ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

décimes

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -décimes-, *décimes*, décime
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
decimal(n) เลขทศนิยม, Syn. decimal number
decimate(vt) ทำลายยับเยิน, See also: ทำลายไปเป็นจำนวนมาก, สังหารหมู่, Syn. abate, massacre
decimalize(vt) ทำให้เป็นทศนิยม, See also: แปลงให้เป็นทศนิยม
decimalize(vi) ้เป็นทศนิยม, See also: แปลงเป็นทศนิยม
decimation(n) การทำลายล้างเป็นจำนวนมาก, See also: การสังหารหมู่, การฆ่าล้างบาง, Syn. genocide, destruction
decimal point(n) จุดทศนิยม
recuring decimal(n) ทศนิยมไม่รู้จบ, Syn. repeating decimal

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
binary coded decimalเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001
decimal numberเลขฐานสิบหมายถึง ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ในระบบเลขฐาน 10 ที่ใช้กันอยู่
decimalismn. วิธีการหรือระบบทศนิยม
decimatevt. ทำลายยับเยิน, สังหารยับเยิน, เลือกคนที่ 10, See also: decimation n. ดูdecimate decimator n ดูdecimate, Syn. destroy
decimetern. 1/10 เมตร
decimetren. 1/10 เมตร
hexadecimalฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
recurrent decimaln. เศษทศนิยมไม่รู้จักจบ

English-Thai: Nontri Dictionary
decimal(adj) ตามแบบทศนิยม, เกี่ยวกับทศนิยม
decimal(n) ทศนิยม
decimate(vt เลือกชิ้นที่) 10, ทำลายยับเยิน, ทำให้เสียหายมาก, ฆ่าทิ้ง

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
packed decimalทศนิยมอัดแน่น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
periodic decimal; circulating decimal; recurring decimal; repeating decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
recurring decimal; circulating decimal; periodic decimal; repeating decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
repeating decimal; circulating decimal; periodic decimal; recurring decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
assumed decimal pointจุดทศนิยมสมมุติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
actual decimal pointจุดทศนิยมจริง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
automatic decimal adjustmentการปรับทศนิยมอัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary-to-decimal conversionการแปลงผันจากฐานสองเป็นฐานสิบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary coded decimal (BCD)เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง (บีซีดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary coded decimal (BCD)เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง (บีซีดี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
binary coded decimal notationสัญกรณ์เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary coded decimal representationการแทนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
BCD (binary coded decimal)บีซีดี (เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
BCD (binary coded decimal)บีซีดี (เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
circulating decimal; periodic decimal; recurring decimal; repeating decimalทศนิยมซ้ำ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
denary number system; decimal number systemระบบจำนวนฐานสิบ [ มีความหมายเหมือนกับ decimal system ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
duodecimal๑. ทวาทศนิยม๒. ฐานสิบสอง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
duodecimal number systemระบบจำนวนฐานสิบสอง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal๑. ทศนิยม๒ ฐานสิบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
decimal๑. ทศนิยม๒. ฐานสิบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal fractionเศษส่วนทศนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal notationสัญกรณ์ฐานสิบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
decimal number system; denary number systemระบบจำนวนฐานสิบ [ มีความหมายเหมือนกับ decimal system ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal placeตำแหน่งทศนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal pointจุดทศนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal systemระบบฐานสิบ [ มีความหมายเหมือนกับ decimal number system; denary number system ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
decimal๑. ฐานสิบ๒. ทศนิยม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)เอบซีดิก (รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)เอบซีดิก (รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย (เอบซีดิก) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย (เอบซีดิก) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
terminating decimalทศนิยมรู้จบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
hexadecimal๑. ฐานสิบหก๒. โสฬสนิยม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
hexadecimal๑. โสฬสนิยม๒. ฐานสิบหก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
hexadecimal methodวิธีโสฬสนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
hexadecimal notationสัญกรณ์ฐานสิบหก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
hexadecimal number systemระบบจำนวนฐานสิบหก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
non-terminating decimalทศนิยมไม่รู้จบ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Dewey Decimal Classificationการจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Decimal classificationการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Decimal systemระบบทศนิยม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Dewey Decimal Classificationการจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Universal Decimal Classificationระบบทศนิยมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Classification, Dewey Decimalการวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Decimal reduction doseดีเท็น, ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์มีชีวิตรอดเหลืออยู่ร้อยละ 10 หรือ ปริมาณรังสีที่ทำให้เซลล์ตายร้อยละ 90 [นิวเคลียร์]
Classification, Dewey decimalการวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้ [TU Subject Heading]
Cubic Decimetersลูกบาศก์เดซิเมตร [การแพทย์]
Decimal Fractionเลขทศนิยม [การแพทย์]
repeating decimalทศนิยมซ้ำ, ทศนิยมที่มีตัวเลขหลังจุดทศนิยมซ้ำกัน  เช่น 2.7262626... มีเลข 26 ซ้ำ,  2.333... มีเลข 3 ซ้ำ (ดู  rational number ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
nonrepeating decimalทศนิยมไม่ซ้ำ, เลขทศนิยมที่มีตัวเลขหลังจุดทศนิยมไม่ซ้ำกัน เช่น 2.726772677726..., 3.141592653...  (ดู repeating decimal ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
decimal numeralเลขทศนิยม, ตัวเลขเขียนแทนจำนวนโดยเขียนจำนวนเต็ม หรือศูนย์อยู่ทางด้านซ้ายของจุดทศนิยม(.) และเศษส่วนในระบบฐานสิบไว้ทางขวาจุดทศนิยม เช่น 27.425 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
decimal pointจุดทศนิยม, ดู  decimal numeral [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
เศษสิบ(n) decimal fraction, See also: a tenth, Example: ครูสอนวิธีแปลงเศษสิบเป็นเศษส่วนอย่างง่าย ๆ, Thai Definition: เศษส่วนที่มีเศษเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 และมีส่วนเป็นหน่วย 10, Notes: (คณิตศาสตร์)
เดซิเมตร(clas) decimeter, See also: decimetre, Syn. ดม., Thai Definition: ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ 1 ใน 10 ของเมตร, Notes: (อังกฤษ)
ทศนิยม(n) decimal, See also: decimal system, Example: การกล่าวถึงน้ำหนักของสารโดยทั่วๆ ไป เราใช้วิธีเทียบเป็นทศนิยมของน้ำหนักที่มีปริมาตรเท่ากัน, Thai Definition: จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้อยู่ข้างหน้าหรืออยู่ระหว่างตัวเลขต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
จุดทศนิยม(n) decimal point, See also: dot in a decimal number, Example: การพิมพ์เครื่องหมายหรือจุดทศนิยมไม่เป็นที่นิยมนำไปใช้ในงานธุรกิจ, Count Unit: จุด, Thai Definition: จุดที่ใส่หลังจำนวนเต็มและหน้าเศษตามวิธีทำเลขแบบทศนิยม

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
เดซิเมตร[dēsimēt] (n) EN: decimeter  FR: décimètre [ m ]
จำนวนทศนิยม[jamnūan thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal number  FR: nombre décimal [ m ]
จุดทศนิยม[jut thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal point ; dot in a decimal number  FR: point décimal [ m ] ; virgule décimale [ f ]
ระบบจำนวนฐานสิบ[rabop jamnūan thān sip] (n, exp) FR: système décimal [ m ]
ระบบทศนิยมดิวอี้[rabop thotsaniyom Diūī] (n, exp) EN: Dewey Decimal Classification (DDC) ; Dewey Decimal System  FR: système de classification décimale Dewey (CDD) [ m ]
ระบบตัวเลขฐานสิบ[rabop tūalēk thān sip] (n, exp) EN: decimal system  FR: système de numération décimal [ m ] ; système décimal [ m ]
ระบบตัวเลขฐานสิบหก[rabop tūalēk thān sip-hok] (n, exp) EN: hexadecimal system  FR: système de numération hexadécimal [ m ] ; système hexadécimal [ m ]
เศษส่วนทศนิยม[sētsuan thotsaniyom] (n, exp) EN: decimal fraction  FR: fraction décimale [ f ]
ทศนิยม[thotsaniyom] (n) EN: decimal ; decimal notation ; decimal system  FR: décimale [ f ] ; notation décimale [ f ]
ทศนิยมไม่รู้จบ[thotsaniyom mai rū jop] (n, exp) EN: infinite decimal ; non-terminating decimal
ทศนิยมไม่ซ้ำ[thotsaniyom mai sam] (n, exp) EN: non-repeating decimal ; non-periodic decimal
ทศนิยมผสม[thotsaniyom phasom] (n, exp) EN: mixed decimal
ทศนิยมรู้จบ[thotsaniyom rū jop] (n, exp) EN: finite decimal ; terminating decimal
ทศนิยมซ้ำ[thotsaniyom sam] (n, exp) EN: recurring decimal

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
DECIMA
DECIMAL
.DECIMAL
DECIMALS
DECIMATE
DECIMATED
DECIMATING
DECIMATION

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
decimal
decimals
decimate
decimated
decimates
decimalize
decimating
duodecimal
decimalized
decimalizes
decimalizing
decimalization

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
个位[gè wèi, ㄍㄜˋ ㄨㄟˋ,   /  ] the units place (or column) in the decimal system #30,083 [Add to Longdo]
小数[xiǎo shù, ㄒㄧㄠˇ ㄕㄨˋ,   /  ] decimal digit #35,915 [Add to Longdo]
小数点[xiǎo shù diǎn, ㄒㄧㄠˇ ㄕㄨˋ ㄉㄧㄢˇ,    /   ] decimal point #42,008 [Add to Longdo]
四舍五入[sì shě wǔ rù, ㄙˋ ㄕㄜˇ ㄨˇ ㄖㄨˋ,     /    ] to round up to the nearest integer; to discard four, but treat five as whole (of decimal points) #52,780 [Add to Longdo]
余留[yú liú, ㄩˊ ㄌㄧㄡˊ,   /  ] remainder; fractional part (after the decimal point); unfinished #92,765 [Add to Longdo]
十进制[shí jìn zhì, ㄕˊ ㄐㄧㄣˋ ㄓˋ,    /   ] decimal #100,496 [Add to Longdo]
分米[fēn mǐ, ㄈㄣ ㄇㄧˇ,  ] decimeter #127,286 [Add to Longdo]
十六进制[shí liù jìn zhì, ㄕˊ ㄌㄧㄡˋ ㄐㄧㄣˋ ㄓˋ,     /    ] hexadecimal #139,942 [Add to Longdo]
公寸[gōng cùn, ㄍㄨㄥ ㄘㄨㄣˋ,  ] decimeter #160,732 [Add to Longdo]
循环小数[xún huán xiǎo shù, ㄒㄩㄣˊ ㄏㄨㄢˊ ㄒㄧㄠˇ ㄕㄨˋ,     /    ] recurring decimal #207,995 [Add to Longdo]
进位法[jìn wèi fǎ, ㄐㄧㄣˋ ㄨㄟˋ ㄈㄚˇ,    /   ] (math.) system of writing numbers to a base, such as decimal or binary #821,392 [Add to Longdo]
十位[shí wèi, ㄕˊ ㄨㄟˋ,  ] the tens place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
十万位[shí wàn wèi, ㄕˊ ㄨㄢˋ ㄨㄟˋ,    /   ] the hundred thousands place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
十进位[shí jìn wèi, ㄕˊ ㄐㄧㄣˋ ㄨㄟˋ,    /   ] decimal system [Add to Longdo]
十进位法[shí jìn wèi fǎ, ㄕˊ ㄐㄧㄣˋ ㄨㄟˋ ㄈㄚˇ,     /    ] decimal system [Add to Longdo]
千位[qiān wèi, ㄑㄧㄢ ㄨㄟˋ,  ] the thousands place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
数法[shù fǎ, ㄕㄨˋ ㄈㄚˇ,   /  ] method of counting (e.g. decimal or Roman numbers) [Add to Longdo]
百位[bái wèi, ㄅㄞˊ ㄨㄟˋ,  ] the hundreds place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
百万位[bái wàn wèi, ㄅㄞˊ ㄨㄢˋ ㄨㄟˋ,    /   ] the millions place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
万位[wàn wèi, ㄨㄢˋ ㄨㄟˋ,   /  ] the ten thousands place (or column) in the decimal system [Add to Longdo]
余码[yú mǎ, ㄩˊ ㄇㄚˇ,   /  ] excess code (i.e. the unused bits in binary-coded decimal) [Add to Longdo]
[diǎn, ㄉㄧㄢˇ, / ] point; dot; speck; drop; decimal point; point of a scale; point in a theory or argument; downwards-right convex character stroke; a little (usually 一點|一点); a jot; beat (of percussion instrument); to draw a dot; to touch slightly; to drip; classifier for i [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
[くらい, kurai] (ctr) (1) rank; place (e.g. first place); (2) decimal place; (3) counter for ghosts; (P) #116 [Add to Longdo]
10進2進変換;十進二進変換[じっしんにしんへんかん, jisshinnishinhenkan] (n) { comp } decimal to binary conversion [Add to Longdo]
10進演算;十進演算[じっしんえんざん, jisshin'enzan] (n) { comp } decimal arithmetic [Add to Longdo]
10進演算子;十進演算子[じっしんえんざんし, jisshin'enzanshi] (n) { comp } decimal operator [Add to Longdo]
10進基数;十進基数[じっしんきすう, jisshinkisuu] (n) { comp } decimal radix [Add to Longdo]
10進小数;十進小数[じっしんしょうすう, jisshinshousuu] (n) { comp } decimal fraction [Add to Longdo]
10進小数点;十進小数点[じっしんしょうすうてん, jisshinshousuuten] (n) { comp } decimal point [Add to Longdo]
10進数;十進数[じっしんすう, jisshinsuu] (n) { comp } decimal; decimal digit; decimal number [Add to Longdo]
2進化10進コード;二進化十進コード[にしんかじっしんコード, nishinkajisshin ko-do] (n) { comp } binary-coded decimal code [Add to Longdo]
2進化10進数;二進化十進数[にしんかじっしんすう, nishinkajisshinsuu] (n) { comp } binary coded decimal; BCD [Add to Longdo]
2進化10進表示法;二進化十進進表示法[にしんかじっしんひょうじほう, nishinkajisshinhyoujihou] (n) { comp } binary-coded decimal representation [Add to Longdo]
2進化10進法;二進化十進法[にしんかじっしんほう, nishinkajisshinhou] (n) { comp } binary-coded decimal notation [Add to Longdo]
アンパック10進表記法;アンパック十進表記法[アンパックじっしんひょうきほう, anpakku jisshinhyoukihou] (n) { comp } unpacked decimal notation [Add to Longdo]
コンマ以下[コンマいか, konma ika] (exp) below the decimal; of no account [Add to Longdo]
デシマル[deshimaru] (n) decimal [Add to Longdo]
デシマルポイント[deshimarupointo] (n) decimal point [Add to Longdo]
デシメートル[deshime-toru] (n) decimeter [Add to Longdo]
ハートレー[ha-tore-] (n) { comp } Hartley; decimal unit of information content [Add to Longdo]
パック10進表記法;パック1十進表記法[パックじっしんひょうきほう, pakku jisshinhyoukihou] (n) { comp } packed decimal notation [Add to Longdo]
位取り[くらいどり, kuraidori] (n, vs) grade; class; quality; unit; digit; positioning of decimal point [Add to Longdo]
固定小数点方式[こていしょうすうてんほうしき, koteishousuutenhoushiki] (n) { comp } fixed decimal mode [Add to Longdo]
四六判[しろくばん, shirokuban] (n) duodecimo [Add to Longdo]
実10進小数点;実十進小数点[じつじっしんしょうすうてん, jitsujisshinshousuuten] (n) { comp } actual decimal point [Add to Longdo]
実際の小数点[じっさいのしょうすうてん, jissainoshousuuten] (n) { comp } actual decimal point [Add to Longdo]
実小数点[じつしょうすうてん, jitsushousuuten] (n) { comp } actual decimal point [Add to Longdo]
十進;10進[じっしん;じゅっしん, jisshin ; jusshin] (adj-na, adj-no) decimal; denary; deciam [Add to Longdo]
十進制[じっしんせい, jisshinsei] (n) decimal system [Add to Longdo]
十進表記法[じっしんひょうきほう, jisshinhyoukihou] (n) { comp } decimal notation [Add to Longdo]
十進分類体系[じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] (n) { comp } decimal classification system [Add to Longdo]
十進分類法[じっしんぶんるいほう, jisshinbunruihou] (n) decimal classification; Dewey (decimal) classification [Add to Longdo]
十進法;10進法[じっしんほう, jisshinhou] (n) decimal system [Add to Longdo]
十二折り[じゅうにおり, juuniori] (n) duodecimo (folding) [Add to Longdo]
十部門分類法[じゅうぶもんぶんるいほう, juubumonbunruihou] (n) Dewey Decimal System [Add to Longdo]
十六進法;16進法[じゅうろくしんほう, juurokushinhou] (n) { comp } hexadecimal; hexadecimal notation [Add to Longdo]
循環小数[じゅんかんしょうすう, junkanshousuu] (n) recurring decimal [Add to Longdo]
小数[しょうすう, shousuu] (n, adj-no) fraction (part of); decimal fraction; (P) [Add to Longdo]
小数点(P);少数点(iK)[しょうすうてん, shousuuten] (n) decimal point; radix point; (P) [Add to Longdo]
小数点以下の桁数[しょうすうてんいかのけたすう, shousuuten'ikanoketasuu] (n) { comp } number of decimal places [Add to Longdo]
小数点記号[しょうすうてんきごう, shousuutenkigou] (n) { comp } decimal marker [Add to Longdo]
想定小数点[そうていしょうすうてん, souteishousuuten] (n) { comp } assumed decimal point [Add to Longdo]
日本十進分類法[にほんじっしんぶんるいほう, nihonjisshinbunruihou] (n) Nippon Decimal Classification; Nippon Decimal System (of book classification) [Add to Longdo]
浮動小数点方式[ふどうしょうすうてんほうしき, fudoushousuutenhoushiki] (n) { comp } floating decimal mode [Add to Longdo]
符号化10進;符号化十進[ふごうかじっしん, fugoukajisshin] (n) { comp } coded decimal [Add to Longdo]
符号化10進法;符号化十進法[ふごうかじっしんほう, fugoukajisshinhou] (n) { comp } coded decimal notation [Add to Longdo]
無限小数[むげんしょうすう, mugenshousuu] (n) infinite decimals [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
10進[10しん, 10 shin] decimal [Add to Longdo]
10進2進変換[10しん2しんへんかん, 10 shin 2 shinhenkan] decimal to binary conversion [Add to Longdo]
10進演算[10しんえんざん, 10 shin'enzan] decimal arithmetic [Add to Longdo]
10進演算子[10しんえんざんし, 10 shin'enzanshi] decimal operator [Add to Longdo]
10進基数[10しんきすう, 10 shinkisuu] decimal radix [Add to Longdo]
10進小数[10しんしょうすう, 10 shinshousuu] decimal fraction [Add to Longdo]
10進小数点[10しんしょうすうてん, 10 shinshousuuten] decimal point [Add to Longdo]
10進数[10しんすう, 10 shinsuu] decimal, decimal digit, decimal number [Add to Longdo]
10進法[10しんほう, 10 shinhou] decimal, decimal notation [Add to Longdo]
2進化10進コード[2しんか10しんコード, 2 shinka 10 shin ko-do] binary-coded decimal code [Add to Longdo]
2進化10進数[2しんか10しんすう, 2 shinka 10 shinsuu] binary coded decimal (BCD) [Add to Longdo]
2進化10進表示法[2しんか10しんひょうじほう, 2 shinka 10 shinhyoujihou] binary-coded decimal representation [Add to Longdo]
2進化10進法[2しんか10しんほう, 2 shinka 10 shinhou] binary-coded decimal notation [Add to Longdo]
アンパック10進表記法[あんぱっく10しんひょうきほう, anpakku 10 shinhyoukihou] unpacked decimal notation [Add to Longdo]
ハートレー[はーとれー, ha-tore-] Hartley, decimal unit of information content [Add to Longdo]
パック10進表記法[ぱっく10しんひょうきほう, pakku 10 shinhyoukihou] packed decimal notation [Add to Longdo]
固定小数点方式[こていしょうすうてんほうしき, koteishousuutenhoushiki] fixed decimal mode [Add to Longdo]
実10進小数点[じつ10しんしょうしゅうてん, jitsu 10 shinshoushuuten] actual decimal point [Add to Longdo]
実際の小数点[じっさいのしょうすうてん, jissainoshousuuten] actual decimal point [Add to Longdo]
実小数点[じつしょうすうてん, jitsushousuuten] actual decimal point [Add to Longdo]
十進表記法[じっしんひょうきほう, jisshinhyoukihou] decimal notation [Add to Longdo]
十進分類体系[じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] decimal classification system [Add to Longdo]
小数[しょうすう, shousuu] decimal fraction [Add to Longdo]
小数点[しょうすうてん, shousuuten] decimal point, radix point [Add to Longdo]
小数点以下の桁数[しょうすうてんいかのけたすう, shousuuten'ikanoketasuu] No. of decimal places [Add to Longdo]
小数点記号[しょうすうてんきごう, shousuutenkigou] decimal marker [Add to Longdo]
想定した位取り[そうていしたいとり, souteishitaitori] assumed decimal scaling position [Add to Longdo]
想定した小数点[そうていしたしょうすうてん, souteishitashousuuten] assumed decimal point [Add to Longdo]
想定小数点[そうていしょうすうてん, souteishousuuten] assumed decimal point [Add to Longdo]
浮動小数点方式[ふどうしょうすうてんほうしき, fudoushousuutenhoushiki] floating decimal mode [Add to Longdo]
符号化10進[ふごうか10しん, fugouka 10 shin] coded decimal [Add to Longdo]
符号化10進法[ふごうか10しんほう, fugouka 10 shinhou] coded decimal notation [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top