ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ข้อมูล*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ข้อมูล, -ข้อมูล-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ศัพท์แพทย์ศาสตร์สำหรับคนไทย (MED) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
metadata[สาน ระ ลัก] (n) สารลักษณ์, ลักษณะที่อธิบายถึง ข้อมูล(สาร) ที่มี
PET Scan(n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้

Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ข้อมูลมหัต(n) big data

Longdo Dictionary ภาษา อังกฤษ (EN) - อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ชงโค(name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ข้อมูล(n) data, See also: information, Example: ไวรัสตัวใหม่ทำให้ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์หายไป, Thai Definition: ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ
ข้อมูลดิบ(n) raw data, Example: นักสถิติใช้ประโยชน์จากข้อมูลดิบเพื่อแปลงผลข้อมูล, Thai Definition: ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่มักเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อยหรือน้อยไปหามาก
ข้อมูลออก(n) output data, Ant. ข้อมูลเข้า, Example: ข้อมูลออกจะเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแยกต่างหาก, Thai Definition: ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ซึ่งแสดงหลังจากที่ใส่หรือผ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว
ฐานข้อมูล(n) database, Example: ฐานข้อมูลที่มีการเก็บคุณสมบัติของวัสดุ มักจำกัดเฉพาะกับโลหะ พลาสติก หรือกระเบื้อง
ข้อมูลจริง(n) correct information, See also: truth, Example: เมื่อจะเขียนเรื่องที่เกิดในต่างประเทศ นักเขียนควรจะเดินทางไปเก็บข้อมูลจริง, Thai Definition: ข้อมูลที่ได้รับจากประสบการณ์จริง หรือประสบด้วยตนเอง
ข้อมูลร่วม(n) common data, See also: general data, ordinary message, Example: คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองผู้ใช้ที่มีความต้องการจะมีข้อมูลร่วมเพิ่มขึ้น
ข้อมูลเข้า(n) input data, Ant. ข้อมูลออก, Example: ข้อมูลเข้าของตัวสร้างภาษาคือรูปแทนภาษากลาง, Thai Definition: ข้อมูลที่ใส่หรือป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางคีย์บอร์ด
ป้อนข้อมูล(v) key, See also: enter, Syn. ใส่ข้อมูล, บันทึกข้อมูล, คีย์ข้อมูล, Example: โดยปกติแล้วผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะป้อนข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์, Thai Definition: นำข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์ทางแป้นพิมพ์
ส่วนข้อมูล(n) information division
เก็บข้อมูล(v) collect / gather data, See also: call / gather information
แฟ้มข้อมูล(n) file, Example: ปัญหาคือไม่สามารถเปิดแฟ้มข้อมูลเพื่ออ่านได้, Thai Definition: ที่สำหรับเก็บข้อมูลต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ทั้งที่เป็นเอกสารและภาพภายใต้การตั้งชื่อเฉพาะ
สำรองข้อมูล(v) store data
แหล่งข้อมูล(n) data source
แหล่งข้อมูล(n) source of information, Example: ศิลาจารึกเป็นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นข้อสังเกตเพิ่มเติมจากที่ผู้เขียนเคยเสนอไว้แล้ว, Count Unit: แหล่ง, แห่ง, Thai Definition: สถานที่ซึ่งเป็นที่รวมของข้อมูล
แหล่งข้อมูล(n) source of information, Example: ศิลาจารึกเป็นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นข้อสังเกตเพิ่มเติมจากที่ผู้เขียนเคยเสนอไว้แล้ว, Count Unit: แหล่ง, แห่ง, Thai Definition: สถานที่ซึ่งเป็นที่รวมของข้อมูล
ข้อมูลรูปภาพ(n) pictorial information, See also: graphic, Syn. ข้อมูลภาพ, Example: เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปมาก จนสามารถที่จะประมวลผล และเก็บรวบรวมข้อมูลรูปภาพได้จำนวนมาก, Thai Definition: ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นรูปภาพ
ผู้ให้ข้อมูล(n) informant, Syn. ผู้บอกข้อมูล, Example: เขาต้องการผู้ให้ข้อมูลที่เป็นคนพื้นถิ่นจริงๆ, Count Unit: คน
ข้อมูลข่าวสาร(n) news information, Syn. ข่าวสาร, Example: ระบบแลนเป็นการเชื่อมต่อเครื่องพีซีให้มีการใช้ข้อมูลข่าวสาร และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ร่วมกัน, Thai Definition: ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ฐานข้อมูลร่วม(n) integral database, Example: โปรแกรม MapInfo มีโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลร่วมอยู่ด้วยมีชื่อว่า Mbase
ตัวเก็บข้อมูล(n) storage, See also: memorandum, Syn. ตัวบันทึกความจำ, Example: ปริมาณของตัวเก็บข้อมูลปกติคงจะอยู่ที่ 90 เมกะไบต์, Thai Definition: ส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์
ตัวเก็บข้อมูล(n) storage, See also: memorandum, Syn. ตัวบันทึกความจำ, Example: ปริมาณของตัวเก็บข้อมูลปกติคงจะอยู่ที่ 90 เมกะไบต์, Thai Definition: ส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์
ข้อมูลขนาดใหญ่(n) a large amount of information, See also: voluminous information, Example: CD - ROM สามารถบันทึกข้อมูลขนาดใหญ่ได้จำนวนมาก, Thai Definition: ข้อมูลที่มีจำนวนมาก
ประมวลผลข้อมูล(v) process data (information), See also: evaluate data (information), Example: ดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ประมวลผลข้อมูลในลักษณะของตัวเลข, Thai Definition: รวบรวมผลของข้อมูลให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร(n) information center, Syn. ศูนย์ข่าว
เครื่องเก็บบันทึกข้อมูล(n) data entry equipment, Syn. เครื่องบันทึกข้อมูล, Thai Definition: อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียม และบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผล

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อมูลน. ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ.
ข้อมูลข่าวสารน. สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใด ๆ.
ข้อมูลข่าวสารของราชการน. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ.
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลน. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน.
ข้อมูลเครดิตน. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อกับสถาบันการเงิน และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติการได้รับอนุมัติสินเชื่อและการชำระสินเชื่อ.
บริษัทข้อมูลเครดิตน.บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเกี่ยวกับการควบคุมหรือการประมวลผลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อ เพื่อให้ข้อมูลแก่สมาชิกหรือผู้ใช้บริการ.
ระบบข้อมูลน. กระบวนการประมวลผลด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับสร้าง ส่ง รับ เก็บ รักษา หรือประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์.
การทะเบียนราษฎรน. งานทะเบียนต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร.
กำปั้นทุบดินน. ลักษณะการตอบที่ไม่ได้ให้ข้อมูลที่ผู้ถามต้องการรู้ เช่น ฉันถามว่า “ทำไมนาฬิกาไม่เดิน” เขาตอบแบบกำปั้นทุบดินว่า “เพราะมันตายน่ะซิ”.
ค้นคว้าก. หาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา, เสาะหาเอามา.
ความถี่จำนวนคะแนนในกลุ่มของข้อมูลที่มีสมบัติเหมือนกัน.
เครดิตบูโร<i>ดู</i> <i> บริษัทข้อมูลเครดิต</i>.
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาน. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาทดลองงานทางด้านการเกษตร ภายในบริเวณสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนำมาเป็นแบบอย่างสำหรับปฏิบัติตามหรือปรับปรุงแก้ไขในการประกอบอาชีพของราษฎร แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ โครงการไม่ใช่ธุรกิจ เช่น บ่อเพาะเลี้ยงปลานิล ป่าไม้สาธิต นาข้าวทดลอง และโครงการกึ่งธุรกิจ เช่น โรงงานผลิตและแปรรูปนมสดครบวงจร โรงสีข้าว.
ดาวเทียมน. วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือรอบเทห์ฟากฟ้าอื่น มีอุปกรณ์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศและถ่ายทอดข้อมูลนั้นมายังโลก, วัตถุลักษณะดังกล่าวที่โคจรรอบโลก ใช้เป็นอุปกรณ์โทรคมนาคมด้วย เช่น ถ่ายทอดคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ข้ามทวีป.
โดยสุจริตว. โดยบริสุทธิ์ใจ ประพฤติชอบ โดยไม่รู้ถึงข้อมูลที่เป็นเหตุไม่ชอบ.
ทฤษฎี(ทฺริดสะดี) น. หลักการทางวิชาการที่ได้ข้อสรุปมาจากการค้นคว้าทดลองเป็นต้น เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก ทฤษฎีแสง. (ส.; ป. ทิฏฺ).
โทรสารน. ระบบสื่อสารที่ใช้ส่งและรับรูปภาพหรือข้อความในรูปของคลื่นสัญญาณไฟฟ้าผ่านระบบโทรคมนาคม เครื่องส่งในระบบนี้จะกราดเอกสารที่ต้นทางแล้วแปลงข้อมูลเป็นคลื่นสัญญาณไฟฟ้า ก่อนที่จะส่งผ่านสายไฟฟ้า เส้นใยแก้ว หรือคลื่นวิทยุ ไปยังเครื่องรับที่ปลายทาง ซึ่งจะแปลงคลื่นสัญญาณไฟฟ้ากลับมาเป็นข้อมูลเอกสารเดิม ก่อนที่จะพิมพ์ออกมาในแผ่นกระดาษ, เดิมใช้ โทรภาพ
บัตรอิเล็กทรอนิกส์น. บัตรที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้โดยบันทึกข้อมูลหรือรหัสไว้ในบัตรด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน ซึ่งรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสงหรือวิธีการทางแม่เหล็ก เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต บัตรสมาร์ทการ์ด.
แบบสอบถามน. แบบรายการคำถามที่ให้บุคคลต่าง ๆ กรอกคำตอบเพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับหาข้อสรุปความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่เป็นต้น, แบบข้อคำถาม ก็ว่า.
ใบปลิวน. กระดาษที่ลงข่าวสารหรือข้อมูลโฆษณาขนาดสั้น เช่น แผ่นปลิวโฆษณาการเลือกตั้ง แผ่นปลิวขายยาสมุนไพร แผ่นปลิวโฆษณาอาหาร, แผ่นปลิว ก็เรียก.
แผ่นปลิวน. กระดาษที่ลงข่าวสารหรือข้อมูลโฆษณาขนาดสั้น เช่น แผ่นปลิวโฆษณาการเลือกตั้ง แผ่นปลิวขายยาสมุนไพร แผ่นปลิวโฆษณาอาหาร, ใบปลิว ก็เรียก.
