ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*คำอ่าน*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: คำอ่าน, -คำอ่าน-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary จีน (ZH) - ไทย (TH)
商量[shāng liang, ㄕㄤ ㄌㄧㄤ˙,  ] (vi) ปรึกษา หารือ คุย ระวังเสียงคำอ่านที่ถูกต้องของพยางค์หลัง คือ เสียงเบา จะเป็น shang1 liang ไม่ใช่ shang1 liang2

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Pronouncing dictionaryพจนานุกรมคำอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Videoวีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา]
Videoวีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด]
Screen Readerโปรแกรมอ่านจอภาพ, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่อ่านข้อความทั้งที่เป็นเนื้อหาและคำสั่งของโปรแกรม เพื่อแปลงเป็นคำอ่านที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับคนตาบอดใช้งานคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
I wrote those readings above the notes.ผมได้เขียนคำอ่านไว้เหนือโน๊ตแล้วครับ Episode #1.5 (2009)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
คำอ่าน[kham ān] (n, exp) FR: prononciation [ f ]

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
doc(ดอค) n. ดูdoctor, คำสั้น ๆ ที่ใช้เรียกนายแพทย์ ทันตแพทย์ หรือสัตวแพทย์ abbr. II-deoxycorticosterone ด็อก <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า document มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลหรือ แฟ้มเอกสาร (.doc) ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้
drive(ไดรฟว) { drove, driving, drives } vt. ขับ, ขับไล่, ไล่, ผลัก, ไส, ผลักดัน, ขับขี่, ต้อน (สัตว์เลี้ยง) , ลอย (ซุง) vi. แล่น, พุ่ง, ขับรถ, ตี (ลูกกอล์ฟ, ตะปู) , มุ่งหมาย n. การขับ, การขับขี่, ทางรถ, สัตว์ที่ไล่ตาม, สัตว์ (ที่ต้อน) , การรุกทางทหาร, พลังงาน, แรงกระตุ้น, กลไกในการขับ, หน่วยขับหน่วยบันทึกไดร์ฟ <คำอ่าน>อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่อ่านและบันทึกข้อมูล เช่น หน่วยขับแถบบันทึก (tape drive) หน่วยขับจานบันทึก (disk drive)
drum(ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum
elite(อีลีท', เอลีท') n. ชั้นยอด, หัวกะทิ, บุคคลที่ยอดเยี่ยม, สิ่งที่ได้เลือกสรรแล้ว, กลุ่มอิทธิพล adj. ชั้นยอด, หัวกะทิ, เป็นส่วนที่ดีที่สุด, Syn. gentry อีลีต <คำอ่าน>เป็นศัพท์ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ดีดมาก่อน หมายถึงขนาดความกว้างของตัวอักษรที่พิมพ์ได้ 12 ตัว ต่อ 1 นิ้ว บางทียังนำมาใช้เป็นคำสั่งให้เลือกบนเครื่องพิมพ์ว่าต้องการ ให้เป็นอีลีตหรือไพกา pica ซึ่งหมายถึงอักษรขนาด 10 ตัวต่อนิ้ว ดู pica ประกอบ
hdabbr. hearingdistance, hodgkin's disease, heart disease, hemodialysis <คำย่อ>เอชดี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า high density แปลว่า ความหนาแน่นสูง ใช้บอกคุณสมบัติจานบันทึก (diskette) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด HD จะมีความจุถึง 1.2 เมกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู DD เปรียบเทียบ
