นฐาน | 公準 | [こうじゅん, koujun] สมมติฐาน | 国家経済・社会開発計画 | [こっかけいざい・しゃかいかいはつけいかく, kokkakeizai . shakaikaihatsukeikaku] แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 地方交付税 | [ちほうこうふぜい, chihoukoufuzei] (n) เงินอุดหนุนประเภทหนึ่งที่ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น เพื่อเป็นการประกันว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นสามารถให้บริการขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนในท้องถิ่นได้ โดยองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้น้อย จะได้เงินอุดหนุนประเภทนี้มากกว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้มาก | 国際経済 | [こくさいけいざい, kokusaikeizai] (n) เศรษฐกิจระหว่างประเทศ | 憲法記念日 | [けんぽうきねんび, kenpoukinenbi] (n) วันรัฐธรรมนูญ | 基礎工事 | [きそこうじ, kisokouji] (n) พื้นฐานงานก่อสร้าง | 基礎工事 | [きそこうじ, kisokouji] (n) งานรากฐาน (การก่อสร้างฐานรากของโครงสร้างอาคาร) | 運輸大臣 | [うんゆだいじん, unyudaijin] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม | 人造 | [じんぞう, jinzou] สร้างโดยมนุษย์, สังเคราะห์, เทียม, ประดิษฐ์ |
| 基本 | [きほん, kihon] TH: รากฐาน | 基本 | [きほん, kihon] TH: มาตรฐาน EN: standard | 基本 | [きほん, kihon] TH: พื้นฐาน EN: foundation | 引っ越す | [ひっこす, hikkosu] TH: ย้ายถิ่นฐาน | 標準 | [ひょうじゅん, hyoujun] TH: มาตรฐาน EN: standard | 印紙 | [いんし, inshi] TH: อากรที่ชำระให้รัฐบาล EN: a stamp | 公社 | [こうしゃ, kousha] TH: กิจการของรัฐบาลที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ | 政府 | [せいふ, seifu] TH: รัฐบาล EN: government | 証し | [あかし, akashi] TH: หลักฐาน EN: evidence | データベース | [でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล EN: database | 基準 | [きじゅん, kijun] TH: มาตรฐาน EN: standard | 基準 | [きじゅん, kijun] TH: บรรทัดฐาน EN: basis | 経済 | [けいざい, keizai] TH: เศรษฐกิจ EN: economics |
| Amt | (n) |das, pl. Ämter| หน่วยงาน, สำนักงานของรัฐ | Behörde | (n) |die, pl. Behörden| สถานที่ราชการ หน่วยงานของรัฐ | Bundesregierung | (n) |die| รัฐบาลกลางของเยอรมนี | Bundesrepublik | (n) |die| ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ย่อมาจาก Bundesrepublik Deutschland | Minister | (n) |der, pl. Minister| รัฐมนตรี | Ministerpräsident | (n) |der, pl. Ministerpräsidenten| รัฐมนตรีประจำรัฐ, ตำแหน่งผู้ว่าการรัฐใดๆ ในเยอรมนี เช่น Der Ministerpräsident von Beden-Württemberg heißt Erwin Teufel. | Parlament | (n) |das, pl. Parlamente| รัฐสภา | Regierung | (n) |die, pl. Regierungen| รัฐบาล | Staat | (n) |der, pl. Staaten| รัฐ | Wirtschaft | (n) |die, nur Sg.