แผ่นพับน. แผ่นปลิวที่ให้ข้อมูลเฉพาะเรื่องในการประชาสัมพันธ์ มักจัดข้อมูลเป็นหัวข้อและพับเป็นรูปเล่ม เช่น แผ่นพับวิธีป้องกันไข้หวัด แผ่นพับประชาสัมพันธ์งานนิทรรศการ.
ภาษาศาสตร์น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล.
ยันกันก. พิสูจน์ต่อหน้าให้รู้ข้อเท็จจริง เช่น เอาพยานมายันกัน, สอบข้อมูลหรือรายการให้ตรงกัน เช่น เอาบัญชีมายันกัน.
ราชกิจจานุเบกษาน. สิ่งพิมพ์ของทางราชการที่จัดให้มีขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อเป็นที่ประกาศข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่ประสงค์จะให้ประชาชนได้ทราบ เช่น กฎหมาย ประกาศคนล้มละลาย การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบริษัท.
วิจัย ๒น. การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น วิจัยเรื่องปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร.
วิจัย ๒ก. ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น เขากำลังวิจัยเรื่องมลพิษทางอากาศอยู่.
วิจัย ๒ว. ที่ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น งานวิจัย.
ไวรัสคอมพิวเตอร์น. ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถแพร่ไปสู่โปรแกรมอื่น ๆ ด้วยการสำเนาตัวเองไปไว้ในโปรแกรมนั้น ๆ ซึ่งอาจทำความเสียหายแก่โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูล.
สอบถามก. ถามเพื่อขอทราบข้อมูลที่ต้องการ เช่น สอบถามเวลาเดินรถ.
สับสนก. ปะปนกันยุ่งไม่เป็นระเบียบ เช่น ข่าวสับสนทำให้ได้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ผู้คนมากมายเดินไปมาสับสน.
สารนิเทศ(สาระนิเทด) น. การชี้แจงแนะนำเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ.
สารสนเทศการแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ.
สำมะโนน. การสำรวจโดยการแจงนับจากทุกหน่วยที่เกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ.
สำมะโนครัวน. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนราษฎรในแต่ละครัวเรือน.
สำมะโนประชากรน. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนและลักษณะต่าง ๆ ของราษฎรทุกคนในทุกครัวเรือน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ.
หมายเหตุน. คำอธิบาย ข้อความ หรือข้อมูลเพิ่มเติม.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
processed resultผลการประมวลผล, ผลการจัดกระบวนข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
period tableตารางช่วงเวลา, ตาราง (ข้อมูล) ตามช่วงเวลา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
paired observationsข้อมูลสังเกตชนิดคู่ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
packet; data packetกลุ่ม, กลุ่มข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
packet assembler/disassembler (PAD)ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล (แพด, พีเอดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
packet assembler/disassembler (PAD)ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล (แพด, พีเอดี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
projection๑. การฉาย๒. การแสดงส่วนไม่ซ้ำ [ ใช้เฉพาะงานฐานข้อมูล ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
PAD (packet assembler/disassembler)แพด, พีเอดี (ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
PAD (packet assembler/disassembler)แพด, พีเอดี (ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
primary dataข้อมูลปฐมภูมิ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
private data networkเครือข่ายข้อมูลส่วนบุคคล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
PSN (packet switching network)พีเอสเอ็น (ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
PSN (packet switching wetwork)พีเอสเอ็น (ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
public data networkเครือข่ายข้อมูลสาธารณะ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
packet switchingการสลับกลุ่มข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
packet switchingการสลับกลุ่มข้อมูล [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
packet switching network (PSN)ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล (พีเอสเอ็น) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
packet switching network (PSN)ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล (พีเอสเอ็น) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
listingรายการข้อมูล, การทำรายการข้อมูล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
literature๑. วรรณกรรม๒. วรรณคดี๓. เอกสารข้อมูล [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
radiation dataข้อมูลการแผ่รังสี [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
raw dataข้อมูลดิบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
raw dataข้อมูลดิบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
relational databaseฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
store cycle; memory cycle; storage cycleช่วงเวลารอบเก็บข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
secondary dataข้อมูลทุติยภูมิ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
storage cycle; memory cycle; store cycleช่วงเวลารอบเก็บข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
switched multimegabit data service (SMDS)บริการสลับข้อมูลแบบหลายเมกะบิต (เอสเอ็มดีเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
sense-dataข้อมูลทางประสาทสัมผัส [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
SMDS (switched multimegabit data service)เอสเอ็มดีเอส (บริการสลับข้อมูลแบบหลายเมกะบิต) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
synchronous data link control (SDLC)การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา (เอสดีแอลซี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
synchronous data link control (SDLC)การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา (เอสดีแอลซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
SDLC (synchronous data link control)เอสดีแอลซี (การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
SDLC (synchronous data link control)เอสดีแอลซี (การควบคุมวิธีเชื่อมโยงข้อมูลแบบประสานเวลา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
streamกระแส(ข้อมูล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
output dataข้อมูลออก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
air data computer (ADC)คอมพิวเตอร์บอกข้อมูลอากาศยาน (เอดีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
automatic data captureการยึดเก็บข้อมูลอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
automatic data processing (ADP)การประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ (เอดีพี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ATM adaptation layer (AAL)ชั้นการปรับเปลี่ยนข้อมูลเอทีเอ็ม (เอเอแอล) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
AAL (ATM adaptation layer)เอเอแอล (ชั้นการปรับเปลี่ยนข้อมูลเอทีเอ็ม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
analog dataข้อมูลเชิงอุปมาน, ข้อมูลแอนะล็อก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ADP (automatic data processing)เอดีพี (การประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ADT (abstract data type)เอดีที (แบบชนิดข้อมูลนามธรรม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
abstract data type (ADT)แบบชนิดข้อมูลนามธรรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
abstract data type (ADT)แบบชนิดข้อมูลนามธรรม (เอดีที) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
analog telemeteringการวัดและส่งข้อมูลทางไกลเชิงแอนะล็อก [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ADC (air data computer)เอดีซี (คอมพิวเตอร์บอกข้อมูลอากาศยาน) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
aggregate dataข้อมูลรวม, ข้อมูลชุด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
buffer๑. ที่พัก(ข้อมูล)๒. บัฟเฟอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Databaseฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Primary sourceแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Database managementการจัดการฐานข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Eletronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Record structureโครงสร้างข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Data contentเนื้อหาข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา]
Cataloging in Publicationการจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Data contentเนื้อหาข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Databaseฐานข้อมูล, Example: <p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Database managementการจัดการฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Eletronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Record structureโครงสร้างข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Chief source of informationแหล่งข้อมูลที่กำหนด, Example: ในการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือ บรรณารักษ์จะต้องทราบว่า จะสามารถหาข้อมูลได้จากแหล่งที่ได้มีการกำหนดร่วมกันซึ่งเป็นหลักการของการลงรายการ ซึ่งหมายถึง แหล่งสำคัญของข้อมูล สำหรับเอกสารตีพิมพ์นั้น แหล่งสำคัญของข้อมูล คือ หน้าปกใน ถ้าไม่มีหน้าปกใน ให้ใช้แหล่งในตัวเล่มซึ่งใช้แทนหน้าปกใน สำหรับเอกสารตีพิมพ์ออกมาโดยไม่มีหน้าปกใน หรือไม่มีหน้าปกในที่ให้รายละเอียดได้ทั้งหมด ให้ใช้ส่วนอื่นของเล่มที่ให้ข้อมูลสมบูรณ์ที่สุด ไม่ว่าส่วนนั้นจะเป็นหน้าปก (ไม่่รวมใบหุ้มปกที่แยกต่างหากออกจากตัวเล่ม) หน้าชื่อเรื่อง (half title page) ชื่อนำเนื้อเรื่อง (caption) การแจ้งตอนท้ายเล่มซึ่งให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ ปีที่พิมพ์ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือรายอย่างและอาจจะรวมถึงรายละเอียดอื่นๆ ด้วย ชื่อเรื่องประจำหน้า (running titole) หรือส่วนอื่น ถ้าไม่มีส่วนใดในตัวเล่มให้ข้อมูลที่จะสามารถใช้เป็นหลักในการลงรายการ ให้ใช้ข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งอื่นที่มี