julian(จูล'เยิน) adj. เกี่ยวกับหรือมีลักษณะของจูเลียส ซีซาร์ จูเลียน <คำอ่าน>เป็นวิธีคิดคำนวณวันที่อย่างง่าย ๆ วิธีหนึ่ง ระบบจูเลียนนี้กำหนดให้ทุก ๆ วันมีหมายเลขเฉพาะ เช่น วัน 1 แทนวันที่ 1 มกราคม เมื่อ 4713 ปีก่อนคริสตศักราช วัน 2448299 ก็แทนวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1991 เป็นต้น
led(เลด) v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ lead <คำย่อ>แอลอีดี <คำอ่าน>ย่อมาจาก light emitting diode (แปลว่า ไดโอดเปล่งแสง) เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ให้แสงสว่างได้เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่าน เช่น หลอดไฟฟ้า หรือ นาฬิกาที่แสดงตัวเลขบอกเวลาเป็นไฟฟ้า
mat(แมท) n. พรมเช็ดเท้า, เสื่อ, ที่รองจานอาหาร (หรือตะเกียง แจกันหรืออื่น ๆ) , พรมปูพื้น. vt. ปูพรม, ปูเสื่อ, ทำเป็นเสื่อหรือพรม. vi. พัวพัน, ยุ่งเกี่ยว- adj. ด้าน, ไม่เป็นเงา, n. ผิวหน้าที่ด้าน เอ็มเอที <คำอ่าน>ย่อมาจาก machine aided translation (การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ
midi(มิด'ดิ) n. =midiskirt มิดอี <คำอ่าน>ย่อมาจาก musical instrument digital interface หมายถึง มาตรฐานสำหรับการใส่รหัสเสียงเพลงให้อยู่ในรูปของตัวเลข ความแตกต่างของเสียง (sound) และเสียง เพลง (musical voice) ก็สามารถวัดและนำไปเก็บได้โดยใช้มาตราฐานมิดอีนี้
mis(o) - Pref."เกลียด" เอ็มไอเอส <คำอ่าน>ย่อมาจาก management information system เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น
nibble(นิบ'เบิล) { nibbled, nibbling, nibbles } vi., vt. แทะ, ตอด, กินหรือตัดออกเป็นชิ้น เล็ก ๆ n. ชิ้นเล็กชิ้นน้อย, การแทะ, การตอด., See also: nibbler n. นิบเบิล <คำอ่าน>หมายถึง ครึ่งหนึ่งของหนึ่งไบต์หรือเท่ากับสี่บิต เพราะ 8 บิตเท่ากับ 1 ไบต์ ดู byte ประกอบ
ole(โอเล') n. การตะโกน, เปล่งเสียงที่แสดงถึงการเห็นด้วย โอเล <คำอ่าน>ย่อมาจาก object linking and embedding (แปลว่า การเชื่อมโยงและการฝังตัวของวัตถุ) เท่ากับการแทรกเอกสาร หรือภาพหรือบางส่วนของเอกสาร ที่ได้สร้างขึ้นไว้ในโปรแกรมหนึ่ง (เรียกว่า วัตถุ) เข้าไปในแฟ้มเอกสาร หรือส่วนของเอกสาร ที่สร้างขึ้นมาจากอีกโปรแกรมหนึ่ง แถมด้วยการที่สามารถเชื่อมโยงหรือยึดโยงความผูกพันระหว่างเอกสารทั้งสองไว้ให้อีกด้วย การยึดโยงดังกล่าวมีความหมายว่า การแก้ใขแฟ้มหนึ่งจะทำให้อีกแฟ้มหนึ่งถูกแก้ไปด้วยโดยอัตโนมัติ วิธีการนี้นิยมใช้มากในระบบวินโดว์
paddle(แพค'เดิล) n., vt., vi. พาย, แกว่ง, กวน, แกว่งน้ำ, เดินเตาะแตะ, เขี่ยด้วยมือ แพดเดิล <คำอ่าน>หมายถึง อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลอีกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายกับก้านควบคุม (joystick) ผิดกันแต่ว่า ที่จับของแพดเดิลนี้จะมีลักษณะเป็นปุ่มกลม ๆ แทนที่จะเป็นแท่งยาวแบบก้านควบคุม ปุ่มดังกล่าว จะใช้มือบิดหมุนไปในทิศทางต่าง ๆ ได้ มักใช้ในการเล่นเกมส์เท่านั้น, See also: paddler n.