| เศรษฐกิจ เช่น eine blühende Wirtschaft | Koalition | (n) |die, pl. Koalitionen| พรรคร่วมรัฐบาล | Boden | (n) |der, pl. Böden| ฐาน | Boden | (n) |der, pl. Böden| พื้นฐาน รากฐาน เช่น auf dem Boden der Demokratie บนรากฐานแห่งประชาธิปไตย, See also: die Basis | als | ในฐานะ (ใช่บ่งสถานภาพ) เช่น ich als Chemiker ฉันในฐานะนักเคมี | Maultasche | (n) |die, pl. Maultaschen| อาหารพื้นเมืองของคนเยอรมันทางใต้ (รัฐ Baden-Württemberg) คล้ายๆ เกี๊ยวขนาดใหญ่ เป็นแป้งห่อแล้วมีไส้อยู่ข้างใน ซึ่งอาจจะเป็นผัก หรือ เนื้อสัตว์ เสิร์ฟได้หลายแบบ เช่น แบบเปล่าๆ, ราดด้วยน้ำซ้อส หรือ เอาไปหั่นแล้วผัดกับไข่ Image: | erfinden | (vt) |erfand, hat erfunden| ประดิษฐ์, คิดค้นสิ่งใหม่ เช่น Linus hat Linux-betriebsystem erfunden. คุณลินัสได้คิดค้นระบบปฏิบัติการลินุกซ์ | Handwerk | (n) |das, pl. Handwerke| งานฝีมือ, งานประดิษฐ์ด้วยมือ เช่น kreatives Handwerk งานฝีมือที่สร้างสรรค์ | einziehen | (vi) |zog ein, ist eingezogen| ย้ายเข้า, ตั้งถิ่นฐาน เช่น In welchem Haus ziehst du denn ein? เธอย้ายเข้าบ้านหลังไหนเอ่ย | Studiengebühr | (n) |die, pl. Studiengebühren| เงินบำรุงการศึกษา (ไม่ใช่ค่าหน่วยกิจ เพราะโดยมากแล้ว ในเยอรมนีจะละเว้นค่าหน่วยกิจเนื่องจากรัฐเป็นผู้ช่วยเหลือในส่วนนี้ หรือ เป็นการศึกษาแบบให้เปล่าจากรัฐ จนถึงระดับดิโพลม) | im Grunde genommen | (phrase) โดยพื้นฐาน, See also: hauptsächlich, Syn. grundsätzlich | künstlich | (adj) เทียม, ซึ่งประดิษฐ์ขึ้น เช่น ein künstliches Herz หัวใจเทียม, See also: A. echt, Syn. nachgemacht | angenommen | สมมุติว่า (ใช้บ่งสมมุติฐาน) เช่น Angenommen, wir verpassen den Zug. Was machen wir dann? สมมุติว่าพวกเราตกรถไฟ เราควรทำอะไรต่อ | Vereinigte Staaten | |pl.| สหรัฐ | Vereinigte Staaten von Amerika | (n, uniq) |pl.| ประเทศสหรัฐอเมริกา | Erde | (n) |die, nur Sg.| พื้นดิน, ปฐพี, พื้นพสุธา, พื้นโลก | Mehrwertsteuer | (n) |die, pl. Mehrwertsteuern| ภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น Die Regierung kündigt an, dass die Mehrwertsteuer steigt. = รัฐบาลแจ้งว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มปรับตัวเพิ่มขึ้น | Dienst | (n) |der, pl. Dienste| หน่วยงานบริการ เช่น หน่วยงานราชการ, หน่วยงานของรัฐ, หน่วยงานทหาร, หน่วยงานสาธารณสุข เป็นต้น | Standard | (n) |der, pl. Standards| มาตรฐาน, See also: Norm, Syn. Maßstab | Grüß Gott! | สวัสดี แปลตรงตัว คือ สวัสดีพระเจ้า (ผู้คนตั้งแต่วัยกลางคนขึ้นไปนิยมพูด ใช้กันมากในแถบทางใต้ของเยอรมนี นั่นคือ รัฐบาเยิร์น และรัฐบาเดน-เวือร์ทเทมแบร์ก), See also: Guten Tag, Hallo | Tätigkeit | (n) |die, pl. Tätigkeiten| งานหรือสิ่งที่กำลังทำอยู่(ไม่จำเป็นต้องเป็นงานประจำเสมอ) เช่น Zu seinem einzigartigem Lebenswerk gehöre neben seiner Schauspielerkarriere auch seine erfolgreiche Tätigkeit als Maler, Regisseur, und Autor. นอกเหนือจากอาชีพนักแสดงแล้ว ผลงานชิ้นเอกของเขายังมี งานที่ประสบความสำเร็จในฐานะจิตรกร ผู้กำกับการแสดง และนักประพันธ์อีกด้วย, Syn. Beschäftigung | fördern | (vt) |förderte, hat gefördert, etw.(A)/jmdn.