ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ลงรายการ*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ลงรายการ, -ลงรายการ-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ลงรายการ(v) write down, See also: record, note, take down, Syn. บันทึกรายการ, Example: ผู้จัดการหยิบสมุดอีกเล่มหนึ่งนำมาลงรายการ แล้วยื่นให้เลขาฯ

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Anglo-American Cataloguing Rulesหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalogingการทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
MAchine Readable Catalogingการลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้, Example: MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Corporate entryการลงรายการชื่อสถาบันเป็นผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Descriptive catalogingการลงรายการเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Bibliographic Descriptionsมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic formatรูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliography, Descriptiveบรรณานุกรมเชิงพรรณา;บรรณานุกรม, การลงรายการ [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Oh, you can register for anything.คุณจะลงรายการอะไรก็ได้ Easy as Pie (2008)
I Can't Legally Show It Till The Agency Lists It Tomorrow, ฉันให้ให้ดูไม่ได้ จนกว่าตัวแทนจะลงรายการพรุ่งนี้ The Manhattan Project (2008)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ลงรายการ[long rāikān] (v, exp) EN: write down ; record ; note ; take down ; enter in the books ; post  FR: enregistrer

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
inscribe(vt) ลงรายการ, Syn. list
itemize(vt) ลงรายการ
list(vt) ลงรายการ, See also: ลงรายชื่อ, ลงบัญชี
listing(n) การรวบรวมรายชื่อ, See also: การรวบรวบรวมรายการ, การถูกรวมอยู่ในรายชื่อ, การลงรายการ, การลงรายชื่น, รายชื่อ, รายการ, บัญชี
write-down(n) การลงรายการในบัญชีต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง (ทางธุรกิจ)

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
inscribe(อิน'สไครบฺ) vt. จารึก, เขียนสลัก, แกะสลัก, ลงชื่อ, เขียนมอบ, เขียนคำอุทิศ, ลงรายการจารึกในความทรงจำ., See also: inscribable adj. inscribableness n. inscriber n., Syn. write, engrave
item(ไอ'เทิม) n. เรื่อง, อัน, ชิ้น, สิ่งของในรายการ, รายการในบัญชี, ข่าว, มาตรา, ข้อ. adv. ด้วย, เช่นเดียวกัน. vt. ลงรายการ, ลงบันทึก
itemized(ไอ'ทะไมซดฺ) adj. เป็นข้อ ๆ , ซึ่งลงรายการไว้, Syn. list, specify
listing(ลิส'ทิง) n. การรวบรวมรายชื่อ, การลงรายการ, การลงรายชื่อ, รายชื่อ, รายการ, บัญชีรายชื่อ, สารบัญ, บันทึก, Syn. record, catalogue
write-down(ไรทฺ'เดาน์) n. การลงรายการในบัญชีต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง

English-Thai: Nontri Dictionary
book(vt) จองล่วงหน้า, สำรองที่นั่ง, ลงบัญชี, ลงชื่อ, ลงรายการ, ลงบันทึก

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top