pal(แพล) n. เพื่อน, เกลอ, พีเอแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก programmable array logic (แปลว่า แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมความจุสูงมาก (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ
peek(พีค) vi., n. แอบมอง, มองตามช่อง, มองแวบหนึ่ง, Syn. spy, peep, glance, peer พีก <คำอ่าน>เป็นคำสั่งหนึ่งของภาษาเบสิก BASIC ที่จะสั่งให้แสดงที่อยู่ที่แน่นอนของข้อมูลในหน่วยความจำ ส่วนมากจะใช้ เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงค่าที่เก็บอยู่ในนั้น ดู BASIC ประกอบ
poke(โพค) v. แหย่, กระทุ้ง, กระแทก, ปัก, เสียบ, ดัน, กระตุ้น, ค้นหา., See also: poke fun at หัวเราะ. n. การผลัก, การดัน, Syn. prod, โพก <คำอ่าน>เป็นคำสั่งหนึ่งในภาษาเบสิก BASIC ที่สั่งกำหนดให้เก็บค่าใดค่าหนึ่งในเลขที่อยู่ address ที่แน่นอนในหน่วยความจำได้
polymorphism(พอลลีมอร'ฟิสซึม) n. ภาวะที่มีหลายรูปแบบ, See also: polymorphistic adj. โพลิมอฟิซึม <คำอ่าน>ในโปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming หมายถึง การใช้ชื่อเหมือนกันให้หมายถึงกระบวนการคนละอันในเนื้อหาที่ไม่เหมือนกัน เป็นต้นว่า คำว่า "แสดงผล" display อาจใช้หมายถึงการแสดงเป็นตัวหนังสือ เป็นกราฟ เป็นภาพ เป็นตารางจัดการ เป็นภาพเคลื่อนไหว เป็นเสียง ฯ รวมทั้งการแสดงบนจอภาพ บนกระดาษ วิธีการเช่นนี้ ใช้กันในเรื่องของโปรแกรมเชิงวัตถุ
post(โพสทฺ) n. เสา, หลัก, ตำแหน่ง, หน้าที่, ที่มั่น, การไปรษณีย์, ไปรษณียภัณฑ์, เที่ยวเมล์, ที่ทำการไปรษณีย์, vt. ปิดประกาศ, ประกาศ, ประจาน, จัดกำลัง, แต่งตั้งให้ประจำตำแหน่ง vt. ใส่จดหมายลงในตู้ไปรษณีย์, ส่งจดหมาย, ย้าย, แจ้ง. vi. ขี่ม้าเร็ว, เดินทางอย่างรวดเร็ว. adv. รีบเร่ง, โดยทางไปรษณีย์, โพสต์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก power-on self-test เป็นแบตเตอรี่ตัวหนึ่งในพีซี ที่จะทำหน้าที่ทันทีที่เมื่อมีการเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำการตรวจสอบขั้นต้นให้ว่า อุปกรณ์ ทุกชิ้นทำงานได้ตามปกติหรือไม่ หากมีส่วนใดไม่ปกติ ก็จะแสดงข้อความระบุความ ผิดพลาด (error message) ให้บนจอภาพ และจะรอจนกว่าจะมีการสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมีการแก้ไข เสร็จแล้วจึงจะทำงานต่อ
postscript(โพสทฺ'สคริพทฺ) n. ปัจฉิมลิขิต, ภาคผนวก, ภาพเสริมท้าย, คำเสริม ท้าย, โพสต์สคริปต์ <คำอ่าน>เป็นชื่อภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าของระบบอะโดบี (Adobe system) ใช้กับเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) หรือหน่วยแสดงผลที่มีความละเอียดสูงมาก ๆ การที่จะใช้ภาษาโพสต์สคริปต์ได้ จำเป็นต้องมีชอฟต์แวร์ตัวนี้ (PostScript printer driver) ใน โปรแกรมที่ใช้ หรือในระบบปฏิบัติการ ข้อดีอย่างยิ่งก็คือ สามารถทำงานจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop publishing) ได้ อันที่จริง การสร้างหรือออกแบบงานพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นงานแผ่นพับ รายงานประจำสัปดาห์ ใบปลิว ใบโฆษณา ฯ เราสามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ธรรมดาออกแบบก่อนได้ แล้วส่งไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์ชั้นดี ซึ่งจะทำให้ผลงานออกมาสวย และมีความคมชัดเหมือนกับเครื่องพิมพ์ใหญ่ ๆ
prolog(ue) (โพร'ลอก) n. บทนำ, คำนำ, อารัมภบท, การเปิดฉาก, เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน, การเริ่มต้น vt. นำ, เปิดฉาก , โปรลอก <คำอ่าน>ย่อมาจาก programming in logic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เหมาะกับงานวิจัย งานด้านการคำนวณต่าง ๆ หรืองานด้านปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence), Syn. introduction
qlคิวแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก query language เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาธรรมดามักใช้ในการสั่งเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลหรือคลังข้อมูล (database) มาดูบนจอภาพหรือสั่งให้พิมพ์ออกมา
quaddraควอดดรา <คำอ่าน>เป็นชื่อของคอมพิวเตอร์แมคอินทอชรุ่นหนึ่ง ใช้ตัวประมวลผลรุ่น 68040 ปฏิบัติงานได้เร็วมาก ราคาค่อนข้างแพง
quicksortควิกซอร์ต <คำอ่าน>เป็นขั้นตอนวิธีแบบหนึ่งที่ใช้ในการเรียงข้อมูล C.A.R. Hoare เป็นผู้คิดขึ้น และพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1962
rasterแรสเตอร์ <คำอ่าน>หมายถึง การที่ลำแสงอิเล็กตรอนผ่านวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วส่งเข้าสู่จอภาพเช่นเดียวกับที่ใช้ในการกราดภาพ (scan) คือการยิงลำแสงอิเล็กตรอนให้ผ่านภาพไปอย่างต่อเนื่องทีละเส้น แล้วส่งขึ้นบนจอภาพ ตั้งแต่บรรทัดบนสุดจนถึงล่างสุด เราจะมองเห็นเส้นใหม่ก่อนที่เส้นเก่าจะหายไป เส้นที่มองเห็นนี้จะรวมกันเป็นภาพที่เราต้องการ เรียกว่าภาพ "แรสเตอร์"
res editเรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู
rfอาร์เอฟ <คำอ่าน>ย่อมาจาก radio frequency หมายถึง คลื่นความถี่วิทยุ
rfiอาร์เอฟไอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก radio frequency interference หมายถึง การรบกวนของคลื่นวิทยุในหลาย ๆ ความถี่
rgbอาร์จีบี <คำอ่าน>ย่อมาจาก red, green, blue คือ กระบวนการผสมสีจากแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน การใช้สัดส่วนของสี 3 สี นี้ต่างกัน จะทำให้เกิดเป็นสีต่าง ๆ ได้อีกมากมายหลายร้อยสีดู cmyk ประกอบ
riscริสก์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก reduced instruction set computer (แปลว่า คอมพิวเตอร์ลดทอนคำสั่ง) เป็นคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งซึ่งปฏิบัติการได้เร็วมาก ๆ เพราะกำหนดให้ตัวประมวลผลแบบจุลภาค (microprocessor) แต่ละตัวทำงานจำกัดเฉพาะบางอย่าง
rom biosรอมไบออส <คำอ่าน>ย่อมาจาก read only memory basic input/ output system หมายถึงไบออสที่อยู่ในรอม ซึ่งจะทำหน้าที่ทันทีที่เปิดไฟที่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะทำการทดสอบฮาร์ดแวร์ส่วนกลาง ตรวจสอบหน่วยความจำ หน่วยบันทึก ตรวจหาโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ต้องใช้ในการเริ่มเครื่องใหม่จนพบโปรแกรม autoexec.bat จึงจะถือว่าหมดหน้าที่ ถ้าไม่พบ ก็จะแสดงคำสั่ง date และ time เมื่อตอบคำถามเรียบร้อย ก็จะปรากฏเครื่องหมาย > (prompt) อยู่หลังชื่อหน่วยบันทึก จึงถือว่าหมดหน้าที่ หน่วยความจำส่วนนี้ จะเก็บคำสั่งทั้งหมดไว้ได้แม้ว่าจะปิดสวิตซ์ที่คอมพิวเตอร์ดู BIOS ประกอบ
rpgอาร์พีจี <คำอ่าน>ย่อมาจาก report program generator เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เหมาะกับงานด้านธุรกิจ คล้ายกับภาษาโคบอล (COBOL) โดยเฉพาะการออกแบบรายงานต่าง ๆ
rpmอาร์พีเอ็ม <คำอ่าน>ย่อมาจาก revolutions per minute หมายถึงจำนวนครั้งที่หมุนรอบตัวเองต่อนาที ใช้เป็นหน่วยวัดความเร็วของการหมุนของอุปกรณ์บางอย่าง เป็นต้นว่า จานบันทึก
rtfอาร์ทีเอฟ <คำอ่าน>ย่อมาจาก rich text format เป็นรูปแบบของการเก็บข้อมูลที่เป็นเอกสาร (text) ในรหัสแอสกี (ASCII) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หลายโปรแกรมจะเรียกข้อมูลที่เก็บในรูปแบบนี้มาอ่านได้ใช้การได้ แต่ต้องกำหนดแบบตัวอักษรให้ก่อน มักใช้นามสกุล (file name) ว่า .RTF