| สนับสนุน, อุปภัมภ์, อุปการะ เช่น Die wissenschaftliche Forschung wird meistens durch die Staat gefördert. งานวิจัยด้านวิชาการส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากทางรัฐ, Syn. unterstützen | senken | (vt) |senkte, hat gesenkt, etw.(A)| ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งลดน้อยลง, ทำให้น้อยลง, ทำให้ต่ำลง เช่น Die Regierung hat die Steuern gesenkt. รัฐบาลลดภาษีลง, See also: A. erhöhen, steigern, Related: sinken, verringern, Syn. herabsetzen | Staat | (n) |der, pl. Staaten| รัฐ, ประเทศ, มลรัฐ (หรือชุมนุมชนที่มีการปกครองเดียวกัน) เช่น Die Europäische Gemeinschaft (EG) besteht aus zwölf Staaten. | entwerfen | (vt) |entwirft, entwarf, hat entworfen, etw.(A)| ออกแบบ, รังสรรค์, ประดิษฐ์, สร้างสรรค์ขึ้นมา เช่น Der Architekt hat einen Bauplan entworfen. สถาปนิกได้ออกแบบแผนการก่อสร้าง | Staatstheater | (n) |das, pl. Staatstheater| โรงละครของรัฐ | drängen | (vt) |drängte, hat gedrängt| ผลักดัน, กระตุ้น, เร่ง เช่น CDU und FDP wollen nach 39 Jahren die SPD aus der Regierungsverantwortung drängen. พรรคเซเดอูและเอฟเดเพต้องการผลักดันให้พรรคเอสเพเดออกจากหน้าที่การเป็นรัฐบาลในอีก 39 ปีหลังจากนี้ | Vorbereitungskurs | (n) |der, pl. Vorbereitungskurse| วิชาหรือหลักสูตรปูพื้นฐานความรู้ก่อนเข้าเรียนในสาขาใดๆ | Adventskalender | (n) |der, pl. Adventskalender| ปฏิทินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของการมาจุติของพระเยซู เริ่มเฉลิมกันในเดือนธันวาคม ซึ่งผู้ใหญ่มักให้เป็นของขวัญแก่เด็กๆ ปฏิทินนี้ประกอบด้วยแผ่นกระดาษสองแผ่นซ้อนทับกัน มีช่องที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้เป็นประตูเปิดได้จากกระดาษชั้นบน ประตูเหล่านี้มีตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 24 ธันวาคม ก่อนถึงวันคริสต์มาส ซึ่งแต่ละช่องจะบอกเล่าถึงเรื่องราวของการประสูติของพระเยซู และอาจมีขนม ของขวัญชิ้นเล็กๆซ่อนอยู่ด้วยก็ได้ | Außenminister | (n) |der, pl. Außenminister| รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ | Ära | (n) |die, pl. Ären| ยุคสมัย เช่น Beginn der Ära Merkel การเริ่มต้นแห่งยุคของ Merkel นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของเยอรมนี, Syn. Epoche | Staatsanwaltschaft | (n) |die, pl. Staatsanwaltschaften| สำนักงานอัยการของรัฐ | Kabinett | (n) |das, pl. Kabinette| คณะรัฐมนตรี (ย่อว่า ครม.) เช่น Ohne Blutvergießen besetzten die Militärs die Schaltstellen der Macht, riefen das Kriegsrecht aus und erklärten das Kabinett und den Senat für aufgelöst. | Grundlagenvertrag | (n) |der, pl. Grundlagenverträge| ข้อตกลงพื้นฐาน เช่น Die Staats- und Regierungschefs der 27 EU-Mitgliedsstaaten hatten sich in der Nacht zum Samstag in Brüssel auf den Weg zu einem neuen Grundlagenvertrag als Ersatz für die gescheiterte EU-Verfassung verständigt.; Den Anstoß zu den Verhandlungen über den Grundlagenvertrag ( | Morphologie | (n) |die, nur Sg.