ถ้าข้อมูลที่ควรจะปรากฏอยู่ในหน้าปกในไปปรากฏอยู่ในหน้าติดกัน (facing pages) หรือในหน้าถัดๆ ไป จะซ้ำักันหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าหน้าเหล่านี้เป็นหน้าปกใน ให้ใช้การแจ้งตอนท้ายเล่ม (colophon)เป็นแหล่งสำคัญของข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Fieldเขตข้อมูล, Example: เขตข้อมูล (field) คือ พื้นที่ที่กันไว้สำหรับเก็บข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล ซึ่งเป็นหน่วยย่อยรองลงมาจากระเบียน เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละระเบียน เช่น เขตข้อมูลปีที่พิมพ์จะเป็นส่วนที่บอกได้ว่าระเบียนที่ค้นคืนได้ หรือที่แสดงผลอยู่นั้นจัดพิมพ์ในปีใด หรือเขตข้อมูลชื่อเรื่องช่วยจำกัดผลการค้นให้ตรงกับความต้องการมากขึ้น</p> <p> การลงรายการทรัพยากรห้องสมุดนั้น เขตข้อมูล (field) เป็นการกำหนดว่าแต่ละเขตข้อมูลนั้นจะมีความยาวเท่าไร และตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด โดยแต่ละระเบียนจะประกอบไปด้วยเขตข้อมูลจำนวนมากรวมกัน และจัดกลุ่มหรือประเภทของเขตข้อมูลด้วยหมายเลขประจำเขตข้อมูล โดยใช้เลข 3 หลัก เริ่มต้นจาก 001 ถึง 999 แทนชื่อเขตข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านข้อมูล ค้นหา และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว</p> <p> <img alt="เขตข้อมูล (field)" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/php451SyK.preview.jpg" style="width: 427px; height: 466px" /></p> <p> ตัวอย่างเขตข้อมูลโดยหมายเลขประจำเขตข้อมูล 3 หลัก ที่จำเป็น เช่น</p> <ul> <li> 020 หมายเลขมาตรฐานหนังสือสากล (International Standard Book Number)</li> <li> 100 ชื่อบุคคลที่เป็นรายการหลัก (Personal name main entry)</li> <li> 245 ชื่อเรื่อง (Title information)</li> <li> 260 ข้อมูลการพิมพ์(Publication information)</li> <li> 300 ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ (Physical information)</li> <li> 440 ชื่อชุด/รายการเพิ่ม (Series statement/added entry)</li> <li> 500 หมายเหตุ (Note (s))</li> <li> 650 หัวเรื่อง (Tropical subject headings)</li> </ul> <p> นอกจากนี้ ยังทำให้ฐานข้อมูลมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน</p> <p> &nbsp;</p> <p> อ้างอิง :</p> <p> คูคิน, แดน และวัง, เวลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.</p> <p> ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต (พิมพ์ครั้งที่ 10 ฉบับปรับปรุงใหม่ตลอดเล่ม). กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.<span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span></p> <p> มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.</p> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Field special searchการสืบค้นแบบเฉพาะเจาะจงเขตข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Serial Data Systemระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ, Example: <p>ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ (ISDS) เป็นระบบที่ดำเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วยคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็นสมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย <p>ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Bibliographic Descriptionsมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online databaseฐานข้อมูลแบบออนไลน์, Example: <p>ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญในการให้บริการของห้องสมุด ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้จัดการฐานข้อมูลหรือสำนักพิมพ์สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา <p>ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ <p>1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพื่อแนะนำผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับจริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) ฐานข้อมูล ISI : Web of Science ฐานข้อมูล Scopus โดยทั้งสองฐานข้อมูลเป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ให้ข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database) ครอบคลุมสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ในสาขาวิชาหลัก คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยวิชาการ (Research Performance Evaluation / Research Performance Measurement: RPM) ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้านการศึกษา เป็นต้น <p>2. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Primary sourceแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ, Example: <p>แหล่งข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ <p>แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source หรือ Primary data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่เก็บจากต้นแหล่งแท้ครั้งแรก ซึ่งอาจจะได้มาจากหลากหลายวิธี เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การทดลองในห้องทดลอง หรือการจดบันทึก <p>ข้อมูลปฐมภูมิ ยังรวมถึง งานต้นฉบับ ผลงานศิลปะ สถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้าง การแกะสลัก การเขียนบันทึกตัวหนังสือ รูปภาพ เรื่องราวลงบนวัตถุต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณ <p>ข้อมูลปฐมภูมิที่สำคัญ คือ ผลงานวิจัยต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเอกสารประเภทสิทธิบัตร รายงานประชุม เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Union catalog databaseฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Database searchingการค้นหาฐานข้อมูล, Example: <p>การค้นหาฐานข้อมูล หรือ การสืบค้นฐานข้อมูล หมายถึงกระบวนการ วิธีการ ในการสืบค้นสารสนเทศประเภทฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปมีขั้นตอนในการสืบค้น ดังนี้ <p>1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>2. กำหนดคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>3. เลือกฐานข้อมูล <p>4. หากผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ตรงกับความต้องการ ให้ปรับปรุงกลวิธีการสืบค้น อาจใช้เทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง โดยการใช้ตรรกะ (Logical operator) and or not ช่วยในการสืบค้น เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น <p>ประโยชน์ของฐานข้อมูล มีดังนี้ <P>1. จัดเก็บสารสนเทศได้ปริมาณมาก ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ <p>2. จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทำให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากกว่าการค้นด้วยมือ ประหยัดเวลาในการค้นหา <p>3. ปรับปรุง และแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัย <p>4. เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง <p>5. มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบเครือข่ายที่ทันสมัย ทำให้ฐานข้อมูลแพร่หลาย และสามารถจัดหาเพื่อให้บริการได้ง่ายจากทั่วโลก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
File organization (Computer science)การจัดแฟ้มข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online data processingการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Repositoryคลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
File transferการถ่ายแฟ้มข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Database designการออกแบบฐานข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Data structures (Computer sciences)โครงสร้างข้อมูล (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliominingการทำเหมืองข้อมูลบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Data sharingการแลกเปลี่ยนข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Database managementการจัดการฐานข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electronic data processingการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Backup systemระบบจัดการการสำรองข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electronic data processing documentationเอกสารประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Data compression (Telecommunication)การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Data compression (Telecommunication)การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม) [เทคโนโลยีการศึกษา]
Disclosure of informationการเปิดเผยข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Electronic government informationข้อมูลข่าวสารของราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Distributed databaseฐานข้อมูลแบบกระจาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Packet switching (Data transmission)แพ็กเกตสวิตชิง (การสื่อสารข้อมูล) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Dataข้อมูล [เศรษฐศาสตร์]
Insider tradingการซื้อขายหลักทรัพย์โดยอาศัยข้อมูลวงใน [เศรษฐศาสตร์]
Data recovery (Computer science))การกู้ข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Data encryption (Computer science))การเข้ารหัสลับข้อมูล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Statistical dataข้อมูลเชิงสถิติ [เศรษฐศาสตร์]
Trade data interchangeการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการค้า [เศรษฐศาสตร์]
dataข้อมูล, Example: ข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตหรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ของโลก เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์นั้น โดยทั่วไปก็คือ ตัวเลข หรือข้อความที่บันทึกเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ผลการสอบของนักเรียน เป็นข้อมูลที่ทำให้ทราบว่า นักเรียนมีความรู้ความสามารถในวิชาที่สอนนั้นหรือไม่ ข้อมูลที่นำมาประมวลและจัดเรียบเรียงให้มีความหมาย เช่น นำมาคำนวณแล้วจัดพิมพ์ลงในรายงานนั้นเรียกว่า สารสนเทศ (information) [คอมพิวเตอร์]
File transferการถ่ายแฟ้มข้อมูล [คอมพิวเตอร์]
Real-time data processingการประมวลผลข้อมูลแบบทันที [คอมพิวเตอร์]
Online data processingการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ [คอมพิวเตอร์]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
- Information.- ข้อมูล Holocron Heist (2009)
Any information?ไหนหล่ะข้อมูล ? The Good, the Bad and the Ugly (1966)
- We take it from a German petrol dump.เราเอามันจากการถ่ายโอน ข้อมูลน้ำมันเยอรมัน ดีมากครับ How I Won the War (1967)
I don't know your name but I'd like you to have my camera.แต่ฉันต้องการให้คุณมีกล้อง ของฉัน สั่งซื้อศัตรูข้อมูลศูนย์ How I Won the War (1967)
Orders, information enemy, nil. Information own troops.ข้อมูลกองกำลังของตัวเอง How I Won the War (1967)
(all) The rest of the troop, under my command, will crawl to a point - figures - 100 yards in front of the objective where they will wait for the LMG to get into position.ส่วนที่เหลือของทหารภายใต้ คำสั่งของฉัน จะรวบรวมข้อมูลไปยังจุด ตัวเลข 100 หลา ในด้านหน้าของวัตถุประสงค์ที่ พวกเขาจะ How I Won the War (1967)
Give me your answer, filii in a form, mine forever moreให้ฉันคำตอบของคุณกรอกข้อมูลลง ในแบบฟอร์ม ของฉันตลอดไป Yellow Submarine (1968)
-Tell us of the apes.บอกข้อมูลเรื่องลิงมา Beneath the Planet of the Apes (1970)
I found out about Captain McCluskey, who broke Mike's jaw.ผมพบว่าข้อมูลเกี่ยวกับกัปตันคสัสที่ยากจนกรามของไมค์ The Godfather (1972)
There are people who'd pay a lot of money for that information.มีคนที่ต้องการจ่ายเงินเป็นจำนวนมากสำหรับข้อมูลที่มี The Godfather (1972)
You got a scoop here, an exclusive, a hold-the-presses.นักข่าว คุณมีเนื้อข่าวแล้ว คุณมีข้อมูลทำข่าว เข้าไปสิ Oh, God! (1977)
You have your information.และคุณจะรู้ว่า คุณมีข้อมูลของ คุณ Mad Max (1979)
Okay.คุณมีข้อมูลของคุณ โอเค Mad Max (1979)
State County Municipal Offender Data System.จังหวัด เขตปกครอง เทศบาล ผู้กระทำความผิดในระบบข้อมูล The Blues Brothers (1980)
We've got some information, but we can't decipher it. Maybe you can.เราได้ข้อมูลบางส่วนมา, แต่เราทำอะไรกับมันไม่ได้, และคุณอาจทำได้ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
Besides, with the information we have, my calculations were correct.นอกจากนั้น, ด้วยข้อมูลที่เรามี, การคำนวนของผม ถูกต้อง Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
Some piece of information which I can use to protect you from them.ข้อมูลบางอย่าง ที่ผมสามารถใช้ปกป้องคุณ Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
Maybe catch some cross talk.ข้อมูลบางอย่าง บางทีจับบางพูดคุยข้าม First Blood (1982)
I want to document coldly, rationally, what is being done here.ผมต้องการบันทึก ข้อมูลทุกอย่างที่ทำที่นี่ Gandhi (1982)
What have you found out about it?คุณมีสิ่งที่พบข้อมูลเกี่ยวกับมัน ได้หรือไม่ 2010: The Year We Make Contact (1984)
You're not familiar with the system. And longer than that to comprehend the data.และยาวกว่าที่จะเข้าใจข้อมูล 2010: The Year We Make Contact (1984)
Tell him, if we do go, we'll lie give the Russians false information.บอกเขาว่าถ้าเราไม่ไปเราจะ นอน ให้รัสเซียข้อมูลที่เป็นเท็จ บอกเขาว่า เขาจะบอกว่ารัก 2010: The Year We Make Contact (1984)
You've told me that we can't solve Hal's behavior without more information.คุณเคยบอกว่าเราไม่สามารถ แก้ปัญหา ปัญหาที่เกิดจากพฤติกรรมของ แฮล โดยไม่มีข้อมูลเพิ่มเติม ถูกต้อง. 2010: The Year We Make Contact (1984)
I agree that we need more information, so that we may solve the anomalies.ฉันยอมรับว่าเราต้องการข้อมูล เพิ่มเติม เพื่อที่เราจะแก้ปัญหาความ ผิดปกติ 2010: The Year We Make Contact (1984)
-And how do we get that information?และวิธีการที่เราจะได้รับข้อมูล ที่? ที่เห็นได้ชัดคือ 2010: The Year We Make Contact (1984)
I am unable to answer that without more specific information.ฉันไม่สามารถที่จะตอบว่า โดยไม่มีข้อมูลที่เฉพาะเจาะจง มากขึ้น 2010: The Year We Make Contact (1984)
Dr. OrIov has encountered some strange data coming from Europa.ดร. ล็อฟได้พบบางอย่าง ข้อมูลแปลก ๆ มาจากยูโรป้า 2010: The Year We Make Contact (1984)
If you look carefully at the last page of the data, you will find the answers.ถ้าคุณดูอย่างละเอียดที่หน้า สุดท้าย ของข้อมูลที่คุณจะได้รับคำตอบ ของ 2010: The Year We Make Contact (1984)
If this data's correct, then there's something down there.ถ้าข้อมูลนี้ถูกต้อง แล้วมีบางสิ่งบางอย่างลงไปที่ นั่น 2010: The Year We Make Contact (1984)
We all saw it. We read the data.เราทุกคนเห็นมัน เราอ่านข้อมูล 2010: The Year We Make Contact (1984)
So here we are, nine years later, trying to figure out what happened and what the monolith is all about.พยายามที่จะคิดออกว่านรกที่ เกิดขึ้น และสิ่งที่เสาเป็นข้อมูลเกี่ยวกับ 2010: The Year We Make Contact (1984)
Our data confirms yours:ข้อมูลของเรายืนยันของคุณ: 2010: The Year We Make Contact (1984)
Is there any information stored in Hal about the monolith?มีข้อมูลใด ๆ ที่เก็บไว้ในระบบ แฮล เกี่ยวกับหินใหญ่ก้อนเดียว? 2010: The Year We Make Contact (1984)
The situation is in conflict with the basic purpose of Hal's design the accurate processing of information without distortion or concealment.สถานการณ์อยู่ในความขัดแย้ง กับพื้นฐาน วัตถุประสงค์ของการออกแบบ ของ แฮล ที่ถูกต้อง การประมวลผลข้อมูล 2010: The Year We Make Contact (1984)
Dr. Curnow asked ground to furnish him with data as to the stress points on Discovery.ดร. นาวถามพื้นดินให้แก่เขา ด้วย ข้อมูลเป็นจุดความเครียด ในดิสคัเฟอรี 2010: The Year We Make Contact (1984)
It's been 12 hours since my request for information.จะได้รับ 12 ชั่วโมงนับตั้งแต่คำ ขอของฉัน สำหรับข้อมูล. 2010: The Year We Make Contact (1984)
I have no information regarding a new space station.ฉันไม่มีข้อมูล เกี่ยวกับสถานีอวกาศใหม่ 2010: The Year We Make Contact (1984)
The entire place is crawling with living things.สถานที่ทั้งหมดจะถูกรวบรวมข้อมูลกับสิ่งมีชีวิต Indiana Jones and the Temple of Doom (1984)
He decided to put his information to good use and make a little money out of it.เขาตัดสินใจที่จะเอาข้อมูล ไปใช้ทางที่ถูกต้อง และทำให้เงินเล็กน้อยออกจากมัน Clue (1985)
That's how he got all his information.นั่นคือวิธีที่เขาหาข้อมูล Clue (1985)
What kind of information did he have?เขามีข้อมูลอะไร? Clue (1985)
You as a mere butler have no access to government secrets.คุณเป็นแค่พ่อบ้าน ไม่มีข้อมูลความลับของรัฐบาล Clue (1985)
- We can still get information from it.- แต่เราเก็บข้อมูลจากมันแล้ว Day of the Dead (1985)
They got microfilm with tax return and newspaper stories.มีไมโครฟิลม์เก็บข้อมูลภาษี และข่าวหนังสือพิมพ์ Day of the Dead (1985)
that information is on a need-to-know basis. at this particular time, you do not need to know.คุณจะได้รับข้อมูลเมื่อถึงที่หมาย ตอนนี้ยังไม่จำเป็นต้องรู้ Spies Like Us (1985)
enter first numbered sequence."- "ใส่ข้อมูลชุดแรก" Spies Like Us (1985)
I found some information for you.ลิตรพบข้อมูลบางอย่างสำหรับคุณ Bloodsport (1988)
This projection was constructed using mixed data, so a comparison is difficult, but I believe this boy's pattern is the key to solving the riddle of Akira's pattern growth process.การคาดการณ์นี้ถูกสร้างขึ้นด้วยการใช้ ข้อมูลผสม ดังนั้นการเปรียบเทียบจึงเป็นสิ่งที่ยาก แต่ผมเชื่อว่าลักษณะโครงสร้างของเด็ก คนนี้เหมือนกุญแจไปสู่การแก้ปัญหา ปริศนาของ แบบแผนในกระบวนการเติบโตของอากิระ Akira (1988)
Well, if we use the latest examination equipment to collect even more data and do a multifaceted analysis, then surely...ได้ ถ้าเราใช้ตัวอย่างครั้งสุดท้าย มาประกอบกับข้อมูลที่เราได้ ...และ ทดลองวิเคราะห์หลายทาง เพื่อความแน่นอน Akira (1988)
We have all sorts of data that substantiate her abilities.เรามีประเภทของข้อมูลทั้งหมด นั่นจะทำให้รู้ถึงความสามารถของเธอ. Akira (1988)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ชนิดข้อมูล[chanit khømūn] (n, exp) EN: data type  FR: type de données [ m ]
ชื่อแฟ้มข้อมูล[cheū faēm khømūn] (n, exp) EN: file name  FR: nom du fichier [ m ] ; titre du dossier [ m ]
ชุดข้อมูล[chut khømūn] (n, exp) EN: data set  FR: sélection [ f ]
แฟ้มข้อมูล[faēm khømūn] (n) EN: file  FR: fichier [ m ]
ให้ข้อมูล[hai khømūn] (v, exp) EN: give some information  FR: donner des informations ; informer
ให้ข้อมูลผิด[hai khømūn phit] (v, exp) EN: misinform
จัดการข้อมูล[jatkān khømūn] (v, exp) EN: process data
การแบ่งกลุ่มข้อมูล[kān baeng klum khømūn] (n, exp) EN: data clustering ; data classification
การแบ่งกลุ่มข้อมูลอัตโนมัติ[kān baeng klum khømūn attanōmat] (n, exp) EN: automatic classification
การเก็บข้อมูล[kān kep khømūn] (n, exp) FR: conservation des données [ f ]
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล[kān khumkhrøng khømūn suanbukkhon] (n, exp) EN: personal data protection  FR: protection des données personnelles [ f ]
การมีข้อมูลมากเกินไป[kān mī khømūn māk koēnpai] (n, exp) EN: information overload
การนำเสนอข้อมูล[kān namsanōe khømūn] (n, exp) EN: data presentation
การโอนย้ายข้อมูล[kān ōnyāi khømūn] (n, exp) EN: data transfer  FR: transfert de données [ m ]
การป้องกันข้อมูล[kān pǿngkan khømūn] (n, exp) EN: data protection  FR: protection des données [ f ]
การประมวลผลข้อมูล[kān pramūanphon khømūn] (n, exp) EN: data processing  FR: traitement des données [ m ]
การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์[kān pramūanphon khømūn thāng ilekthrønik] (n, exp) EN: Electronic Data Processing (EDP)
การรับส่งข้อมูล[kān rapsong khømūn] (n, exp) EN: data transmission  FR: transmission de données [ f ]
การรวบรวมข้อมูล[kān rūaprūam khømūn] (n, exp) EN: data collection ; data acquisition
การซื้อขายโดยใช้ข้อมูลวงใน[kān seūkhāi dōi chai khømūn wong-nai] (n, exp) EN: insider trading ; insider dealing
การสอบถามข้อมูล[kān søpthām khømūn] (n, exp) EN: query  FR: requête [ f ]
เก็บข้อมูล[kep khømūn] (v, exp) EN: record data  FR: enregistrer des données ; conserver des informations
ขนาดแฟ้มข้อมูล[khanāt faēm khømūn] (n, exp) EN: file size  FR: taille du fichier [ f ] ; volume du fichier [ m ]
เขตข้อมูล[khēt khømūn] (n) EN: field  FR: champ [ m ] ; rubrique [ f ]
คีย์ข้อมูล[khī khømūn] (n, exp) EN: key
คลังข้อมูล[khlang khømūn] (n, exp) EN: database ; data bank  FR: base de données [ f ] ; banque de données [ f ]
ข้อมูล[khømūn] (n) EN: data ; facts ; information  FR: donnée [ f ] ; information [ f ] ; chiffre [ m ]
ข้อมูลด้านแรงงาน[khømūn dān raēng-ngān] (n, exp) EN: labour data = labor data (Am.)  FR: chiffre de l'emploi [ m ]
ข้อมูลภายใน[khømūn phāinai] (n, exp) EN: inside information
ข้อมูลป้อนกลับ[khømūn pøn klap] (n, exp) EN: feedback
ข้อมูลสถิติ[khømūn sathiti] (n, exp) EN: statistical data  FR: données statistiques [ fpl ]
แหล่งข้อมูล[laēng khømūn] (n, exp) EN: data source ; source of information
แหล่งข้อมูลอื่น[laēng khømūn eūn] (n, exp) EN: external link [ m ]  FR: lien externe [ m ]
นำข้อมูลเข้า[nam khømūn khao] (v, exp) EN: import  FR: importer des données
ผู้ให้ข้อมูล[phū hai khømūn] (n, exp) EN: informant  FR: informateur [ m ] ; indicateur [ m ]
ป้อนข้อมูล[pøn khømūn] (v, exp) EN: key ; enter
ประมวลผลข้อมูล[pramūan phon khømūn] (v, exp) EN: process data (information) ; evaluate data (information)  FR: traiter des données ; traiter des informations
ระเบียนข้อมูล[rabīen khømūn] (n) EN: data record  FR: enregistrement [ m ]
ระบบจัดการฐานข้อมูล[rabop jatkān thānkhømūn] (n, exp) EN: Database Management System (DBMS)
ระบบฐานข้อมูล[rabop thānkhømūn] (n, exp) EN: database system
รวมข้อมูล[rūam khømūn] (v, exp) EN: gather data ; gather material  FR: collecter des informations
สำรองข้อมูล[samrøng khømūn] (v, exp) EN: back up ; store data  FR: sauvegarder un fichier ; faire une sauvegarde (de données)
ส่งข้อมูลออก[song khømūn øk] (v, exp) EN: export  FR: exporter des données
ถามข้อมูล[thām khømūn] (v, exp) FR: demander des informations
ฐานข้อมูล[thānkhømūn] (n) EN: database  FR: base de données [ f ]
ฐานข้อมูลหลายมิติ[thānkhømūn lāi miti] (n, exp) EN: multidimentional database   FR: base de données multidimensionnelle
วิทยาการอำพรางข้อมูล[witthayākān amphrāng khømūn] (n, exp) EN: steganography  FR: chiffrement [ m ] ; codage [ m ] ; stéganographie [ f ]
อยากได้ข้อมูลเกี่ยวกับ[yāk dāi khømūn (kīokap)] (v, exp) EN: would like some information (on)  FR: vouloir des informations (sur, au sujet de, à propos de ) ; désirer des informations

English-Thai: Longdo Dictionary
MMC[M-M-C] (abbrev, uniq) ย่อมาจาก Multimedia Card อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้าย SD (Secure Digital) แต่บางกว่าเล็กน้อย นิยมใช้กับ PDA กล้อง Digital MP3 Player, See also: flash memory, SD, CF, SM, MS, Digital Film
flash memory(n) หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง
memory stick(n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory
CompactFlash memory(n, uniq) หรือ CF memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ที่พัฒนาโดยสมาคม CompactFlash (http://www.compactflash.org/) และผลิตจำหน่ายโดยผู้ผลิตหลายราย หลายยี่ห้อ, See also: flash memory, memory stick
PDA(n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC
SD(abbrev, uniq) ย่อมาจาก Secure Digital อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้าย MMC (Multimedia Card) แต่หนากว่าเล็กน้อย นิยมใช้กับ PDA กล้อง Digital MP3 Player, See also: flash memory, MMC, CF, SM, MS, digital film
specifications(n) ข้อมูลจำเพาะ (มักปรากฏท้ายคู่มือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า)
Tablet PC(name) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชนิดที่มีระบบรับข้อมูลการขีดเขียนด้วยปากกาบนจอภาพ
terabyte(n) ใช้ตัวย่อว่า TB เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 TB เท่ากับหนึ่งล้านล้านไบต์
FUD(abbrev) ย่อมาจากสามคำ คือ Fear, Uncertainty, Doubt หมายถึง การที่ผู้ผลิตให้ข้อมูลข่าวสารที่ทำให้ลูกค้าเกิดความกลัว ความไม่แน่ใจ และความสับสน ในสินค้าของคู่แข่ง เช่น Microsoft มักออกข่าวหรือให้ข้อมูลทำนองนี้เกี่ยวกับ Linux
Half Duplex(n) กึ่งสองทิศทาง หมายถึง การสื่อสารระหว่างสองจุด โดยที่ข้อมูลเดินทางไปมาได้ทั้งสองทิศทาง แต่ไม่สวนกัน (ผลัดกันรับส่ง), See also: Related: Full Duplex
Full Duplex(n) แบบสองทิศทาง หมายถึง การสื่อสารระหว่างสองจุด โดยที่ข้อมูลเดินทางไปมาได้ทั้งสองทิศทางพร้อมๆกันได้, See also: Related: Half Duplex, Simplex
save(vt) บันทึก เก็บรักษา เช่น save data บันทึกข้อมูล
narcolepsy(n) ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคคือผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมการหลับได้ ในแต่ละวันผู้ป่วยอาจจะรู้สึกง่วงมากจนต้องหลับไปอย่างกระทันหันได้หลายๆครั้ง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ninds.nih.gov/disorders/narcolepsy/narcolepsy.htm http://med.stanford.edu/school/Psychiatry/narcolepsy/
sidebar(n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก
blog(n) เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้, See also: weblog, web diary, Syn. online diary
Office of the Council of State(n, org) สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สถาบันที่ปรึกษากฎหมายของรัฐ)ดูข้อมูลเพิ่มเติม <a href=http://www.krisdika.go.th/>http://www.krisdika.go.th/</a>
CERIAS(n) ศูนย์การศึกษาและวิจัย ด้านการรับรองและรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ย่อมาจาก The Center for Education and Research in Information Assurance and Security
AJAX(abbrev) ย่อมาจาก Asynchronous JavaScript and XML เป็นชื่อเทคนิคการพัฒนา web application แบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยเทคนิคย่อยๆ คือ JavaScript และ DOM ในฝั่ง client browser และใช้การติดต่อกับ server ในแบบ asynchrounous (แทนที่จะเป็น synchronous ในการเปิดเว็บแบบเดิมๆ) และส่งข้อมูลกลับมาในแบบ XML ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ <a href=http://en.wikipedia.org/wiki/AJAX>Wikipedia</a>
article number(n) รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
withholding tax(n) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย; เป็นภาษีที่ผู้จ่ายต้องหักไว้จากยอดเงินที่เรียกเก็บ แล้วนำส่งให้กับกรมสรรพากร โดยต้องหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้กับผู้รับเงิน; ข้อมูลเพิ่มเติม www.rd.go.th
DEM(n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น
preproductionขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง)
CDMA(abbrev) CDMA (Code division multiple access) คือ เทคโนโลยี ที่ใช้ในการส่งข้อมูลไม่ว่าจะเป็น DATA หรือ VOICE จากผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่คนนึง ไปยังอีกคนนึง โดยข้อมูลที่ส่งไปจะถูกเข้ารหัสต่างๆกันใน channel เดียวกัน ทำให้สามารถที่จะส่งข้อมูลจากหลายๆผู้ใช้งานใน channel เดียวกันได้
GPRS(abbrev) GPRS (General Packet Radio Service) เป็นบริการส่งข้อมูลสำหรับโทรศัพท์มือถือแบบ GSM โดย GPRS มักถูกเรียกว่าเป็นโทรศัพท์มือถือยุค 2.5G ซึ่งอยู่ระหว่าง 2G และ 3G ทางเทคนิคแล้ว GPRS ใช้ช่องสัญญาณแบบ TDMA ของเครือข่าย GSM ในการส่งข้อมูล ในทางทฤษฎีแล้ว ความเร็วสูงสุดของ GPRS อยู่ที่ประมาณ 60 กิโลบิตต่อวินาที
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS)(n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html)
colophon(n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ
data science(n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
data analytics(n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
blockchain(n) บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
big data(n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
augmented reality (AR)(n) ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
cyber crime(n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
advice(n) ข้อมูลอย่างเป็นทางการ, See also: ข่าวสารอย่างเป็นทางการ
almanac(n) หนังสือที่บันทึกข้อมูลสถิติ, Syn. statistical almanac, record, register of the year
append(vt) เพิ่มข้อมูลเสริม, Syn. affix, supplement, annex, add
ABC of something(idm) หลักเบื้องต้นของบางสิ่ง, See also: ข้อมูลพื้นฐานของบางสิ่ง
advise of(phrv) แจ้งให้ทราบ, See also: ให้ข้อมูล, Syn. inform, fill in, notify, tell, tip off
bank(n) ที่เก็บข้อมูล อาหารหรือเลือดเพื่อใช้ตอนฉุกเฉิน, See also: สิ่งที่สำรองเอาไว้
bar code(n) แถบบาร์โค้ดบรรจุข้อมูลที่คอมพิวเตอร์อ่านได้
bare bones(n) ข้อมูลพื้นฐาน
baud(n) หน่วยความเร็วในการส่งข้อมูล
biodata(n) ข้อมูลเกี่ยวกับคนหรือสิ่งที่ทำในชีวิต
bit(n) หน่วยวัดความจุข้อมูล, See also: บิต
brochure(n) แผ่นพับสำหรับโฆษณา, See also: สมุดหรือหนังสือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า มีภาพประกอบ, Syn. booklet
byte(n) ไบต์ (หน่วยเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต)
cagey(adj) ที่ไม่ต้องการเปิดเผย (คำไม่เป็นทางการ), See also: ที่ไม่ต้องการให้ผู้อื่นรู้ข้อมูลบางอย่าง, Syn. secretive
calculate(vt) คาดการณ์ว่า, See also: คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยใช้ข้อมูลเท่าที่มีอยู่, Syn. estimate, judge, gauge
card catalog(n) กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษร, Syn. card index
card index(n) กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษร, Syn. card catalog
card(n) บัตรที่บรรจุข้อมูลทางตัวเลขหรือการเงิน, See also: บัตรที่บรรจุข้อมูลทางตัวเลขหรือการเงิน เช่น บัตรเอทีเอ็ม บัตรเติมเงินสำหรับโทรศัพท์ บั
carry(vt) บอกข่าว, See also: แจ้งข่าว, แจ้งข้อมูล, Syn. impart
consult(vt) ค้นหาข้อมูล
corpus(n) คลังข้อมูล, See also: การรวบรวมงานเขียนหรือข้อมูลคำ
chapter and verse(idm) แหล่งข้อมูล, See also: แหล่งข่าว
clue in(phrv) ให้เบาะแสกับ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ชี้นำ, แนะหรือให้ข้อมูลกับ
clue one in(idm) ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์
clue up(phrv) ให้ข้อมูลในเรื่อง, See also: แนะเงื่อนงำในเรื่อง, Syn. clew up
delve into(phrv) ค้นหาข้อมูลอย่างละเอียดในเรื่อง
dig for(phrv) พยายามหา (ข้อมูล) เกี่ยวกับ, See also: ค้นหา ข้อมูล เกี่ยวกับ
dig out(phrv) ค้นหา (ข้อมูลหรือเงิน), See also: ขุดคุ้ยหา ข้อมูลหรือเงิน
embellish with(phrv) เพิ่มข้อมูล (ที่ไม่เป็นจริง), See also: เพิ่มรายละเอียด ที่ไม่เป็นจริง
fill in(phrv) ให้ข้อมูลกับ (บางคน)
fill one in(idm) บอก, See also: ให้ข้อมูล
filter out(phrv) รั่ว (ข้อมูล, ข่าว), See also: รั่วไหล, Syn. let out
firm up(phrv) ยืนยัน (ข้อมูล)
fish for(phrv) ล้วง (ข้อมูล, คำยอ), See also: ตามหา, ตามล่า, Syn. angle for, feel after
data(n) ข้อมูล, See also: ตัวเลข, สถิติ, Syn. information, facts
data file(n) แฟ้มข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: ไฟล์ข้อมูล
data processing(n) การประมวลผลข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: การใช้คอมพิวเตอร์จัดการข้อมูล
database(n) ฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: คลังข้อมูล, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ, Syn. data bank
database management system(n) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์)
delve(vi) ค้นหาข้อมูลอย่างละเอียด, See also: ค้นคว้าอย่างละเอียด, ศึกษาอย่างละเอียด, ขุดคุ้ยข้อมูล, Syn. investigate, research
despatch(n) ข้อมูล, See also: ข่าวสาร, รายงาน, จดหมาย, Syn. letter, message, note, item
digital(adj) ซึ่งรับส่งข้อมูลด้วยการใช้ตัวเลข, Syn. computerized, numerical
disc(n) แผ่นดิสค์ (ทางคอมพิวเตอร์), See also: แผ่นบันทึกข้อมูล, Syn. disk
document(vt) บันทึกข้อมูลใส่ฟิล์ม เทป หรือเขียน
dope(n) ข้อมูลลับ, See also: ข้อมูลส่วนตัว, Syn. inside information
editor(n) โปรแกรมการจัดการข้อมูล (ของคอมพิวเตอร์)
electronic publishing(n) การพิมพ์ข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเก็บข้อมูลลงในแถบแม่เหล็กแผ่นดิสก์หรือซีดีรอม ซึ่งอ่านข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์
e-mail(n) ระบบการส่งผ่านข้อมูลข่าวสารทางคอมพิวเตอร์โดยอาศัยสายโทรศัพท์และโมเด็ม, See also: ไปรษณีย์อิเลคทรอนิกส์, Syn. electronic mail
encipher(vt) เปลี่ยน (ข้อมูลข่าวสาร) ให้เป็นรหัส, See also: ทำ ข้อมูล, ข่าวสาร ให้เป็นรหัส, Syn. encode, encrypt
encode(vt) เปลี่ยน (ข้อมูล, ข่าวสาร) ให้เป็นรหัส, Syn. encipher, encrypt, Ant. decode

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
*เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ
_เครื่องหมาย underscore เป็นอักขระตัวหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีลักษณะดังนี้ (-) ถ้าเป็นแป้นในพิมพ์ดีดจะใช้สำหรับขีดเส้นใต้ (underline) แทน แต่ในคอมพิวเตอร์ การขีดเส้นใต้มักนิยมใช้เป็นคำสั่ง (underline) แทน แต่บนแผงแป้นพิมพ์ก็ยังมีแป้นนี้อยู่ เมื่อกดแป้นนี้ คอมพิวเตอร์จะถือเสมือนเป็นตัวอักขระตัวหนึ่ง แต่ไม่สามารถใช้เป็นการขีดเส้นใต้ได้ต่อไปอีก เช่น อาจตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า A-B ก็ได้
access armก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง
access keyกุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้
access mechanismกลไกการเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง กลไกของอุปกรณ์ที่ใช้รองรับ และเคลื่อนย้ายก้านเข้าถึง (access arm) ของหน่วยจานบันทึก (disk drive) ไปบนพื้นผิวของจาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงจานบันทึก
access methodวิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ
access timeช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ
ack(แอ็ค) ตอบรับ รับรู้ ย่อมาจากคำว่า acknowledge ใช้ในความหมายของการรับรู้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะมีการถ่ายโอนข้อมูลให้แก่กันและกัน เท่ากับเป็นการรับรู้ว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ และพร้อมที่จะรับการถ่ายโอนข้อมูลจากกัน
alias(เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่า, Syn. pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ
almanac(ออล' มะแนค) n. ปฏิทินประจำปีชนิดพิสดารที่มีเหตุการณ์ต่าง ๆ ระบุไว้ด้วยรวมทั้งสถิติข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าสนใจ, ปฎิทินประจำปี, ปฏิทินดาราศาสตร์ประจำปี, Syn. calendar
alt keyแป้นสลับเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ ALT (ย่อมาจาก alternate) อยู่บนแป้น แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล
alternate keyเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ (มีคำ ALT อยู่บนแป้น) แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล
amendment fileแฟ้มแก้ไข <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่บรรจุรายการเปลี่ยนแปลงหรือรายการแก้ไข เพื่อนำมาใช้ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก (master file) ให้ทันสมัยมีความหมายเหมือน transaction file
ammunition(แอมมิวนิช' เชิน) n. อาวุธยุทธภัณฑ์, กระสุน, ข้อมูล (shot and shell)
analog(แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ
answer modeภาวะตอบรับหมายถึง ภาวะที่โมเด็ม (modem) หรืออุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สายโทรศัพท์ส่งเสียงแสดงว่าพร้อมที่จะรับคำสั่ง (แปลว่าให้เริ่มส่งข้อมูลได้)
antivirusป้องกันไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ จะหมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ช่วยป้องกัน ตรวจหา และกำจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะเข้ามาทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะสามารถระบุชื่อไวรัสได้ด้วยดู virus ประกอบ
apple desktop busตัวนำข้อมูลเข้า <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ADB หมายถึง ตัวประสาน (interface) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานของแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) แทร็กบอลล์ (trackball) ฯ และอุปกรณ์ป้อนข้อมูลอื่น ๆ ให้สามารถนำข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ (เฉพาะแมคอินทอช)
application windowวินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window)
arc(อาร์ค) 1. n. ส่วนโค้ง, ความโค้ง, สะพานเรืองแสงที่อยู่ระหว่างปลายหรือ conductors ทั้งสอง, สิ่งที่มีรูปคล้ายคันศร -S...curve, arch, bend 2. เป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการหลอมรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แฟ้มเข้าเป็นแฟ้มเดียวกัน เพื่อให้ใช้เนื้อที่ในการเก็บน้อยลง โปรแกรมนี้เคยได้รับความนิยมอย่างสูงมาก่อน ต่อมาความนิยมได้ลดลงเพราะมีโปรแกรมใหม่กว่า มีผู้นิยมใช้มากกว่า มีชื่อเรียกว่า ZIP โปรแกรมประเภทนี้จะสามารถอัด (compress) ข้อมูลจำนวนมาก ๆ ให้เก็บได้ในเนื้อที่น้อย ๆ เช่นในจานบันทึก (floppy disk) แต่เมื่อจะใช้ จะต้องนำมาขยายเป็นขนาดปกติก่อน เรียกว่า decompress (ดู compress)
archie(อาร์' คี) n. ระบบหนึ่งของผู้ให้การบริการ (servers) ที่ค้นหาไฟล์ที่มีอยู่ สำหรับสาธารณในแหล่งข้อมูลโปรโตรคอลแปลงแฟ้มข้อมูล (FTP, file transfer protocol)
archived file(อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้)
ascii fileแฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
asterisk(แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ
asyndeton(อะซิน'ดีทัน) n. การตัดสันธาน (conjunction) ออก. -asyndetic อสมวาร <คำแปล>หมายถึง กระบวนการหรือการกระทำใด ๆ ก็ตามที่ไม่สอดประสานหรือสมนัยกัน (ใช้ในการรับและส่งข้อมูลทางโทรศัพท์)
at & t(เอที แอนด์ ที) ย่อมาจาก American Telephone and Telegraph หมายถึง บริษัทโทรศัพท์และโทรเลขของอเมริกา งานของบริษัทนี้มาเกี่ยวกับวงการคอมพิวเตอร์ก็ตรงที่คอมพิวเตอร์สมัยนี้ส่งข้อมูลและข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน โดยใช้สายโทรศัพท์เป็นสื่อ (ส่วนใหญ่เป็นการเกี่ยวข้องทางด้านการสื่อสารข้อมูล)
atm.abbr. 1. atmosphere, atmospheric 2. (เอทีเอ็ม) ย่อมาจาก automatic teller machine แปลว่า เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงิน ได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
attribute(อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น
authority(ออธอ'ริที) n. เจ้าหน้าที่, อำนาจ (ในหน้าที่ตำแหน่ง) , ผู้มีอำนาจ, ผู้เป็นต้นตำรับ, ทางราชการ, แหล่งข้อมูลหรือคำแนะนำที่เชื่อถือได้, ความเชื่อถือได้, ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง, อำนาจทางนิตินัย, อำนาจการเป็นตัวแทน, ความเชี่ยวชาญ, พยาน, การให้การ (คำที่มีความหมายเหมือนก
automated officeสำนักงานอัตโนมัติหมายถึงสำนักงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน เช่น การเก็บข้อมูล การพิมพ์เอกสาร ฯ บางทีใช้ office automation
automatic data processingขบวนการป้อนข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้อักษรย่อว่า ADP
automatic teller machineเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ <คำแปล>นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
auxiliary equipmentบริภัณฑ์ช่วย <คำแปล>อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลของคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องอ่านบัตร (card reader) , หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) เป็นต้น
auxiliary memoryหน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์
auxiliary storageหน่วยเก็บช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำหรือหน่วยเก็บที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีความหมายเหมือน auxiliary memory
backing storeหน่วยเก็บหนุนหน่วยเก็บข้อมูล ที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บหนุนนี้แทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยเก็บความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backup storage
backslash\ (อักขระ) <เครื่องหมาย>หมายถึงสัญลักษณ์ \ เครื่องหมายนี้ดูเผิน ๆ คล้ายกับ / (slash) แต่กลับทิศทางกัน บางคนคิดว่าเหมือนกัน แต่ความหมายจะแตกต่างกันมาก ในระบบดอส สัญลักษณ์นี้ใช้แยกระหว่างชื่อสารบบ (directory) กับชื่อแฟ้มข้อมูล (file) เช่น DIR C:\Taksina\June.xlsคำสั่งข้างบนนี้เป็นคำสั่งให้แสดงแฟ้มข้อมูลชื่อ June.xls ซึ่งอยู่ภายใต้สารบบชื่อ Taksina และเก็บอยู่ในหน่วยบันทึก C:
backup storageหน่วยเก็บสำรอง <คำแปล>หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store
bad sectorsส่วนวงเสียหมายถึงส่วนวงในร่องที่ใช้บันทึกข้อมูลบนแผ่นจานบันทึกเสีย ทำให้ไม่สามารถอ่านข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงไปเก็บได้ คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อความนี้บนจอภาพเมื่อสั่งให้อ่านหรือบันทึกข้อมูล แล้วไม่สามารถทำได้ เพราะเกิดกรณีนี้ขึ้น
bak(แบ็ก) คำ ๆ นี้ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลเพื่อบ่งบอกว่า เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file) เช่น autoexec.bak (แฟ้มข้อมูลเดิมชื่อ autoexec.bat) นี้ ในบางกรณี โปรแกรมจะสร้างนามสกุลให้แฟ้มข้อมูลเหล่านี้เองโดยไม่ต้องสั่ง โดยเฉพาะถ้ามีการเก็บแฟ้มข้อมูลที่นำมาแก้ไขแล้วซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แฟ้มที่แก้ใหม่จะใช้ชื่อเดิม แต่แฟ้มเดิมจะกลายเป็นแฟ้มสำรอง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำบางโปรแกรม
balloon helpคำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ
bar code optical scannerเครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น
bas(บีเอเอส) ใช้เป็นนามสกุลของแฟ้มข้อมูลที่เขียนด้วยภาษาเบสิก
base addressหมายถึง ตำแหน่งเริ่มต้นที่ใช้เพื่อการคำนวณหาเลขที่อยู่ (address) ในแหล่งเก็บข้อมูล จากเลขที่อยู่สัมพัทธ์ (relative address)
batch fileแฟ้มคำสั่งรวมหมายถึง แฟ้มพิเศษที่ใช้เก็บคำสั่งระบบที่ต้องการใช้ เพื่อสั่งให้เครื่องทำงานให้ ถ้ามีแฟ้มข้อมูลนี้เก็บไว้ คอมพิวเตอร์จะปฏิบัติการตามขั้นตอนในคำสั่งที่บรรจุอยู่ในแฟ้มนี้ทันทีที่เริ่มเครื่องใหม่ (boot) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file tpe) ว่า .bat เช่น autoexec.bat เป็นต้น
batch processingการประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ
battery backupแบตเตอรี่สำรอง <คำแปล>หมายถึง แบตเตอรี่ที่มีสำรองเอาไว้ให้ใช้ได้ทันทีที่ไฟฟ้าดับ เพื่อว่าข้อมูลจะได้ไม่หายไป
baud(บอด) เป็นหน่วยวัดความเร็วของการถ่ายโอนข้อมูลผ่านโมเด็ม 1 บอดเท่ากับจำนวนบิตที่ส่งได้ใน 1 ครั้ง ถ้าส่งได้ครั้งละ 2 บิต 1 บอดก็จะเท่ากับ 2 บิต โมเด็มจะดีหรือไม่ ก็ดูที่ความเร็วจากหน่วยวัดนี้ โดยปกติ เท่าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีขนาดความเร็ว 300 บอด (ประมาณ 37 ตัวอักษร) และ 1, 200 บอด (ประมาณ 150 ตัวอักษร)
bbs(บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
begin of tapeจุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป

English-Thai: Nontri Dictionary
data(n) ข้อมูล, ตัวเลข, สถิติ, สิ่งที่รู้
datum(n) ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข, สิ่งที่รู้
information(n) การบอก, ข้อความ, ข่าว, ความรู้, เรื่องที่บอก, ข้อมูล
misinform(vt) บอกผิด, พูดให้เข้าใจผิด, ให้ข้อมูลผิด
misinformation(n) สิ่งที่ทราบมาผิดๆ, ข้อมูลที่ผิด
observation(n) การสังเกต, ความเห็น, ข้อมูล
statistical(adj) เกี่ยวกับตัวเลข, เกี่ยวกับสถิติ, ที่อาศัยข้อมูล
statistics(n) ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข
storage(n) การเก็บรักษา, ที่เก็บของ, แหล่งเก็บข้อมูล
store(vt) เก็บรักษา, สะสม, เก็บข้อมูล

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
show-cause notice(n) หนังสือชี้แจงข้อมูล
8ข้อมูลที่น่าสนใจ
Automated Meteorological Data Acquisition System(jargon) ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ
Backdoor account(n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้
big data(n) ข้อมูลมหัต
binary file(n) แฟ้มข้อมูลฐานสอง
bursty[バーストてき] อัตราการไหลของข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในเวลาสั้นๆ
Business Information Centre(n) ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ
collection of dataการเก็บรวบรวมข้อมูล
compute(vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน
credit bureauข้อมูลเครดิต
cyber securityความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
data warehouse(n) ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน)
DBAผู้จัดการฐานข้อมูล
elicitation(n) การซักไซ้, การล้วงข้อมูล
encode(vt) Accounting. ทำการบันทึก บันทึกข้อมูล, See also: Save, Record, Syn. Record
Encyclopaedia Britannica(name) เป็นหนังสือที่มีลักษณะคล้ายกับ Dictionary ให้ข้อมูลต่างๆมากมาย
firewireFireWire คือชื่อเรียกของ apple หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า i-link คือชื่อเรียกของ Sony หรือที่เรียกว่า มาตรฐาน IEEE 1394 เป็นเทคโนโลยีสำหรับการส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล ด้วยความเร็ว 400 และ 800 เมกะบิตต่อวินาที ส่งผลให้การติดต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดดิส ปริ้นเตอร์ สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอลหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่มีช่อง FireWire ทำงานได้อย่างรวดเร็ว FireWire มีลักษณะการทำงานเหมือนหรือคล้ายกับ USB เพียงแต่ออกแบบมาให้เหมาะกับการใช้งานกับอุปกรณ์ทางด้านมัลติมีเดียมากกว่า เนื่องจาก USB เหมาะกับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่เกี่ยวกับอินพุต เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฯลฯ (USB มีความเร็วน้อยกว่า FireWire) นอกจากนี้ FireWire ยังสามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ไแบบ Daisy Chain ได้ถึง 67 ชิ้น และสนับสนุนการทำงานแบบ Hot plug คือสามารถต่อแล้วใช้งานได้เลยทันที นอกจาก นี้ ยังสามารถส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปกำหนดการทำงานของกล้องวิดีโอได้ด้วย ซึ่งทำให้เราสามารถทำงานในขั้นตอนเดียวกันได้ เช่น การอัดภาพจากกล้องลงมาคอมพิวเตอร์ ก็เพียงแค่สั่งจากคอมพิวเตอร์ กล้องก็จะเริ่มต้นทำงาน พร้อมกับดึงภาพมาให้เองโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องไปกังวลว่าจะต้องไปสั่งเล่นจากกล้องแล้วมาสั่งอัดที่คอมพิวเตอร์
give a heads up(phrase) ให้ข้อมูล หรือ เตือนล่วงหน้า เช่น Do you want to give me a heads up on this? จะบอกฉันหน่อยไหมว่านี่มันเรื่องอะไรยังไง
global positioning system(n) GPS (global positioning system) จีพีเอส (ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูลตำแหน่งโลก คือ จีพีเอส ที่ทำให้เราทราบค่าตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของโลก โดยใช้อุปกรณ์รับสัญญาณคือ อุปกรณ์จีพีเอส ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนโลก มีอยู่สามค่ายคือ 1. NAVSTAR เป็นของประเทศอเมริกา 2. GLONASS เป็นของประเทศรัสเซีย 3. GALILEO เป็นของยุโรป แต่ที่เราใช้สัญญาณในปัจจุบันด้วย จีพีเอสที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดนั้นใช้ของ NAVSTAR แต่เรานิยมเรียกของค่ายนี้ว่า ดาวเทียมจีพีเอส
global town square(n) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (social media) นำมาเปรียบเทียบเป็นเสมือนจัตุรัสแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลข่าวสารที่สามารถเข้าถึงได้จากทั่วโลก แทนที่จะจำกัดแค่คนในพื้นที่ตามความหมายของคำว่า town square เดิม
Google(n, name, org, uniq) เว็บไซต์เสิร์ชเอนจิน (search engine) ชื่อดัง ให้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (www.google.com)
infographic[อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network
information[อิน ฟอร์ เม ชั่น] (n) ข้อมูล, Syn. detail
intrabusiness[ไทย] (n, vt) Intrabusiness ก็คือ การติดต่อ ระหว่างคนในองค์กรกันเอง หรือ ระหว่างบริษัทที่เป็นคู่ค้ากันอยู่ เช่น เว็บของมหาวิทยาลัยบ คนอื่น ก็จะเข้ามาได้ แต่ไม่สามารถเข้ามาดูข้อมูลส่วนตัวได้ หรือ อย่างธนาคารที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสาขากัน
meta(n) นิยามข้อมูล
meta-analysis(phrase) การทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ, การทบทวนหลักฐานจากข้อมูลทางสถิติที่รวบรวมขึ้น
metadata(n) ข้อมูลของข้อมูล ซึ่งจะใช้ข้อมูลอธิบายถึงข้อมูลอีกชุดหนึ่งตามต้องการ, See also: metatable
metadata(n) นิยามข้อมูล
metatable(n) ตารางของตาราง ซึ่งใช้ตารางสำหรับอธิบายตารางเช่น เช่นเดียวกับคำว่า Metadata ซึ่งใช้ข้อมูลอธิบายข้อมูล, See also: metadata
mulled wine[มัลด-ไวน์] (n) ไวน์ผสมเครื่องเทศ เป็นเครื่องดื่มที่มักจะทำจากไวน์แดงอุ่นให้ร้อนผสมเครื่องเทศ น้ำตาลเล็กน้อย และผลไม้เช่นส้มฝานบาง เสิร์ฟร้อนหรืออุ่น นิยมดื่มกันระหว่างฤดูหนาวในหลายประเทศโดยเฉพาะในเยอรมนีและประเทศต่างๆ ในยุโรป (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
Musixmatch[มิว-สิก-เเมด] (name, org) มิวสิคซ์แมทช์ (Musixmatch) คือบริษัทข้อมูลเพลงของอิตาลีและเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ผู้ใช้ค้นหาและแบ่งปันเนื้อเพลงพร้อมคำแปล เป็นแพลตฟอร์มที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีผู้ใช้ 80 ล้านคน (ผู้ใช้งาน 50 ล้านคน) เนื้อเพลง 8 ล้านคน และพนักงานมากกว่า 130 คน
oceanography[โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
Pharmacopoeia[ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ
phishing(n) การหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ต, การส่งข้อความที่ดูน่าเชื่อถือ เพื่อหลอกลวงให้กรอกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลบัตรเครดิต ฯลฯ ลงไป, See also: phishing email, Syn. fishing
polymath[โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org)
processing of personal data(phrase) การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
query(n) การสืบค้นข้อมูล
S.W.O.Tการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
SASD(jargon, slang) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบเรียงลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงโดยตรงได้ เช่น สายเทปบันทึกเสียง
sparkline(n) แผนภูมิชนิดหนึ่ง ใช้เส้นและจุดเพื่อร่วมกันแสดงข้อมูล
swotการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
taser(n, vt) ช็อตด้วยไฟฟ้า tasers, tasered, tasering (To taser someone) Taser เป็นยี่ห้อปืนไฟฟ้ายี่ห้อหนึ่ง เป็นอาวุธที่ใช้เพื่อป้องกันตัว หรืออาวุธที่ตำรวจใช้เพื่อทำให้ผู้ร้ายล้มลง หรือหมดสติ ได้ข้อมูลจาก answers.com A Taser is an electroshock weapon that uses Electro-Muscular Disruption (EMD) technology[ 1 ] to cause neuromuscular incapacitation[ 2 ] (NMI) and strong muscle contractions through the involuntary stimulation of both the sensory nerves and the motor nerves.
Image:
tippingการใ้ห้ข้อมูล
touch base[ทัชเบส] (with something)การติดต่อหรือพูดคุยกับบางคนเพื่อข้อมูลบางอย่างแบบคร่าวๆ เช่น Let's touch base before the meeting. I have some important information for you.
town square(n) จัตุรัสกลางเมือง ที่ใช้เป็นสถานที่ทำกิจกรรมต่างๆ เป็นแหล่งรวบรวมความบันเทิง และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เช่น ในเมืองเก่าๆ ของประเทศในยุโรป
tracking system(n) ระบบติดตาม ใช้สำหรับติดตามกระบวนการทำงาน ทำให้สามารถทราบได้ว่าผลลัพธ์ในขั้นต่างๆ เป็นอย่างไร มีการดำเนินไปถึงส่วนใด รวมถึงสามารถดูรายละเอียดลำดับในการดำเนินการ นอกจากนั้นข้อมูลที่ได้ยังสามารถนำไปใช้ประเมินระยะเวลาที่จะดำเนินการต่อไป รวมถึงผลลัพธ์ที่จะเป็นไปได้ในขั้นต่อๆ ไปอีกด้วย
Tupel { n } [ math. ](n) แถวข้อมูลในตาราง
whistle-blower(n) ผู้แจ้งเบาะแส, ผู้แจ้งเหตุ, ผู้แจ้งหรือให้ข้อมูลแก่ทางการหรือสาธารณะว่าบริษัทตนกระทำผิดหรือขัดต่อกฎหมาย, See also: whistle-blowing

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
安否情報[あんぴじょうほう, anpijouhou] (n) ข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือการรอดชีวิต
知識[ちしき, chishiki] (n) ข้อมูล, ความรู้
総武線[そうぶせん, soubusen] (n, name) เส้นทางรถไฟสายโซบุของ JR (Japanese Railway) วิ่งระหว่างโตเกียวกับชิบะ สัญลักษณ์ใช้สีเหลือง (ข้อมูล พฤศจิกายน 2546)
記入[きにゅう, kinyuu] (n) การกรอกข้อมูลในแบบฟอร์ม

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
機密[きみつ, kimitsu] (n) ความลับ (มักใช้เกี่ยวกับเรื่อง ความลับ หรือ ข้อมูลสำคัญ ภายในบริษัท หรือ องค์กร)
漏洩[ろうえい, rouei] (n) การรั่วไหล (การรั่วไหลของข้อมูล ข่าวสาร ฯลฯ)
改竄[かいざん, kaizan] (n) การปลอมแปลงแก้ไข (พวกข้อมูล หรือ เดต้า)
検索[かいざん, kensaku] (name) ค้นหาข้อมูล
設定[かいざん, settei] (name) ค้นหาข้อมูลติดตั้ง, สร้าง, การกำหนด
平文[ひらぶん, hirabun] (n) ข้อมูลที่ไม่ถูกเข้ารหัส
可逆圧縮[かぎゃくあっしゅく, kagyakuasshuku] (n) เป็นศัพท์ทางเทคนิคในการบีบอัดข้อมูล มาจากภาษาอังกฤษ Lossless Compression ซึ่งก็คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและข้อมูลหลังการขยายข้อมูลที่ถูกบีบอัดกลับมา มีความถูกต้องตรงกันไม่มีข้อแตกต่าง, See also: R. 非可逆圧縮
非可逆圧縮[ひかぎゃくあっしゅく, hikagyakuasshuku] (n) เป็นศัพท์ทางเทคนิค เกี่ยวข้องกับการบีบอัดข้อมูล จากภาษาอังกฤษว่า Lossy Compression คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและหลังจากคลายการบีบอัดคืนกลับมา ข้อมูลที่ได้จะมีบางส่วนผิดเพี้ยนไป ดู Lossless Compression, See also: R. 可逆圧縮
統計[とうけい, toukei] (n) สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงเป็นตัวเลข, S. numerical fact, datum
データ取得[データしゅとく, de^ta shutoku] การรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
知識工学[ちしきこうがく, chishikikougaku] (n) วิศวกรรมข้อมูลความรู้ วิศวกรรมสารสนเทศ
情報公開法[じょうほうこうかいほう, jouhoukoukaihou] พรบ.เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
厨房 ; 中坊 ; 中に病[จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう] (n, slang) ความหมายโดยแท้จริง แปลว่า ครัว แต่เนื่องจากไปพ้องเสียงกับอีกคำแสลงอีกคำที่มีความหมายว่า เกรียน (ทำตัวเป็นเด็กไม่รู้จักโต ก่อกวน หรือสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น) คือ 中坊 (เด็กมัธยมต้น หรือ เด็กที่ไม่รู้จักโต) และในขั้นตอนเวลาพิมพ์คำว่า 中坊 มักจะไม่ออกมาให้เลือก ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงใช้คำ 厨房 ในเชิงคำแสลงว่า "เกรียน" แทนคำเดิมไปโดยปริยาย นอกจากนี้ยังมีคำว่า 中に病 (ちゅうにびょう)ซึ่งแปลว่า "โรคเด็กม.ต้น" ก็มีใช้ในความหมายเชิงว่า เกรียน ได้ด้วยเ่ช่นกัน (ขอบคุณข้อมูลจากเพจ "เรียนภาษาญี่ปุ่นกับโอมเซนเซ" ด้วยค่ะ)

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
送信[そうしん, soushin] TH: การส่งข้อมูลข่าวสารไปให้ผู้รับ  EN: transmission (vs)
情報[じょうほう, jouhou] TH: ข้อมูล
自動ロード[じどうろーど, jidouro-do] TH: การโหลดข้อมูลโดยอัตโนมัติ  EN: autoload
入力[にゅうりょく, nyuuryoku] TH: การป้อนข้อมูล
誤報[ごほう, gohou] TH: ข้อมูลผิดพลาด  EN: misinformation
データベース[でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล  EN: database
検索[けんさく, kensaku] TH: ค้นหาข้อมูล  EN: lookup
データ[でーた, de-ta] TH: ข้อมูล  EN: data
資料[しりょう, shiryou] TH: ข้อมูล  EN: materials
下調べ[したしらべ, shitashirabe] TH: การเตรียมหาข้อมูลไว้ล่วงหน้า

German-Thai: Longdo Dictionary
Angabe(n) |die, pl. Angaben| ข้อมูล
Daten(n) |pl| ข้อมูล, See also: die Angaben
Information(n) |die, pl. Informationen| ข้อมูล
Bescheid(n) |der, nur Sg.| ข้อมูล, คำตอบ เช่น Bescheid sagen, Bescheid geben
Ordner(n) |der, pl. Ordner| กล่องเก็บไฟล์ข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์
Tabellenhandbuch(n) |das, pl. Tabellenhandbücher| หนังสือที่มีข้อมูลแสดงไว้ในรูปแบบของตาราง สำหรับเปิดดูค่าต่างๆ ที่ต้องการ
sich entwickeln(vt) พัฒนา(ตนเอง) เช่น Die Informationstechnologie hat sich sehr schnell entwickelt. เทคโนโลยีด้านข่าวสารข้อมูลพัฒนาเร็วมาก
informieren(vt) |informierte, hat informiert| แจ้งข่าว, ให้ข้อมูล เช่น Wir informieren Sie gern über die vielen Vorzüge unserer Mitgliedschaft. เรายินดีให้ข้อมูลคุณเกี่ยวกับความน่าดึงดูดของการเป็นสมาชิกกับเรา, See also: Related: sich informieren
sich informieren über etw.(vt) หาข้อมูลเกี่ยวกับบางสิ่ง, ศึกษาบางสิ่ง เช่น Ich möchte mich über das Bildungssystem in Deutschland informieren., Syn. sich erkundigen
sich erkundigen nach etw./jmdm.(vt) ไต่ถาม, หาข้อมูล เช่น Er hat sich vorher nach dem Weg erkundigt., Syn. informieren sich
befugt(adj) |zu etwas befugt sein| มีสิทธิหรืออำนาจในการกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich bin nicht dazu befugt, Ihnen Aufkunft zu geben. ฉันไม่มีอำนาจในการให้ข้อมูลคุณ
herunterladen(vt) |lädt herunter, lud herunter, hat heruntergeladen| ดาวน์โหลด, การถ่ายหรือบรรจุข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยเก็บของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ ลงไปในหน่วยเก็บของไมโครคอมพิวเตอร์หรือในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เช่น eine Datei herunterladen, Syn. laden
weiterleiten(vt) |leitet weiter, leitete weiter, hat weitergeleitet, etw.(A)| ส่งต่อ(อีเมล, ข่าว, ข้อมูล), โอนสาย(โทรศัพท์) เช่น Telefonate weiterleiten โอนสายโทรศัพท์
speichern(vt) |speicherte, hat gespeichert| เก็บหรือบันทึกข้อมูล ส่วนใหญ่หมายถึงในคอมพิวเตอร์ เช่น Telefondaten dürfen zwei Jahre gespeichert werden.
Festplatte(n) |die, pl. Festplatten| จานแม่เหล็กเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์, ฮาร์ดดิสก์ เช่น Jede Festplatte beinhaltet Gigabytes von persönlichen Daten.

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
belegen(vt) ให้ข้อมูล , สนับสนุน
Entropie(n) ปริมาณข้อมูลเฉลี่ย
glühwein(n) ไวน์ผสมเครื่องเทศ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากไวน์แดงอุ่นให้ร้อนผสมเครื่องเทศและผลไม้เช่นส้มฝานบาง เสิร์ฟร้อนหรืออุ่น นิยมดื่มกันระหว่างฤดูหนาวในหลายประเทศโดยเฉพาะในเยอรมนีและประเทศต่างๆ ในยุโรป (ข้อมูลจาก wikipedia.org)

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top