s-100เอส-ร้อย <คำอ่าน>หมายถึง แผ่นวงจรขยายแบบหนึ่งซึ่งใช้กับโปรแกรมระบบซีพีเอ็ม (CP/M) ปัจจุบันกลายเป็นของล้าสมัยไปแล้วดู CP/M ประกอบ
saaเอสเอเอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก system application architecture เป็นมาตรฐานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ที่บริษัท ไอบีเอ็มเป็นผู้กำหนดไว้ หลายบริษัทเริ่มต้นด้วยการยึดแนวทางนี้ และก็ได้พัฒนาตนเองจนก้าวออกไปได้ไกลกว่ามาตรฐานเดิมมาก
samแซม <คำอ่าน>ย่อมาจาก sequential access method แปลว่า วิธีเข้าถึงโดยลำดับ เป็นวิธีเก็บข้อมูลและดึงข้อมูลมาใช้วิธีหนึ่ง หมายถึง การเข้าถึงหน่วยเก็บข้อมูลหรือสื่อบางชนิด เช่น แถบแม่เหล็ก (tape) ซึ่งจะเก็บข้อมูลไว้โดยเรียงไปตามลำดับ วิธีที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลขึ้นอยู่กับระยะทางของตำแหน่งของข้อมูลที่บรรจุไว้ในสื่อนั้น หากข้อมูลถูกเก็บอยู่ตอนปลาย กว่าจะเข้าถึงข้อมูล ก็ย่อมจะเสียเวลานาน
sans serifแซนเซอริฟ <คำอ่าน>เป็นแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่งที่ไม่มีส่วนงอนโค้งของส่วนปลายสุดของตัวอักขระ ส่วนงอนโค้งนี้ในภาษาอังกฤษ เรียกกันว่า serif ฉะนั้น sans serif ก็หมายความว่าปราศจากส่วนนี้ (sans เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่า ปราศจาก) แบบอักษรชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นตัวตรง ๆ เหมาะสำหรับใช้พิมพ์ชื่อเรื่อง พาดหัวตัวโต ๆ ว่ากันว่าให้อ่านง่าย ในระบบวินโดว์ของพีซี กรอบสนทนาทั้งหมดใช้แบบอักษรนี้ ฉะนั้น ต้องระวังอย่าลบแบบอักษรนี้ออกจากหน่วยความจำโดยเด็ดขาด ดู serif เปรียบเทียบ
scsiเอสซีเอสไอ <คำอ่าน>สกัสซี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า small computer system interface (แปลว่า ส่วนต่อประสานระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก) หมายถึงสายที่เชื่อมต่อระหว่างบริภัณฑ์รอบข้าง (peripherals) เช่น ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) เครื่องจับภาพ (scanner) หน่วยบันทึก (disk drive) กับ ตัวซีพียู (CPU)
simmซิม <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า single in-line memory module หมายถึงแผงวงจรขนาดเล็ก ที่บรรจุชิปจำนวนมากมายไว้ใช้เป็นหน่วยความจำได้ เหมาะที่จะใช้เมื่อต้องการเพิ่มหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพราะเพียงนำแผ่นวงจรซิมนี้มาเสียบเข้าไปในช่องเสียบ (slot) ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นดู SIP เปรียบเทียบ
sip(ซิพ) vt., vi. จิบ, ดื่มทีละนิด, ดื่มจิบ n.. การจิบ, การดื่มทีละนิด, การดื่มจิบ, ปริมาณเล็กน้อยของการจิบ , ซิป <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า single in-line processor หมายถึง แผ่นวงจรขยายหน่วยความจำคล้าย ๆ กับ SIMM ผิดกันแต่ว่า SIP นั้นประกอบด้วยเข็มเล็ก ๆ เรียงกันเหมือนหวี ซึ่งมาต่อเอาเองไม่ได้ ต้องติดตั้งมาจากโรงงานเลยดู SIMM เปรียบเทียบ, Syn. tipple, nip, imbibe
ss/ddเอส-เอส/ดี-ดี <คำอ่าน>ย่อมาจาก single sided / double density เป็นจานบันทึกข้อมูลรุ่นเก่าซึ่งไม่เป็นที่นิยมใช้กันแล้วในปัจจุบัน จานแบบนี้จะบันทึกข้อมูลลงได้เพียงด้านเดียว (single sided) แม้จะอัดให้แน่นได้ถึงสองเท่าตัวของความอัดแน่นอย่างปรกติก็ตาม (double density) จานบันทึกขนาด 51/4 นิ้ว จุได้เพียง 180 เค (180, 000 ตัวอักขระ) ปัจจุบันจานบันทึกที่ใช้ทั่วไป จะเป็นประเภท DS/DD (double sided/double density) หรือ HD (high density) เพราะมีความจุมากกว่ามาก
ss/sdเอสเอส/เอสดี <คำอ่าน>ย่อมาจาก single sided / single density เป็นจานบันทึกข้อมุลรุ่นเก่าที่ล้าสมัยยิ่ง เพราะนอกจากจะบรรจุข้อมูลได้เพียงหน้าเดียวแล้ว ยังจุข้อมูลได้เพียงเท่าเดียวคือ 90 K (90, 000 ตัวอักขระ) เท่านั้น
super vgaซุเปอร์วีจีเอ <คำอ่าน>มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า SVGA (อ่านว่า เอสวีจีเอ) จอชนิดนี้ทำงานเร็วกว่าจอวีจีเอ (VGA) ธรรมดา ดีกว่าจออีจีเอ (EGA) และซีจีเอ (CGA) มาก สีสวย คมชัด ดู CGA, EGA, VGA ประกอบ
tcp/ipทีซีพี/ไอพี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า transmission control protocol / internet protocol แปลว่า กฏเกณฑ์การควบคุมการส่งผ่านตามมาตรฐานอินเตอร์เน็ต หมายถึง มาตรฐานที่สร้างขึ้นในเรื่องของการเชื่อมต่อข้อมูลระหว่างเครื่องปลายทาง (terminal) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือตัวเลียนแบบ
times new romanไทมส์นิวโรมัน <คำอ่าน>เป็นชื่อแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง เป็นที่นิยมใช้กันมาก เพราะสวย และอ่านง่าย เป็นแบบหนึ่งที่ให้มาพร้อมกับระบบวินโดว์
topologyโทโพโลจี <คำอ่าน>คำว่า topol ในแวดวงของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นหมายถึง แบบโครงสร้างของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (local area network) พูดง่าย ๆ ก็คือ หมายถึงแบบของโครงสร้างนั่นเอง เช่น เป็นแบบรวมศูนย์ (centralized) หรือแบบแยกศูนย์ (decentralized) ส่วนรูปแบบการจัดเครือข่าย เป็น แบบวงแหวน (ring) หรือแบบดาว (star) ฯ
track ballแทร็คบอลล์ <คำอ่าน>ลูกกลมควบคุมหมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้นำเข้าข้อมูล ใช้ปฏิบัติงานได้ในทำนองเดียว กับเมาส์ นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (notebook) อยู่ใกล้ ๆ กับแป้นพิมพ์ ช่วยทำให้โน้ตบุ๊กมีขนาดกระทัดรัดขึ้น มีลักษณะเป็นลูก กลม ๆ หมุนรอบตัวได้เหมือนลูกกลมที่อยู่ใต้เมาส์นั่นเอง
tronตรอน <คำอ่าน>ย่อมาจาก the real time operating system nucleus หมายถึงระบบปฏิบัติการ ที่เน้นการทำงานแบบทันที (real time) มีผู้นำมาใช้ในการพัฒนาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ กล่าวคือ นำเอาประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบมารวมกัน
true basicทรูเบสิก <คำอ่าน>เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง เป็นภาษาโครงสร้างของภาษาเบสิก ได้รับการพัฒนามาจากภาษาเบสิกเมื่อ ค.ศ.1983 ไม่ต้องมีเลขหมายประจำบรรทัด (line number)
tsrทีเอสอาร์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก terminate and stay resident program แปลว่า โปรแกรมค้างในหน่วยความจำ หมายถึง โปรแกรมชนิดพิเศษที่จะอยู่ในแรม (RAM) เสมอ สามารถเรียกหาได้โดยการกดแป้นคำสั่งที่กำหนดไว้เป็นพิเศษ การเรียกโปรแกรมประเภทนี้ จะเรียกได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะกำลังทำโปรแกรมอะไรอยู่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน เรามีระบบวินโดว์ ซึ่งทำให้เราเรียกโปรแกรมมาใช้พร้อม ๆ กันหลายโปรแกรมได้อยู่แล้ว โปรแกรมประเภท TSR จึงไม่เป็นที่รู้จักอีกต่อไป

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
lifeguard[คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver
lifesaver[ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard
lifesaving[ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
チェルシー[チェルシー, cherushi^] คำอ่าน

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top