| สัณฐานวิทยา, Syn. Formenlehre | Formenlehre | (n) |die, nur Sg.| สัณฐานวิทยา, See also: morphologisch, Syn. Morphologie | morphologisch | (adj) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematische) morphologische Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์), See also: morphologie | Blickwinkel | (n) |der, pl. Blickwinkel| มุมมอง, ฐานะที่ได้เปรียบกว่า, จุดที่มองได้กว้างขวางมากกว่า เช่น Immer wechselnde Ausstellungen zu den Themen 'Augen' und 'Sehen' lassen das Geschäft immer wieder aus einem anderen BLICKWINKEL erscheinen. | Marionettenregierung | (n) |die, pl. Marionettenregierungen| รัฐบาลหุ่นเชิด รัฐบาลที่ทำงานโดยมีผู้อื่นบงการอยู่ข้างหลัง เช่น Diese Marionettenregierungen waren in der Nachkriegszeit bemüht, die Folgen alliierter Gewaltherrschaft und des Völkermordes zu mildern. | Bundes- | (n) แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (ใช้นำหน้าคำนามอื่นๆ) เช่น Bundeswehr กองทัพเยอรมัน |
| | Etats-Unis | (n) |pl.| ประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น Je vais aux Etats-Unis. ฉันไปอเมริกา, See also: adj. americain | américain | (adj) |-aine| เกี่ยวกับสหรัฐอเมริกา เช่น 1. Laura Bush est américaine. ลอรา บุช เป็นอเมริกัน แปลเป็นไทย คือ ลอรา บุช เป็นชาวอเมริกัน 2. รูปพหูพจนห์ให้เติม s เช่น Bush et Clinton sont américains. Laura et Hillary sont aussi américaines. (สังเกตความแตกต่างของการผัน adj.) | particule | (n) อนุภาคเล็กๆ , ส่วนเล็กๆของเนื้อสารหรือของร่าง ex: Particule élémentaire : ส่วนประกอบพื้นฐานของสสาร เช่น อิเล็คตรอน, quark, Syn. petit part | constitutionnellement | (adv) ตามรัฐธรรมนูญ (เป็นคำในภาษาฝรั่งเศสที่มีจำนวนพยัญชนะและสระในหนึ่งคำมากที่สุด) | calendrier de l'Avent | (n) |m| ปฏิทินชนิดหนึ่งซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลศักดิ์สิทธิ์ของการมาจุติของพระเยซู เริ่มเฉลิมกันในเดือนธันวาคม ซึ่งผู้ใหญ่มักให้เป็นของขวัญแก่เด็กๆ ปฏิทินนี้ประกอบด้วยแผ่นกระดาษสองแผ่นซ้อนทับกัน มีช่องที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้เป็นประตูเปิดได้จากกระดาษชั้นบน ประตูเหล่านี้มีตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 24 ธันวาคม ก่อนถึงวันคริสต์มาส ซึ่งแต่ละช่องจะบอกเล่าถึงเรื่องราวของการประสูติของพระเยซู และอาจมีขนม ของขวัญชิ้นเล็กๆซ่อนอยู่ด้วยก็ได้ |
| entitlement | (n) สิทธิหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายหรือสัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการสวัสดิการสังคม (welfare) จากรัฐ, See also: right, Syn. claim | République et Canton de Genève | สาธารณรัฐแห่งรัฐเจนีวา เป็นหนึ่งในยี่สิบหกรัฐของสมาพันธรัฐสวิส |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |